ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว


“ โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว ”

86 ม.13 ตำบลพงษ์ อำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน

หัวหน้าโครงการ
นายสวาท ทองบ้านทุ่ม

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว

ที่อยู่ 86 ม.13 ตำบลพงษ์ อำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน จังหวัด น่าน

รหัสโครงการ ศรร.1112-014 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.14

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว จังหวัดน่าน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 86 ม.13 ตำบลพงษ์ อำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว " ดำเนินการในพื้นที่ 86 ม.13 ตำบลพงษ์ อำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน รหัสโครงการ ศรร.1112-014 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 240 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านห้วยแฮ้ว จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้

  1. นักเรียนมีสุขภาพสุขภาวะ พัฒนาการด้านร่างกาย เติบโตสมวัย อารมณ์ สติปัญญาดีขึ้น รวมทั้งทักษะเพื่อการดำรงชีวิต สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
  2. โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียนได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
  3. พ่อแม่ ผู้ปกครอง และคนในชุชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
  4. ชุมชน มีความตระหนักรู้ และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เด็กนักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิตสามารถนำไปใช้ได้จริง
  2. เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ในการดูแลสุขภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
  3. เพื่อพัฒนาให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน เป็นแหล่งอาหารและเป็นที่เรียนรู้ของชุมชน
    2. นักเรียนมีสุขภาวะที่ดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะในการดำเนินชีวิต
    3. พ่อแม่ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
    4. เกิดกระแสตื่นตัวในชุมชน/สังคม ให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการและสุขภาพของเด็กวัยเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. สุขภาพดี ไม่มีพยาธิ

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูและนักเรียนในโรงเรียน
    2. แจกกรรไกรตัดเล็บประจำห้องเรียนห้องละ 1 อัน
    3. ครูประจำชั้นและหัวหน้านักเรียนในแต่ละชั้น ตรวจเล็บมือ เล็บเท้า ทรงผมของนักเรียนในชั้นตนเอง
    4. หากเล็บมือและเล็บเท้ายาวให้ทำการตัดเล็บมือ ให้เรียบร้อย โดยมีครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด
    5. หากทรงผมผิดระเบียบ จะต้องส่งต่อให้ฝ่ายปกครอง เพื่อให้ตัดทรงผมให้ถูกระเบียบ โดยมีครูฝ่ายปกครองเป็นผู้ดูแล
    6. สำหรับนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาจะมีการตรวจหาสารเสพติด โดยมีครูฝ่ายปกครองเป็นผู้ดำเนินการ
    7. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีสุขภาพภายนอกที่สะอาดเรียบร้อย
    2. นักเรียนห่างไกลจากสิ่งเสพติด

     

    147 137

    2. ธนาคารขยะ

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
    2. มอบหมายครูรับผิดชอบเพื่อดำเนินการ
    3. ชี้แจงนักเรียนที่ร่วมกิจกรรม
    4. จัดซื้อถังที่ถูกสุขลักษณะ
    5. นักเรียนแต่ละชั้นเรียนคัดแยกขยะของห้องเรียนตนเองเบื้องต้น
    6. นักเรียนที่เป็นเจ้าหน้าที่ดำเนินการคัดแยกขยะอีกครั้ง
    7. นำขยะไปกำจัดให้ถูกวิธี
    8. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. สภาพแวดล้อมในโรงเรียนสะอาด
    2. นักเรียนรู้จักการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง

     

    147 139

    3. ครู แม่ครัว ผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา อบรมเรื่องคุณภาพอาหารและสุขลักษณะนิสัยที่ดี

    วันที่ 18 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียนเกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใสปี 2
    2. ทำหนังสือเชิญวิทยากรพร้อมประเด็น
    3. ทำหนังสือเชิญประชุมผู้ปกครองพร้อมประเด็น
    4. จัดทำสื่อประกอบการอบรม
    5. เตรียมอาหารและอาหารว่าง
    6. ดำเนินการอบรม
    7. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะครู ผู้ปกครอง และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับความรู้และทักษะในการดูแลอาหารที่ดีเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกายตามความเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย เพื่อให้ลูกหลานมีพัฒนาการและการเจริญเติบโตอย่างเต็มประสิทธิภาพ

     

    80 97

    4. แอโรบิค เพื่อสุขภาพ

    วันที่ 30 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ตัวแทนนักเรียนร่วมกันจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์โครงการ และกิจกรรมต่างๆ โโยจะมีการเปลี่ยนข้อมูลให้อยู่เสมอ เดือนละ 1-2 ครั้ง
    2. นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายตามความสนใจของนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย
    2. นักเรียนออกกำลังได้ถูกวิธีและเหมาะสมกับช่วงวัยของตนเอง
    3. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง

     

    157 129

    5. วัยใส ยิ้มสวย

    วันที่ 30 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูและนักเรียนในโรงเรียน
    2. ครูประจำชั้นและหัวหน้านักเรียน ตรวจสุขภาพฟันเบื้องต้น
    3. นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารทุกมื้อที่โรงเรียน
    4. ผู้ปกครองคอยดูแลเรื่องการแปรงฟันของนักเรียนที่บ้าน
    5. มีการจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการแปรงฟัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีสุขภาพฟัที่แข็งแรง
    2. ครูและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม

     

    277 139

    6. คุณค่าสารอาหาร

    วันที่ 30 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
    2. รับสมัครตัวแทนนักเรียนในการดำเนินงานกิจกรรม
    3. จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับสารอาหารที่นักเรียนได้รับในแต่ละมื้อ
    4. นักเรียนในโรงเรียนสามารถศึกษาข้อมูลจากบอร์ดประชาสัมพันธ์
    5. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้ทักษะการทำงานกลุ่มตามที่ได้รับมอบหมาย
    2. ครูและนักเรียนได้รับความรู้เรื่องโภชนาการอาหารมากขึ้น

     

    387 139

    7. เพาะเมล็ดทานตะวัน อินทรีย์ ประจำห้องเรียนมัธยมศึกษา

    วันที่ 3 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะครูในโรงเรียน เรื่อง แนวทางในการดำเนินงาน
    2. ครูแต่ละชั้นเรียนชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานให้นักเรียน
    3. ครูผู้รับผิดชอบโครงการ แบ่งกลุ่มนักเรียนยุวเกษตร เพื่อจัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ให้แต่ละระดับชั้น
    4. ครูและนักเรียนแต่ละชั้นร่วมกันออกแบบวางแผนการทำงาน
    5. นักเรียนแต่ละชั้นร่วมกันเพาะเมล็ดต้นอ่อนทานตะวัน
    6. แต่ละชั้นแบ่งหน้าที่กันดูแลต้นอ่อนทานตะวัน
    7. เก็บเกี่ยวต้นอ่อนทานตะวัน
    8. นำมาประกอบอาหารตามแต่ละเมนูของนักเรียนแต่ละระดับชั้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนและครูมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
    2. นักเรียนได้เกิดทักษะในการเรียนรู้การทำงานกลุ่ม และมีความรับผิดชอบในหน้าที่
    3. นักเรียนมีความตื่นตัวในการทำงานร่วมกัน
    4. นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ
    5. นักเรียนบางคนที่ไม่รับประทานผัก หันมารับประทานต้นอ่อนทานตะวัน ร้อยละ 100

     

    40 36

    8. ปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์ ครั้งที่ 1

    วันที่ 10 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
    2. ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
    3. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นระดับชั้น เป็น 3 กลุ่ม เพื่อรับผิดชอบมะนาวกลุ่มละ 1 ต้น
    4. เตรียมพื้นที่ในการปลูกมะนาว และเตรียมต้นกล้ามะนาว
    5. ปลูกมะนาว 10 ต้น ในวันที่ 10 มิถุนายน 2559
    6. ดูแล รักษาต้นที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้เรียนรู้ทักษะการทำงานร่วมกัน
    2. นักเรียนได้รู้จักวิธีการปลูกและดูแลมะนาวในกระถาง
    3. นักเรียนได้ฝึกความรับผิดชอบ

     

    147 23

    9. ปลูกกล้วย

    วันที่ 13 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
    2. ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
    3. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นระดับชั้น เป็น 5 กลุ่ม เพื่อรับผิดชอบต้นกล้วยกลุ่มละ 1 ต้น
    4. เตรียมพื้นที่ในการปลูกกล้วย และเตรียมหน่อกล้วย โดยชาวบ้านในพื้นที่ให้หน่อกล้วยมาปลูกในโรงเรียน
    5. ปลูกกล้วย
    6. ดูแล รักษาต้นที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมนี้เกิดผลต่อครู นักเรียน และผู้ปกครอง ดังนี้ 1. ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินการปลูกต้นกล้วย 2. ได้ผลผลิตที่ราคาไม่สูง แต่คุณภาพสูงและนำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย 3. มีความรักและสามัคคีในการทำงาน

     

    277 137

    10. ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน ครั้งที่ 1

    วันที่ 16 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ทำหนังสือเชิญผู้ปกครองและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม
    2. จัดทำเอกสารและคู่มือการปลูกผักในครัวเรือน
    3. แจกเมล็ดพันธุ์ผักพร้อมคู่มือให้ผู้ปกครอง โดยวิธีการจับฉลาก ครัวเรือนละ 3 ชนิด
    4. ให้คณะกรรมการนักเรียนติดตามการปลูกผักสวนครัวที่บ้านของนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ครู นักเรียน และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในกิจกรรมนี้
    2. โครงการอาหารกลางวันได้ผักที่ปลอดสารพิษมาประกอบอาหารให้นักเรียนมากขึ้น
    3. นักเรียนได้เรียนรู้วิธี และลงมือปฎิบัติด้วยตนเอง

     

    174 190

    11. ปลูกผักหมุนเวียน ครั้งที่ 1

    วันที่ 17 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
    2. ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
    3. แบ่งกลุ่มนักเรียนระดับชั้นละ 2 แปลง เพื่อรับผิดชอบแปลงผักของตนเอง
    4. เตรียมแปลงผักและเมล็ดพันธ์ุผัก
    5. ปลูกผัก คะน้า ผักชี
    6. ดูแล รักษาผักที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ
    7. เมื่อได้ผลผลิตสามารถนำมาจำหน่ายให้สหกรณ์โรงเรียน
    8. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้ทักษะการทำงานกลุ่มตามที่ได้รับมอบหมาย
    2. ครูและนักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ
    3. นักเรียนรับประทานผักมากขึ้น

     

    147 123

    12. เลี้ยงปลานิล ครั้งที่ 1

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
    2. ชี้แจงนักเรียนระดับชั้น ป.3-ป.6
    3. ได้รับพันธ์ุปลาจากกรมประมงจังหวัด
    4. แบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อรับผิดชอบในการดูแลและให้อาหารปลา
    5. ดูแลปลานิลในสระ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้เรียนรู้ืักษะการทำงานร่วมกัน
    2. นักเรียนได้รู้จักวิธีการดูแลปลา
    3. นักเรียนได้ฝึกความรับผิดชอบ

     

    65 52

    13. ปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์ครั้งที่ 2

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
    2. ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
    3. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นระดับชั้น ป.5  เป็น 3 กลุ่ม เพื่อรับผิดชอบมะนาวกลุ่มละ 2 ต้น
    4. เตรียมพื้นที่ในการปลูกมะนาว และเตรียมต้นกล้ามะนาว
    5. ปลูกมะนาว 10 ต้น ในวันที่ 1 กรกฏาคม 2559
    6. ดูแล รักษาต้นที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้เรียนรู้ทักษะการทำงานร่วมกัน
    2. นักเรียนได้รู้จักวิธีการปลูกและดูแลมะนาวในกระถาง
    3. นักเรียนได้ฝึกความรับผิดชอบ

     

    147 17

    14. เพาะเมล็ดทานตะวัน อินทรีย์ ประจำห้องเรียนประถมศึกษา

    วันที่ 7 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะครูในโรงเรียน เรื่อง แนวทางในการดำเนินงาน
    2. ครูแต่ละชั้นเรียนชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานให้นักเรียน
    3. ครูผู้รับผิดชอบโครงการ แบ่งกลุ่มนักเรียนยุวเกษตร เพื่อจัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ให้แต่ละระดับชั้น
    4. ครูและนักเรียนแต่ละชั้นร่วมกันออกแบบวางแผนการทำงาน
    5. นักเรียนแต่ละชั้นร่วมกันเพาะเมล็ดต้นอ่อนทานตะวัน
    6. แต่ละชั้นแบ่งหน้าที่กันดูแลต้นอ่อนทานตะวัน
    7. เก็บเกี่ยวต้นอ่อนทานตะวัน
    8. นำมาประกอบอาหารตามแต่ละเมนูของนักเรียนแต่ละระดับชั้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนและครูมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
    2. นักเรียนได้เกิดทักษะในการเรียนรู้การทำงานกลุ่ม และมีความรับผิดชอบในหน้าที่
    3. นักเรียนมีความตื่นตัวในการทำงานร่วมกัน
    4. นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ
    5. นักเรียนบางคนที่ไม่รับประทานผัก หันมารับประทานต้นอ่อนทานตะวัน ร้อยละ 100

     

    100 139

    15. ปลูกผักหมุนเวียน ครั้งที่ 2

    วันที่ 8 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
    2. ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
    3. แบ่งกลุ่มนักเรียนระดับชั้นละ 2 แปลง เพื่อรับผิดชอบแปลงผักของตนเอง
    4. เตรียมแปลงผักและเมล็ดพันธ์ุผัก
    5. ปลูกผัก
    6. ดูแล รักษาผักที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ
    7. เมื่อได้ผลผลิตสามารถนำมาจำหน่ายให้สหกรณ์โรงเรียน
    8. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้ทักษะการทำงานกลุ่มตามที่ได้รับมอบหมาย
    2. ครูและนักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ
    3. นักเรียนรับประทานผักมากขึ้น

     

    147 123

    16. ปลูกข้าวไร่

    วันที่ 21 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เกษตรอำเภอให้ความรู้เรื่องการปลูกข้าวไร่ให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
    2. นำเมล็ดพันธ์ข้าวมาให้ทางโรงเรียน
    3. เตรียมแปลงสำหรับปลูกข้าว
    4. นักเรียนและครูร่วมกันปลูกข้าวไร่
    5. ดูแลต้นข้าว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินการปลูกต้นข้าว
    2. ได้ผลผลิตที่ราคาไม่สูง แต่คุณภาพสูงและนำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย
    3. มีความรักและสามัคคีในการทำงาน
    4. นักเรียนได้รับความรู้ในการปลูกข้าวไร่

     

    35 38

    17. ปลูกต้นหม่อน

    วันที่ 6 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. โครงการหม่อนไหมจังหวัดน่านนำต้นหม่อนมาให้กับทางโรงเรียน
    2. เตรียมพื้นที่สำหรับปลูกต้นหม่อน
    3. ปลูกต้นหม่อน
    4. ดูแลต้นหม่อน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินการปลูกต้นหม่อน
    2. ได้ผลผลิตที่ราคาไม่สูง แต่คุณภาพสูงและนำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย
    3. มีความรักและสามัคคีในการทำงาน

     

    0 17

    18. ประชุมจัดทำรายงานความก้าวหน้า

    วันที่ 18 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ครูที่เกี่ยวข้องในงานโครงการ ได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการโรงเรียนในการเข้าร่วมประชุม
    2. ครูเดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัว จากอำเภอสันติสุข จ.น่าน ในวันที่ 17 ตุลาคม 2559
    3. ครูเข้าพักที่โรงแรม JํY HOUSE จำนวน 1 คืน
    4. ครูเข้าร่วมประชุม เพื่อจัดทำเอกสารทางการเงิน และรายงานโครงการตามที่รับผิดชอบ
    5. แก้ไข ปรับปรุง เพิ่มเติมในส่วนที่ขาด
    6. เดินทางกลับจังหวัดน่าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้รับความรู้ในการจัดทำเอกสารทางการเงิน
    2. ได้รายงานความก้าวหน้าโครงการที่ครบถ้วนสมบูรณ์มากขึ้น

     

    2 2

    19. หัวจ๋า เหา ลาก่อน

    วันที่ 11 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
    2. ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
    3. นักเรียนหญิงทุกคนสระผมด้วยแชมพูกำจัดเหาทุกวันศุกร์ เป็นเวลา 1 เดือน
    4. ทุกวันศุกร์แจกแชมพูกำจัดเหาให้นักเรียนไปสระที่บ้านเอง
    5. ครูและตัวแทนนักเรียนสำรวจเหาของนักเรียน
    6. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีปริมาณเหาที่ลดลงจากเดิม
    2. นักเรียนมีความรับผิดชอบ และใส่ใจสุขภาพของตัวเองมากขึ้น

     

    147 105

    20. เพาะถั่วงอกอินทรีย์ประจำห้อง

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะครูในโรงเรียน เรื่อง แนวทางในการดำเนินงาน
    2. ครูผู้รับผิดชอบชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานให้นักเรียน
    3. ครูและนักเรียนร่วมกันออกแบบวางแผนการทำงาน
    4. ตัวแทนนักเรียนรับอุปกรณ์ในการทำกิจกรรม
    5. นักเรียนร่วมกันเพาะถั่วงอก
    6. แบ่งหน้าที่กันดูแลถั่วงอก
    7. เก็บเกี่ยวถั่วงอก
    8. นำถั่วงอกมาส่งให้โครงการอาหารกลางวันทำอาหาร และบางส่วนนำมาจำหน่ายให้กับคนที่สนใจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
    2. นักเรียนมีความภาคภูมิใจในการทำงาน
    3. นักเรียนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ
    4. นักเรียนได้รับความรู้ในเรื่องวิธีการเพาะถั่วงอก

     

    147 140

    21. เพาะเห็ดฟางจากซังข้าวโพด

    วันที่ 25 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีทักษะในการทำงาน

     

    48 43

    22. ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน ครั้งที่ 2

    วันที่ 1 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้ทานผักที่ปลอดสารพิษ
    2. ทางโรงเรียนลดภาระค่าใช้จ่ายในการซื้อผัก
    3. ผู้ปกครองมีรายได้เสริม

     

    0 50

    23. เลี้ยงปลานิล ครั้งที่ 2

    วันที่ 1 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีทักษะในการทำงาน

     

    139 43

    24. อย.น้อย

    วันที่ 6 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
    2. ชี้แจงนักเรียนระดับชั้นอนุบาล
    3. จัดกลุ่มนักเรียนที่สนใจเป็นคณะทำงานจำนวน 10 คน เพื่อตรวจสอบ สำรวจลูกน้ำและยุงลายทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง
    4. นำผลการสำรวจมาแสดงให้นักเรียนในโรงเรียนทราบ
    5. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีทักษะในหารทำงาน
    2. นักเรียนมีความกระตือรือร้น
    3. โรงเรียนไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

     

    27 27

    25. จำหน่ายและแลกเปลี่ยนผลผลิตทางเกษตร

    วันที่ 9 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้ทานผักปลอดสารพิษ
    2. โรงเรียนประหยัดต้นทุนการซื้อผัก
    3. ชุมชนมีรายได้เสริม

     

    287 0

    26. จัดระบบเฝ้าระวังและติดตามนักเรียน

    วันที่ 9 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูและนักเรียนในโรงเรียน
    2. ครูอนามัยโรงเรียนและตัวแทนนักเรียน สำรวจ และตรวจสุขภาพนักเรียนต้นและปลายภาคเรียน
    3. เมื่อพบนักเรียนที่มีสุขภาพผิดปกติ เช่น น้ำหนัก ส่วนสูง ฟัน หู และตา ให้แจ้งครูประจำชั้น ครูอนามัยโรงเรียน รวมถึงผู้เกี่ยวข้องเกี่ยวกับสุขภาพนักเรียนเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง
    4. ผู้ที่เกี่ยวข้องมาร่วมรักษาสุขภาพนักเรียน
    5. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง
    2. โรงเรียนมีข้อมูลด้านสุขภาพที่เป็นปัจจุบันและถูกต้อง

     

    270 242

    27. ปลูกผักหมุนเวียนครั้งที่ 3

    วันที่ 12 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
    2. ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
    3. แบ่งกลุ่มนักเรียนระดับชั้นละ 2 แปลง เพื่อรับผิดชอบแปลงผักของตนเอง
    4. เตรียมแปลงผักและเมล็ดพันธ์ุผัก
    5. ปลูกผัก
    6. ดูแล รักษาผักที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ
    7. เมื่อได้ผลผลิตสามารถนำมาจำหน่ายให้สหกรณ์โรงเรียน
    8. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีทักษะในการทำงาน
    2. นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ

     

    147 125

    28. อบรมและศึกษาดูงานระบบสหกรณ์ให้คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน

    วันที่ 13 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะครูในโรงเรียน เรื่อง แนวทางในการดำเนินงาน
    2. คัดเลือกตัวแทนนักเรียนร่วมศึกษาดูงาน จำนวน 16 คน
    3. ศึกษาดูงานที่โรงเรียนธงชัยวิทยา จ.ลำปาง
    4. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับแนวคิดและแนวความรู้ในการดำเนินงานจัดระบบงานสหกรณ์โรงเรียน และนำมาปรับใช้กับโรงเรียนบ้านห้วยแฮ้วได้อย่างเหมาะสม

     

    35 32

    29. ปุ๋ยหมักอินทรีย์

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวการหมักปุ๋ยอินทรีย์
    2. มีปุ๋ยสำหรับรดต้อผัก

     

    147 28

    30. ครู นักเรียน แม่ครัว และคณะกรรมการโครงการ อบรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ

    วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
    2. ทำหนังสือเชิญวิทยากรพร้อมประเด็น
    3. ทำหนังสือเชิญประชุมผู้ปกครองพร้อมประเด็น
    4. เตรียมอาหารและอาหารว่าง
    5. ดำเนินการอบรมทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏฺบัติ โดยแบ่งหัวข้อเป็น 3 ประเด็นคือ 5.1 สุขภาพช่องปาก 5.2 สุขภาพร่างกาย 5.3 โรคติดต่อ
    6. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้
    2. ผู้เข้ารับสามารถนำไปปฏิบัติใช้ในชีวิตจริงได้

     

    40 52

    31. ครอบครัวสุขภาพดี

    วันที่ 9 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ และแนวทางการนำไปปฏฺบัติใช้ในชีวิตประจำวัน

     

    277 249

    32. เปิดโลกวิชาการ สืบสานพระราชดำริและวิถีชุมชน โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว

    วันที่ 9 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน ตัวแทนผู้ปกครอง นักเรียน และชุมชน
    2. ครู นักเรียน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เตรียมงานและสถานที่ในการจัดกิจกรรม
    3. ภายในงานมีกิจกรรมเกี่ยวกับการดำเนินงานวิชาการ ของโรงเรียน กิจกรรมโครงการต่างๆ เปิดร้านขายของโดยนักเรียนเป็นผู้บริหารจัดการ มีการแสดงของนักเรียนหลายๆระดับ
    4. สรุปการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีทักษะการทำงาน
    2. นักเรียนกล้าแสดงออกในทางที่ถูกต้อง
    3. นักเรียนมีส่วนในการแสดงความคิดเห็น
    4. ชาวบ้านได้เห็นผลงานของลูกหลานตัวเอง
    5. สร้างความภาคภูมิใจให้นักเรียนและผู้ปกครอง

     

    40 317

    33. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 31 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    3 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เด็กนักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิตสามารถนำไปใช้ได้จริง
    ตัวชี้วัด : 1. เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น 40% โดยสังเกตุการณ์ร่วมกับผู้ปกครอง 2. นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดีขึ้น ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง 3. ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ) 4. นักเรียนประมาณ 80 % ของจำนวนเด็กในโรงเรียน ให้ความร่วมมือทำกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

     

    2 เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ในการดูแลสุขภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
    ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียนมีระดับความสำเร็จของการดำเนินงานใน 8 กิจกรรม อยู่ในระดับ 4 2. พ่อแม่ ผู้ปกครอง และคนในชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน 3. ชุมชน มีความตระหนักรู้ และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน

     

    3 เพื่อพัฒนาให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีสุขภาพสุขภาวะ พัฒนาการด้านร่างกาย เติบโตสมวัย อารมณ์ สติปัญญาดีขึ้น รวมทั้งทักษะเพื่อการดำรงชีวิต สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง - 1.1 ภาวะอ้วน ผอม ไม่เกิน ไม่เกิน 5 % - 1.2 ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 5 % - 1.3 ค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย ไม่เกิน 7% - 1.3 เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกิน โดยกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 100-200 กรัม 2.โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียนได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ - 2.1 มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน - 2.2 โรงเรียนมีสินค้าเกษตรปลอดภัยป้อนเข้าสู่อาหารกลางวันในโรงเรียน 3.พ่อแม่ ผู้ปกครอง และคนในชุชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน 4.ชุมชน มีความตระหนักรู้ และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เด็กนักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิตสามารถนำไปใช้ได้จริง (2) เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ในการดูแลสุขภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร (3) เพื่อพัฒนาให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว

    รหัสโครงการ ศรร.1112-014 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.14 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    การปลูกข้าวไร่ พันธ์ุข้าวลืมผัว

    การปลูกข้าวไร่ใช้เวลาในการปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวประมาณ 3-4 เดือน และไม่ต้องใช้น้ำปริมาณมาก ซึ่งเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ของโรงเรียนและชุมชน

    1. ได้รับการสนับสนุนเมล็ดพันธู์ และวิธีการเพาะปลูกข้าวจากศูนย์วิจัยข้าว จังหวัดแพร่
    2. จัดนักเรียนในการดับชั้นมธัยมศึกษาในการดำเนินงาน จำนวน 40 คน ครูและผู้ดูแลอีก 3 คน
    3. จัดเตรียมสถานที่ในการปลูกข้าว
    4. นักเรียนและครูลงมือปลูกข้าว
    5. นักเรียนผลัดเปลี่ยนกันดูแลข้าวที่ปลูก
    6. นักเรียนและครูลงมือเกี่ยวข้าว และนวดข้าวเอง
    7. แบ่งผลผลิตออกเป็น 3 ส่วนดังนี้

    -ส่วนที่ 1 ส่งคืนศูนย์วิจัยข้าว จังหวัดแพร่

    -ส่วนที่ 2 เก็บไว้เป็นพันธ์ุ เพือดำเนินงานในปีต่อไป

    -ส่วนที่ 3 นำมารัปประทาน

    นำเมล็ดพันธ์ที่เก็บไว้แบ่งออกเป็น 2 ส่วน

    -ส่วนที่ 1 โรงเรียนดำเนินการปลูก

    -ส่วนที่ 2 แจกให้ชาวบ้านที่สนใจนำไปปลูก เมื่อได้ผลผลิตให้นำส่งคืนโรงเรียนในอัตรา 1:2
    เพื่อนำมาเป็นอาหารกลางวันนักเรียน และเก็บไว้ดำเนินงานในปีต่อไป

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

     

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

     

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

     

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

     

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    ทางโรงเรียนได้จัดทำแปลงเกษตรในการปลูกผักหมุนเวียน แต่มีพื้นที่ค่อนข้างจำกัด ทำให้ปลูกได้ในปริมาณที่เพียงพอต่อการทำอาหารกลางวัน จึงได้แจกเมล็ดพันธุ์ผักให้ผู้ปกครองในการนำไปปลูกที่บ้านและนำกลับมาจำหน่ายให้กับทางโรงเรียน แต่ชาวบ้านบางส่วนประสบปัญหาภาวะสภาพภาวะอากาศทำให้ผลผลิตล้มตาย จึงได้ปริมาณผลผลิตเพียงเล็กน้อยที่นำกลับมาจำหน่ายให้กับทางโรงเรียน

    • กิจกรรมปลูกผักหมุนเวียนในโรงเรียน
    • กิจกรรมการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน
    • ติดตามประเมินผลการปลูกผักของชาวบ้านทุกอาทิตย์ เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที
    • แบ่งกลุ่มนักเรียนในการรับผิดชอบแปลงเกษตร
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

    ทางโรงเรียนมีการเลี้ยงไก่ไข่ และ สุกร โดยทางโครงการเกษตรนำไข่ไก่มาฝากขายให้กับสหกรณ์โรงเรียน และนำมาจำหน่ายทำเป็นอาหารเช้าและอาหารกลางวันให้นักเรียนหากเหลือจากการทำอาหารจะจัดจำหน่ายให้กับชุมชน

    ส่วนไก่ที่ไม่มีผลผลิตแล้ว นำเนื้อไก่มาทำเป็นอาหาร

    ส่วนสุกร เลี้ยงและจำหน่าย เพื่อนำเงินมาเป็นกองทุนหมุนเวียนในโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    กิจกรรมเลี้ยงปลาและไก่

    • ซื้อไก่ไข่มาทดแทนตัวที่ไม่ออกไข่ โดยใช้เงินที่ได้จากการจำหน่ายไข่ไก่
    • ผลิตอาหารให้สุกรและไก่ที่มีในชุมชน เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซื้ออาหาร
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    ในรอบแรกมีการเลี้ยงปลากินพืช โดยได้พันธ์ุปลาจากกรมประมง แต่เจอภาวะนำหลาก ทำให้ปลาสูญหายไปเป็นจำนวน อีกทั้งเป็นปลาที่มีก้างมาก จึงไม่ได้นำมาประกอบอาหารให้นักเรียน ได้ทำการขายให้ชุมชน เพื่อนำเงินมาซื้อปลานิล และปลาดุก

    รอบที่สอง ได้ซื้อปลามาเพิ่มลงในสระ แต่ยังไม่สามารถนำมาปรุงอาหารได้ เนื่องจากยังไม่โตเต็มที่

    กิจกรรมเลี้ยงปลา

    ทางโรงเรียนได้วางแผนโครงการเลี้ยงกบคอนโด และปลาดุกในบ่อซีเมนต์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

    ทางโรงเรียนได้รับจัดสรรค่าอาหารจากโครงการ CCF จำนวน คน คนละ 15 บาท

    นำผลผลิตจากโครงการเกษตรหมุนเวียนเพื่ออาหารกลางวันมาปรุงอาหาร ทำให้ลดค่าใช้จ่ายในบางส่วน

    เอกสารโครงการอาหารเช้า

    เพิ่มผลผลิตในโครงการเกษตรหมุนเวียนให้มากขึ้น โดยอาศัยความร่วมมือจากชุมชน เพื่อให้ได้ผลปลอดสาารพิษและมีปริมษณเพียงพอต่อการทำอาหาร

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

    ทางโรงเรียนจัดเมนูอาหารกลางวันและอาหารเสริมตามโปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch

    ส่วนอาหารเช้า โรงเรียนได้จัดอาหารให้นักเรียน แต่นักเรียนบางส่วนไม่ได้รับบริการเนื่องจากทานมาจากบ้าน ทำให้ควบคุมเรื่องผักและผลไม้ อาจจะไม่ได้ปริมาณที่นักเรียนต้องการในแต่ละวัน

    แม่ครัว ตักอาหารตามที่ได้รับการฝึกอบรมจากครูโภชนาการ เพื่อตักให้นักเรียนตามปริมาณความต้องการของนักเรียนแต่ละช่วงวัย

    • โครงการอาหารกลางวันโรงเรียน
    • โปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
    • กิจกรรมอบรมคุณภาพอาหารและสุขลักษณะนิสัยที่ดี
    • ศึกษาดูงานโรงเรียนที่ได้รับคัดเลือกเป็นต้นแบบการจัดเมนูอาหารกลางวันให้นักเรียน
    • ใช้โปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch สำหรับอาหารเช้า
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    ทางโรงเรียนจัดเมนูอาหารกลางวันและอาหารเสริมตามโปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch

    ส่วนอาหารเช้า โรงเรียนได้จัดอาหารให้นักเรียน แต่นักเรียนบางส่วนไม่ได้รับบริการเนื่องจากทานมาจากบ้าน ทำให้ควบคุมเรื่องผักและผลไม้ อาจจะไม่ได้ปริมาณที่นักเรียนต้องการในแต่ละวัน

    แม่ครัว ตักอาหารตามที่ได้รับการฝึกอบรมจากครูโภชนาการ เพื่อตักให้นักเรียนตามปริมาณความต้องการของนักเรียนแต่ละช่วงวัย

    • โครงการอาหารกลางวันโรงเรียน
    • โปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
    • กิจกรรมอบรมคุณภาพอาหารและสุขลักษณะนิสัยที่ดี
    • ศึกษาดูงานโรงเรียนที่ได้รับคัดเลือกเป็นต้นแบบการจัดเมนูอาหารกลางวันให้นักเรียน
    • ใช้โปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch สำหรับอาหารเช้า
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    ทางโรงเรียนจัดเมนูอาหารกลางวันและอาหารเสริมตามโปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch

    ส่วนอาหารเช้า โรงเรียนได้จัดอาหารให้นักเรียน แต่นักเรียนบางส่วนไม่ได้รับบริการเนื่องจากทานมาจากบ้าน ทำให้ควบคุมเรื่องผักและผลไม้ อาจจะไม่ได้ปริมาณที่นักเรียนต้องการในแต่ละวัน

    แม่ครัว ตักอาหารตามที่ได้รับการฝึกอบรมจากครูโภชนาการ เพื่อตักให้นักเรียนตามปริมาณความต้องการของนักเรียนแต่ละช่วงวัย

    • โครงการอาหารกลางวันโรงเรียน
    • โปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
    • กิจกรรมอบรมคุณภาพอาหารและสุขลักษณะนิสัยที่ดี
    • ศึกษาดูงานโรงเรียนที่ได้รับคัดเลือกเป็นต้นแบบการจัดเมนูอาหารกลางวันให้นักเรียน
    • ใช้โปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch สำหรับอาหารเช้า
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

    ทางโรงเรียนได้แจกเมล็ดพันธุ์แบ่งออกเป็น 2 รอบ โดยได้รับความสนใจและได้รับความร่วมมือในการเข้าร่วมโครงการเป็นอย่างดี แต่ระหว่างการดำเนินงานได้รับผลกระทบจากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่บ่อยครั้ง ทำให้ผลผลิตที่ได้จากชุมชนมีปริมาณไม่เพียงพอตามที่วางแผนไว้

    กิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน

    • ติดตามประเมินผลการปลูกผักของชาวบ้านทุกอาทิตย์ เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

    ทางโรงเรียนจัดเมนูอาหารกลางวันและอาหารเสริมตามโปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch เป็นรายสัปดาห์

    • โครงการอาหารกลางวันโรงเรียน
    • โปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
    • อยากใช้โปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch สำหรับอาหารเช้า
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

    ทางโรงเรียนมีการประเมินภาวะโภชนาการตอนเปิดเทอม และก่อนปิดเทอม อยู่สม่ำเสมอ เพื่อติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนและจะได้ร่วมกันแก้ไข

    โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

    • ให้ผู้ปกครองมีส่วนเกี่ยวข้องในการติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนเพิ่มขึ้น
    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/12563 1/12563 1/2
    เตี้ย 3.13 3.13% 4.17 4.17% 3.33 3.33% 4.13 4.13% 4.13 4.13% 4.88 4.88% 5.69 5.69% 4.80 4.80% 4.76 4.76% 6.19 6.19% 4.10 4.10% 3.25 3.25% 3.15 3.15% 2.52 2.52% 2.56 2.56% 1.68 1.68% 1.72 1.72% 2.59 2.59%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 5.47 5.47% 9.17 9.17% 10.83 10.83% 9.92 9.92% 4.96 4.96% 9.76 9.76% 8.94 8.94% 6.40 6.40% 8.73 8.73% 8.85 8.85% 7.38 7.38% 6.50 6.50% 6.30 6.30% 5.88 5.88% 5.98 5.98% 6.72 6.72% 6.03 6.03% 6.90 6.90%
    ผอม 2.34 2.34% 6.03 6.03% 2.50 2.50% 3.31 3.31% 2.48 2.48% 4.10 4.10% 1.61 1.61% 1.60 1.60% 4.76 4.76% 1.77 1.77% 2.46 2.46% 3.25 3.25% 4.72 4.72% 3.36 3.36% 0.85 0.85% 0.00 0.00% 1.72 1.72% 1.72 1.72%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 7.03 7.03% 15.52 15.52% 10.00 10.00% 10.74 10.74% 3.31 3.31% 9.84 9.84% 7.26 7.26% 8.80 8.80% 16.67 16.67% 9.73 9.73% 7.38 7.38% 8.13 8.13% 7.87 7.87% 9.24 9.24% 5.98 5.98% 4.24 4.24% 6.90 6.90% 7.76 7.76%
    อ้วน 6.25 6.25% 7.76 7.76% 6.67 6.67% 8.26 8.26% 8.26 8.26% 9.84 9.84% 7.26 7.26% 6.40 6.40% 6.35 6.35% 7.08 7.08% 5.74 5.74% 4.88 4.88% 5.51 5.51% 10.08 10.08% 8.55 8.55% 5.93 5.93% 10.34 10.34% 8.62 8.62%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 10.94% 10.94% 10.34% 10.34% 12.50% 12.50% 10.74% 10.74% 10.74% 10.74% 12.30% 12.30% 13.71% 13.71% 12.80% 12.80% 11.11% 11.11% 12.39% 12.39% 12.30% 12.30% 13.01% 13.01% 11.81% 11.81% 13.45% 13.45% 11.97% 11.97% 12.71% 12.71% 14.66% 14.66% 12.93% 12.93%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

     

     

    • นักเรียนกลุ่มที่มีปัญหาภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนออกกำลังกายและทำกิจกรรมเพิ่มขึ้น
    • ชี้แนะและให้ข้อมูลกับผู้ปกครอง เพื่อให้มีส่วนร่วมในการติดตามและควบคุมเรื่องอาหารและปริมาณที่ทานให้เหมาะสม
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

    ทางโรงเรียนจัดเมนูอาหารเช้าให้กับนักเรียน ส่วนเมนูอาหารกลางวันและอาหารเสริมตามโปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch

    • ข้อมูลโภชนาการโรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
    • กราฟ
    • จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้ออกกำลังกายอย่างน้อยอาทิตย์ละ 3 ครั้ง
    • ชี้แนะและให้ข้อมูลกับผู้ปกครอง เพื่อให้มีส่วนร่วมในการติดตามและควบคุมเรื่องอาหารและปริมาณที่ทานให้เหมาะสม
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

    ทางโรงเรียนจัดอาหารเสริมนมและเน้นการออกกำลังกายให้กล้ามเนื้อได้ยืดตัว

    • ข้อมูลโภชนาการโรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
    • กราฟ
    • จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้ออกกำลังกายอย่างน้อยอาทิตย์ละ 3 ครั้ง
    • ชี้แนะและให้ข้อมูลกับผู้ปกครอง เพื่อให้มีส่วนร่วมในการติดตามและควบคุมเรื่องอาหารและปริมาณที่ทานให้เหมาะสม
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

    ทางโรงเรียนมีการประเมินภาวะโภชนาการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำข้อมูลส่งคืนครูประจำชั้นเพื่อนำผลแจ้งให้ผู้ปกครองรับทราบ และร่วมหาทางแก้ไขและส่งเสริมนักเรียนร่วมกัน

    • ข้อมูลโภชนาการโรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว

    ชี้แนะและให้ข้อมูลกับผู้ปกครอง เพื่อให้มีส่วนร่วมในการติดตามและควบคุมเรื่องอาหารและปริมาณที่ทานให้เหมาะสม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

     

     

    ชี้แนะและให้ข้อมูลกับผู้ปกครอง เพื่อให้มีส่วนร่วมในการติดตามและควบคุมเรื่องอาหารและปริมาณที่ทานให้เหมาะสม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เด็กนักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิตสามารถนำไปใช้ได้จริง (2) เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ในการดูแลสุขภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร (3) เพื่อพัฒนาให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน

    กิจกรรมหลักคือ (1) โครงการพัฒนาคุณภาพบุคลากร (2) โครงการตลาดนัดชุมชนในโรงเรียน (3) โครงการเกษตรในโรงเรียน (4) โครงการสหกรณ์นักเรียน (5) โครงการส่งเสริมสุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ครู แม่ครัว ผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา อบรมเรื่องคุณภาพอาหารและสุขลักษณะนิสัยที่ดี (2) อย.น้อย (3) จัดระบบเฝ้าระวังและติดตามนักเรียน (4) ครู นักเรียน แม่ครัว และคณะกรรมการโครงการ อบรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ (5) เปิดโลกวิชาการ สืบสานพระราชดำริและวิถีชุมชน โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว (6) ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน ครั้งที่ 1 (7) ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน ครั้งที่ 2 (8) จำหน่ายและแลกเปลี่ยนผลผลิตทางเกษตร (9) ครอบครัวสุขภาพดี (10) เพาะเมล็ดทานตะวัน อินทรีย์ ประจำห้องเรียนมัธยมศึกษา (11) ปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์ ครั้งที่ 1 (12) ปลูกกล้วย (13) ปลูกผักหมุนเวียน ครั้งที่ 1 (14) เลี้ยงปลานิล ครั้งที่ 1 (15) ปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์ครั้งที่ 2 (16) เพาะเมล็ดทานตะวัน อินทรีย์ ประจำห้องเรียนประถมศึกษา (17) ปลูกผักหมุนเวียน ครั้งที่ 2 (18) ปลูกข้าวไร่ (19) ปลูกต้นหม่อน (20) เพาะถั่วงอกอินทรีย์ประจำห้อง (21) เพาะเห็ดฟางจากซังข้าวโพด (22) เลี้ยงปลานิล ครั้งที่ 2 (23) ปลูกผักหมุนเวียนครั้งที่ 3 (24) ปุ๋ยหมักอินทรีย์ (25) อบรมและศึกษาดูงานระบบสหกรณ์ให้คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน (26) สุขภาพดี ไม่มีพยาธิ (27) ธนาคารขยะ (28) แอโรบิค เพื่อสุขภาพ (29) วัยใส ยิ้มสวย (30) คุณค่าสารอาหาร (31) ประชุมจัดทำรายงานความก้าวหน้า (32) หัวจ๋า เหา ลาก่อน (33) คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว จังหวัด น่าน

    รหัสโครงการ ศรร.1112-014

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสวาท ทองบ้านทุ่ม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด