ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนวัดนากลาง | ||||||||||||||||||||||||||||||
สังกัด | สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1 | ||||||||||||||||||||||||||||||
โรงเรียนเครือข่าย | view_listรายชื่อโรงเรียนเครือข่าย | ||||||||||||||||||||||||||||||
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 | ||||||||||||||||||||||||||||||
งบประมาณจากโครงการ(สสส.) | 100,000.00 บาท | ||||||||||||||||||||||||||||||
งบประมาณสมทบจากราชการ | 0.00 บาท | ||||||||||||||||||||||||||||||
งบประมาณสมทบจากท้องถิ่น | 0.00 บาท | ||||||||||||||||||||||||||||||
งบประมาณสมทบจากเอกชน | 0.00 บาท | ||||||||||||||||||||||||||||||
งบประมาณสมทบจากชุมชน | 0.00 บาท | ||||||||||||||||||||||||||||||
รวมงบประมาณทั้งหมด | 100,000.00 บาท | ||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายเบญจวิทย์ ตีระมาตย์ | ||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ 1 | นางวิไล ทรัพย์มูล | ||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ 2 | นางนฤมล ลิลา | ||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ 3 | นายวันชัย กิจกำรูญ | ||||||||||||||||||||||||||||||
ที่ปรึกษาโครงการ 1 | นายประมวล เสนีย์ | ||||||||||||||||||||||||||||||
ที่ปรึกษาโครงการ 2 | นางสายสมร รวยพงษ์ | ||||||||||||||||||||||||||||||
ที่ปรึกษาโครงการ 3 | นายเตือน เฉยดิษฐ์ | ||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ประสานงานภาค | นางสาววิรัตน์ดา ดวงใจ | ||||||||||||||||||||||||||||||
หลักการและเหตุผล | สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนวัดนากลางจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการเพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น |
||||||||||||||||||||||||||||||
กรอบแนวคิด | กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ( Conceptual Framework ) โรงเรียนวัดนากลาง จังหวัดนครสวรรค์ ได้มีการกำหนดนโยบายเรื่องการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ตามรอยพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ไว้ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และมีแผนปฏิบัติการ ประจำปีที่นำไปสู่เป้าหมายโดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรและเครือข่าย โรงเรียนได้ดำเนินงานตามรอยพระยุคลบาทฯ น้อมนำองค์ความรู้และรูปแบบที่ดีด้านการจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจรสู่การปฏิบัติในระดับโรงเรียนและชุมชนครอบคลุม 8 องค์ประกอบที่เชื่อมโยงและหนุนเสริมกัน ได้แก่ เกษตรเพื่ออาหารกลางวัน วัฒนธรรม/ภูมิปัญญา วิชาการ ภาษาไทย/การจดบันทึก คณิตศาสตร์ /ทำบัญชี วิทยาศาสตร์/การสังเกต การเจริญเติบโตของพืช การงานอาชีพ เกษตรยั่งยืน แปรรูปอาหาร ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีความคิดสร้างสรรค์ ฝึกความอดทน ฝึกความรับผิดชอบ สหกรณ์
ทักษะชีวิต อนุรักษ์ทรัพยากร/สิ่งแวดล้อม -ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด - ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมเช่น ไม่ใช้สารเคมี ฯลฯ - นำของเหลือใช้/ของที่ทิ้งกลับมาใช้ใหม่ เช่น การทำปุ๋ยหมัก |
||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
|
||||||||||||||||||||||||||||||
เป้าหมายภาวะโภชนาการ |
|
||||||||||||||||||||||||||||||
ความต่อเนื่องยั่งยืนหรือแนวทางการขยายผล | การขยายผลของโครงการ โรงเรียนจะขยายผลการดำเนินโครงการสู่นักเรียน และชุมชน โดยส่งเสริมให้นักเรียนปลูกพืชสวนครัวปลอดสารพิษที่บ้านคนละ 1แปลง หากผลผลิตเหลือจากการบริโภคโรงเรียนจะรับซื้อผลผลิตเพื่อสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน ในส่วนของชุมชนจะร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงจัดอบรมให้ความรู้ โดยเชิญสถาบันการศึกษาที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เช่น วิทยาลัยเกษตรกรรมนครสวรรค์ เกษตรอำเภอ ฯลฯ ให้ความรู้โดยการปฏิบัติจริง ซึ่งจะช่วยให้ลดรายจ่ายในครัวเรือน และเพิ่มรายได้จากการจำหน่ายผลผลิตแก่ครัวเรือน |
||||||||||||||||||||||||||||||
พื้นที่ตั้งโรงเรียน | 90 หมู่ 1 ตำบลนากลาง อำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์ | ||||||||||||||||||||||||||||||
ละติจูด-ลองจิจูด | 15.636484076867,99.993948340382place |
วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของนักเรียน 1.ร้อยละ 80 ของนักเรียนทุกคนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการโดยใช้ผลผลิตทางการเกษตร 2.ร้อยละ 10 ที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหารโดยผ่านสหกรณ์นักเรียน 3.ภาวะอ้วน ผอม ไม่เกิน ไม่เกิน 7 % (ทั้งนี้ดูตามเกณฑ์ของโรงเรียนเป็นหลัก) ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 7 % 4.เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกิน โดยกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 40-100 กรัม (อาจดูตามเกณฑ์ของแต่ละโรงเรียน ที่แยกเป็น ช่วงอนุบาล และ ช่วงปฐม) 5.มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน 6.มีกระบวนการติดตาม ประเมินสุขภาวะของนักเรียน โดยเด็กและเยาวชน ครู และผู้ปกครอง ร่วม |
||
2 | เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะนักเรียน 1.เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง (ติตตามผลโดยครูและผู้ปกครอง) 2.นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง 3.ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ) |
||
3 | เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางโครงการเด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ 1.ร้อยละ 90 ของบุคลากรภายในโรงเรียนส่งเสริมและติดตามการบริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการอย่างถูกต้อง 2.ร้อยละ 70 ของผู้ปกครองของนักเรียนทุกชั้นเรียนและชุมชนตระหนักถึงความสำคัญในการบริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและนำไปใช้ในการจัดอาหารที่บ้านได้อย่างถูกต้อง |
กิจกรรมหลัก
กิจกรรมหลัก
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | พ.ค. 59 | มิ.ย. 59 | ก.ค. 59 | ส.ค. 59 | ก.ย. 59 | ต.ค. 59 | พ.ย. 59 | ธ.ค. 59 | ม.ค. 60 | ก.พ. 60 | มี.ค. 60 | เม.ย. 60 | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | การเกษตรในโรงเรียน | 75,000.00 | more_vert |
||||||||||||
2 | สหกรณ์นักเรียน | 1,500.00 | more_vert |
||||||||||||
3 | การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย | 16,840.00 | more_vert |
||||||||||||
4 | การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน | 3,000.00 | more_vert |
||||||||||||
5 | แผนพัฒนาบุคลากร | 3,660.00 | more_vert |
||||||||||||
รวม | 100,000.00 |
กิจกรรมย่อย
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
15 ก.ค. 59 | กิจกรรมการทำนาข้าวและการผลิตข้าวกล้องการเรียนรู้สู่ชุมชน ครั้งที่ 1 | 285 | 6,000.00 | ✔ | 4,500.00 | |
22-26 ก.ค. 59 | กิจกรรมการเพาะเห็ดฮังการี่1 | 285 | 5,000.00 | ✔ | 4,200.00 | |
24 ก.ค. 59-30 ก.ย. 59 | กิจกรรม Thai School Lunch1 | 285 | 1,500.00 | ✔ | 985.00 | |
28 ก.ค. 59 | กิจกรรมการเลี้ยง กบและปลา1 | 285 | 15,000.00 | ✔ | 9,020.00 | |
18 ส.ค. 59 | กิจกรรมผลิตปุ๋ยอินทรี ครั้งที่ 1 | 230 | 5,000.00 | ✔ | 4,000.00 | |
9 ก.ย. 59 | กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร (ระบบเฝ้าระวังโภชนาการ) ระหว่างการดำเนินการ | 65 | 3,750.00 | ✔ | 2,236.00 | |
18 ต.ค. 59 | จัดทำรายงานปิดงวด 1 | 2 | 3,660.00 | ✔ | 3,660.00 | |
3-9 พ.ย. 59 | กิจกรรมการทำนาข้าวและการผลิตข้าวกล้องการเรียนรู้สู่ชุมชน ครั้งที่ 2 | 285 | 6,000.00 | ✔ | 9,000.00 | |
7-9 พ.ย. 59 | กิจกรรมผลิตปุ๋ยอินทรี ครั้งที่ 2 | 230 | 5,000.00 | ✔ | 6,000.00 | |
7-11 พ.ย. 59 | ปลูกผลไม้กินได้โดยชุมชนมีส่วนร่วม ครั้งที่ 1 | 230 | 2,000.00 | ✔ | 6,600.00 | |
1-30 ธ.ค. 59 | กิจกรรมเพาะเห็ดฮังการี่2 | 230 | 11,576.00 | ✔ | 13,290.00 | |
1 ธ.ค. 59-28 ก.พ. 60 | กิจกรรมเลี้ยงกบและปลา2 | 230 | 8,000.00 | ✔ | 9,000.00 | |
1-3 ม.ค. 60 | กิจกรรมปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ ครั้งที่ 3 | 285 | 6,700.00 | ✔ | 6,700.00 | |
1 ม.ค. 60-28 ก.พ. 60 | กิจกรรม Thai School Lunch2 | 230 | 12,000.00 | ✔ | 12,000.00 | |
1 ก.พ. 60 | กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร (ระบบเฝ้าระวังโภชนาการ) หลังการดำเนินการ | 120 | 5,514.00 | ✔ | 5,514.00 | |
1-3 ก.พ. 60 | กิจกรรมปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ ครั้งที่ 4 | 285 | 3,300.00 | ✔ | 3,300.00 | |
20 มี.ค. 60 | คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ | 3 | 0.00 | ✔ | 8.91 | |
รวม | 1,307 | 100,000.00 | 17 | 100,013.91 |
ไฟล์เอกสาร
โครงการเข้าสู่ระบบโดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2559 15:58 น.