ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนวัดนากลาง |
สังกัด | ?? |
หน่วยงานต้นสังกัด | ?? |
ที่อยู่โรงเรียน | 90 จังหวัดนครสวรรค์ |
จำนวนนักเรียน | 220 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม,มัธยมต้น |
ผู้อำนวยการ | นายเบญจวิทย์ ตีระมาตย์ |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางวิไล ทรัพย์มูล |
ถอนดอกเบี้ยเงินฝากคืนเงินโครงการ จำนวน 8.91 บาท
สสส. ได้รับเงินคืน จำนวน 8.91 บาท
1.จัดอบรม ชี้แจงนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ม.1ม และม.3 และผู้ปกครอง จำนวน 85 คน
2.จัดกิจกรรมโดยแบ่งเป็นฐาน 3 ฐาน 1.)ฐานสวยหล่อด้วยอาหาร 5 หมู่ 2.)ฐานจัดอาหารง่ายๆด้วย TSL 3.)ฐานเกมส์สุขภาพ
3.ติดตามระบบเฝ้าระวังโภชนาการ
ผลผลิต
1. นักเรียน63คน มีความรู้ในการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่
ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่ 3. นักเรียนสามารถขยายผลไปสู่ผู้ปกครองได้
1.ประชุมวางแผน 2.ปรับหน้าดิน 3.ลงมือปลูก 4.แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการดูแล
ผลผลิต
1. มีการปลูกผักกินได้ ในโรงเรียน เพื่อนำผลผลิตมาจัดเป็นเมนูอาหารให้กับเด็กนักเรียน
2. นักเรียน50คน มีทักษะในการดูแลผักโดยการกำจัดวัชพืชเพื่อให้ต้นไม้สามารถเจริญเติบโตได้ดี ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมกำจัดวัชพืชไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง 3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการทำนาข้าวแบบอินทรี
1.ประชุม 2.ให้ความรู้นักเรียน 3.จัดตั้งแกนนำนักเรียนคอยดูแลปฏิบัติงาน
ผลผลิต
1. นักเรียน220คน มีทักษะในการบริโภคอาหารที่ดีมีประโยชน์โ
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน
2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมกำจัดวัชพืชไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง
3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัย
1.ประชุมวางแผน 2.ปรับหน้าดิน 3.ลงมือปลูก 4.แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการดูแล
ผลผลิต
1. มีการปลูกผักกินได้ ในโรงเรียน เพื่อนำผลผลิตมาจัดเป็นเมนูอาหารให้กับเด็กนักเรียน
2. นักเรียน50คน มีทักษะในการดูแลผักโดยการกำจัดวัชพืชเพื่อให้ต้นไม้สามารถเจริญเติบโตได้ดี ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมกำจัดวัชพืชไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง 3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการทำนาข้าวแบบอินทรี
1.ประชุมรับฟังคำชี้แจงในการดำเนินการรายงานงวดที่ 1
การทำรายงานงวดที่ 1 ได้เรียบร้อยถูกต้องตามระเบียบ
- ซื้อพันธ์ุกบ 1200 ตัว
- นำมาปล่อยในบ่อดิน และกระชัง จำนวน 2 กระชัง
- เด็กนักเรียนจำนวน 30 คน ที่รับผิดชอบ ดำเนินการเลี้ยงดูโดยให้อาหารกบ และปลาดุกทุกวัน เป็นระยะเวลา 100 วัน
ผลผลิต
1. มีการเลี้ยงกบ ในกระชังและบ่อดิน เพื่อนำผลผลิตมาจัดเป็นเมนูอาหารให้กับเด็กนักเรียน
2. นักเรียน30คน มีทักษะในการเลี้ยงกบในกระชังและบ่อดิน
ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมการเลี้ยงกบในกระชังและบ่อดินนำไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง 3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการเลี้ยงกบ ในกระชังและบ่อดิน 4. นักเรียนเกิดความรู้ในการเลี้ยงกบ ด้วยตนเอง
- ซื้อวัสดุ อุปกรณ์มาเตรียมในการทำปุ๋ย
- เด็กนักเรียนจำนวน 40 คน ดำเนินการเรียนรู้วิธีการผสมปุ๋ยให้ถูกต้อง แและรอระยะเวลาที่จะสามารถนำไปใช้ได้
- นำปุ๋ยที่หมักได้แล้วนั้นนำไปใช้กับพืช ต้นไม้ในโรงเรียนเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้สารพิษ
ผลผลิต
1. มีการทำปุ๋ยหมัก เพื่อนำผลผลิตมาใช้กับพืช ต้นไม้ในโรงเรียนเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้สารพิษ
2. นักเรียน40คน มีทักษะในการผสมปุ๋ยหมักได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมผสมปุ๋ยหมักนำไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง 3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากใช้ปุ๋ยหมักของโรงเรียน 4. นักเรียนเกิดความรู้ในการทำปุ๋ยหมักแบบชีวภาพ
1.ประชุมวางแผน 2.ปรับหน้าดิน 3.ลงมือปลูก 4.แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการดูแล
ผลผลิต
1. มีการปลูกผลไม้กินได้ ในโรงเรียน เพื่อนำผลผลิตมาจัดเป็นเมนูอาหารให้กับเด็กนักเรียน
2. นักเรียน50คน มีทักษะในการดูแลต้นไม้โดยการกำจัดวัชพืชเพื่อให้ต้นไม้สามารถเจริญเติบโตได้ดี ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมกำจัดวัชพืชไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง 3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการทำนาข้าวแบบอินทรี
- ซื้อพันธ์ุข้าวไร้เบอร์รี่150 กก.
- ดำนาโดยใช้รถไถ เดือน กรกฎาคม ใช้เวลา 3 ชั่วโมง จำนวน 2 งาน
- เด็กนักเรียนจำนวน 50 คน และครู 5 คน ดำเนินการถอนหญ้าและวัชพืช ในแปลงนาของโรงเรียน จำนวน 2 งาน
ผลผลิต
1. มีการทำนาข้าวไร้เบอร์รี่ ในแปลงนาของโรงเรียนจำนวน 2 งาน เพื่อนำผลผลิตมาจัดเป็นเมนูอาหารให้กับเด็กนักเรียน
2. นักเรียน50คน มีทักษะในการดูแลต้นข้าวโดยการกำจัดวัชพืชในแปลงนาเพื่อให้ต้นข้าวสามารถเจริญเติบโตได้ดี ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมกำจัดวัชพืชในแปลงนาข้าวนำไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง 3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการทำนาข้าวแบบอินทรี 4. นักเรียนเกิดความรู้ในการทำนาข้าวแบบอินทรี
ในภาคเรียนที่สองได้ซื้อเห็ดมาดำเนินการ 2 ครั้ง
1. ครั้งที่ 1 ในวันที่ 1 ก.พ. 60 600 ก้อน
2. ครั้งที่ 1 ในวันที่281 ก.พ. 60 700 ก้อน เนื่องจากนำงบที่เหลือจากงบพัฒนาบุคลากรมาใช้
1.ประชุม วางแผน การดำเนินการเพาะเห็ด
2. จัดซื้อก้อนเห็ดฮังการี่ จำนวน 600
3. ครูวันชัย กิจกำรูญ ครูผู้สอนนักเรียนชั้น ป.6 ได้จัดการเรียนรู้การเพาะเห็ดฮังการี่ให้กับนักเรียนชั้น ป.6 จำนวน 21 คน โดยมีเนื้อหาดังนี้
3.1.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเห็ดการวางก้อนเชื้อในลักษณะแนวนอนโดยวางเรียงต่อกันเป็นแนวและวางซ้อนกันเป็นชั้นๆ
3.2.การเปิดดอก โดยเปิดจุกและสำลีจากคอขวดออกและพับปากถุงให้เหมือนเดิมกับตอนที่ยังมีจุกคอขวดอยู่เพื่อจะทำให้เก็บดอกเห็ดได้ง่าย
3.3.การรดน้ำ ควรพ่นให้ผิวหน้าของก้อนเชื้อชื้นก็พอ เพราะจะทำให้ก้อนเชื้อมีเชื้อราจะเน่าเสียเร็ว การรดน้ำประมาณวันละ 3-4 ครั้งแล้วแต่สภาพอากาศ
3.4.การเก็บดอกเห็ดและการทำความสะอาดหน้าก้อนเห็ด เมื่อเห็ดออกดอกและบานจนได้ขนาดที่ต้องการแล้วเก็บดอกโดยจับที่โคนดอกทั้งช่อโยกซ้ายขวาบนล่างแล้วดึงออกจากถุงเห็ด ระวังอย่าให้ถุงเห็ดบาน ถ้าโคนเห็ดขาดอยู่ให้แคะออกเพื่อป้องกันการเน่าเสีย การทำความสะอาดก้อนเชื้อทำได้โดยเขี่ยเศษเห็ดที่ติดอยู่ข้างในถุงออกให้หมด และงดให้น้ำ 3 วันถ้าก้อนเห็ดมีเชื้อราให้นำออกทันที
3.5.ส่งผลผลิตที่ได้สู่โรงอาหารในโครงการอาหารกลางวัน
ได้ผลผลิตเกี่ยวกับการเกษตรที่ปลอดภัยไร้สารเคมี
1.จัดอบรม ชี้แจงนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 จำนวน 63 คน 2.จัดกิจกรรมโดยแบ่งเป็นฐาน 3 ฐาน 1.)ฐานสวยหล่อด้วยอาหาร 5 หมู่2.)ฐานจัดอาหารง่ายๆด้วย TSL3.)ฐานเกมส์สุขภาพ 3.ติดตามระบบเฝ้าระวังโภชนาการ
ผลผลิต
1. นักเรียน63คน มีความรู้ในการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่
ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่ 3. นักเรียนสามารถขยายผลไปสู่ผู้ปกครองได้
- ซื้อวัสดุ อุปกรณ์มาเตรียมในการทำปุ๋ย
- เด็กนักเรียนจำนวน 40 คน ดำเนินการเรียนรู้วิธีการผสมปุ๋ยให้ถูกต้อง แและรอระยะเวลาที่จะสามารถนำไปใช้ได้
- นำปุ๋ยที่หมักได้แล้วนั้นนำไปใช้กับพืช ต้นไม้ในโรงเรียนเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้สารพิษ
ผลผลิต
1. มีการทำปุ๋ยหมัก เพื่อนำผลผลิตมาใช้กับพืช ต้นไม้ในโรงเรียนเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้สารพิษ
2. นักเรียน40คน มีทักษะในการผสมปุ๋ยหมักได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมผสมปุ๋ยหมักนำไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง 3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากใช้ปุ๋ยหมักของโรงเรียน 4. นักเรียนเกิดความรู้ในการทำปุ๋ยหมักแบบชีวภาพ
- ซื้อพันธ์ุกบ และปลาดุก150 กก.
- นำมาปล่อยในบ่อดิน และกระชัง จำนวน 2 กระชัง
- เด็กนักเรียนจำนวน 30 คน ที่รับผิดชอบ ดำเนินการเลี้ยงดูโดยให้อาหารกบ และปลาดุกทุกวัน เป็นระยะเวลา 100 วัน
ผลผลิต
1. มีการเลี้ยงกบ และปลาดุกในกระชังและบ่อดินเพื่อนำผลผลิตมาจัดเป็นเมนูอาหารให้กับเด็กนักเรียน
2. นักเรียน30คน มีทักษะในการเลี้ยงกบ และปลาดุกในกระชังและบ่อดิน
ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมการเลี้ยงกบ และปลาดุกในกระชังและบ่อดินนำไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง 3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการเลี้ยงกบ และปลาดุกในกระชังและบ่อดิน 4. นักเรียนเกิดความรู้ในการเลี้ยงกบ และปลาดุกด้วยตนเอง
- วางแผนในการทำงาน
- จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ให้กับแม่ครัวเพื่อสุขอนามัยในด้านอาหาร
ผลผลิต
1. มีการเตรียมการทำอาหารด้วยความสะอาด
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน
2. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการทำอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
1.ประชุม วางแผน การดำเนินการเพาะเห็ด วันที่ 2 กรกฎาคม 59
2. จัดซื้อก้อนเห็ดฮังการี่ จำนวน 600
3. ครูวันชัย กิจกำรูญ ครูผู้สอนนักเรียนชั้น ป.6 ได้จัดการเรียนรู้การเพาะเห็ดฮังการี่ให้กับนักเรียนชั้น ป.6 จำนวน 21 คน โดยมีเนื้อหาดังนี้
3.1.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเห็ดการวางก้อนเชื้อในลักษณะแนวนอนโดยวางเรียงต่อกันเป็นแนวและวางซ้อนกันเป็นชั้นๆ
3.2.การเปิดดอก โดยเปิดจุกและสำลีจากคอขวดออกและพับปากถุงให้เหมือนเดิมกับตอนที่ยังมีจุกคอขวดอยู่เพื่อจะทำให้เก็บดอกเห็ดได้ง่าย
3.3.การรดน้ำ ควรพ่นให้ผิวหน้าของก้อนเชื้อชื้นก็พอ เพราะจะทำให้ก้อนเชื้อมีเชื้อราจะเน่าเสียเร็ว การรดน้ำประมาณวันละ 3-4 ครั้งแล้วแต่สภาพอากาศ
3.4.การเก็บดอกเห็ดและการทำความสะอาดหน้าก้อนเห็ด เมื่อเห็ดออกดอกและบานจนได้ขนาดที่ต้องการแล้วเก็บดอกโดยจับที่โคนดอกทั้งช่อโยกซ้ายขวาบนล่างแล้วดึงออกจากถุงเห็ด ระวังอย่าให้ถุงเห็ดบาน ถ้าโคนเห็ดขาดอยู่ให้แคะออกเพื่อป้องกันการเน่าเสีย การทำความสะอาดก้อนเชื้อทำได้โดยเขี่ยเศษเห็ดที่ติดอยู่ข้างในถุงออกให้หมด และงดให้น้ำ 3 วันถ้าก้อนเห็ดมีเชื้อราให้นำออกทันที
3.5.ส่งผลผลิตที่ได้สู่โรงอาหารในโครงการอาหารกลางวัน
ผลผลิต
1.นักเรียนระดับชั้น ป.6 จำนวน21คน มีความรู้ มีทักษะในการเพาะเห็ดฮังการี่
2.นักเรียนระดับชั้น ป.6 จำนวน21คน นำความรู้และทักษะไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
3.นักเรียนจำนวน141 คน เป็นแกนนำในการให้ความรู้แก่เพื่อนนักเรียนในเรื่องการเพาะเห็ดฮังการี่ได้
ผลผลัพธ์
1.โรงเรียนวัดนากลางมีแหล่งเรียนรู้การเพาะเห็ดฮังการี่ให้กับโรงเรียน และชุมชน
2.โรงเรียนวัดนากลางมีผลผลิตเห็ดฮังการี่นำไปใช้ประกอบอาหารในโครงการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทั้งโรงเรียน
3.โรงเรียนวัดนากลางสามารถเชื่อมโยงและบูรณาการกิจกรรมการเพาะเห็ดฮังการีเข้ากับวิชาเรียนเกษตร กลุ่มสาระการงานอาชีพฯ และจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนทุกระดับชั้น นักเรียนโรงเรียนวัดนากลางมีทักษะชีวิตและทักษะการทำงานร่วมกัน
- ซื้อพันธ์ุข้าวไร้เบอร์รี่150 กก.
- ดำนาโดยใช้รถไถ เดือน กรกฎาคม ใช้เวลา 3 ชั่วโมง จำนวน 2 งาน
- เด็กนักเรียนจำนวน 50 คน และครู 5 คน ดำเนินการถอนหญ้าและวัชพืช ในแปลงนาของโรงเรียน จำนวน 2 งาน
ผลผลิต
1. มีการทำนาข้าวไร้เบอร์รี่ ในแปลงนาของโรงเรียนจำนวน 2 งาน เพื่อนำผลผลิตมาจัดเป็นเมนูอาหารให้กับเด็กนักเรียน
2. นักเรียน50คน มีทักษะในการดูแลต้นข้าวโดยการกำจัดวัชพืชในแปลงนาเพื่อให้ต้นข้าวสามารถเจริญเติบโตได้ดี ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมกำจัดวัชพืชในแปลงนาข้าวนำไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง 3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการทำนาข้าวแบบอินทรี 4. นักเรียนเกิดความรู้ในการทำนาข้าวแบบอินทรี