แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา


“ โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา ”

ตำบลแพรกษา อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ

หัวหน้าโครงการ
นางอรัญญา พิสุทธากลุ

ชื่อโครงการ โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา

ที่อยู่ ตำบลแพรกษา อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัด สมุทรปราการ

รหัสโครงการ ศรร. 1223-043 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.12

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแพรกษา อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแพรกษา อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ รหัสโครงการ ศรร. 1223-043 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 765 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ

สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1) เพื่อวางระบบการดำเนินการ การจัดบริการอาหารในสถานศึกษาอย่างมีคุณภาพในด้าน 1.1 พื้นที่ในการประกอบอาหารและรับประทานอาหาร 1.2 อุปกรณ์การครัว 1.3 วัตถุดิบและการประกอบอาหาร - ผู้รับผิดชอบหลัก - แหล่งวัตถุดิบอาหารสด - การกำหนดอาหารและรายการอาหาร - การประกอบอาหารที่มีคุณค่าสะอาดปลอดภัย - บุคคลที่เกี่ยวข้อง
  2. 2) เพื่อคัดกรองนักเรียนตามภาวะโภชนาการออกเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มปัญหา โดยการวางแผนกำหนดอาหารและกิจกรรมส่งเสริมสำหรับกลุ่มปกติ ป้องกันสำหรับกลุ่มเสี่ยง การแก้ไขสำหรับกลุ่มปัญหา
  3. 3) เพื่อพัฒนานักเรียนให้เข้าสู่ค่าเป้าหมายทุกด้านของโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    กิจกรรมพัฒนาที่ 1 เกษตรในโรงเรียน

    1. นักเรียนได้รับความรู้ด้านการเกษตรสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
    2. นักเรียนมีโภชนาการสมวัย สุขภาพแข็งแรงและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
    3. นักเรียนมีรายได้จากการจำหน่ายผลผลิต

    กิจกรรมพัฒนาที่ 2 สหกรณ์นักเรียน

    1. เพื่อปลูกฝังความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสหกรณ์
    2. เพื่อส่งเสริมนักเรียนให้มีนิสัยรักการออม
    3. เพื่อให้นักเรียนนำความรู้เรื่องสหกรณ์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
    4. เพื่อให้นักเรียนมีวินัยในการใช้จ่ายเงิน

    กิจกรรมพัฒนาที่ 3 การบริการอาหาร

    1. นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวันของโรงเรียน
    2. นักเรียนทุกคนได้รับการประเมินความพึงพอใจ
    3. ผู้ประกอบอาหารมีการพัฒนาความรู้ของตนเองอยู่เสมอ

    กิจกรรมพัฒนาที่ 4 การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    1. นักเรียนทุกคนได้รับการประเมินผลภาวะโภชนาการอย่างมีคุณภาพ
    2. นักเรียนทุกคนได้รับการทดสอบสมรรถภาพทางกายอย่างมีคุณภาพ
    3. นักเรียนทีมีปัญหาภาวะโภชนาการได้รับส่งต่อเพื่อได้รับการแก้ไขอย่างถูกวิธี

    กิจกรรมพัฒนาที่ 5 การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยโรงเรียน

    1. นักเรียนได้รับความรู้ด้านสุขนิสัยและสุขอนามัย
    2. นักเรียนมีสุขนิสัยและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
    3. นักเรียนสามารถปฏิบัติตน ตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติ และดูแลสุขอนามัยของตนเองได้

    กิจกรรมพัฒนาที่ 6 การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

    1. นักเรียนทุกคนมีระเบียบในการจัดห้องเรียนที่ดี
    2. นักเรียนมีวินัยในการอยู่ร่วมกันภายในห้องเรียน
    3. สถานศึกษามีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้

    กิจกรรมพัฒนาองค์ประกอบที่ 7 การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

    1. นักเรียนได้รับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดยยาเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาลตามหลักการแพทย์รวมทั้งการประสานส่งต่อที่ถูกต้อง
    2. นักเรียนในสถานศึกษามีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง
    3. นักเรียนในสถานศึกษามีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรคและนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้

    กิจกรรมพัฒนาที่ 8 การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    1. ผู้เรียนได้ความรู้จากประสบการณ์ตรงที่สอดคล้องกับชีวิตจริง
    2. ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม
    3. ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิด และแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
    4. ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลทดลองหาความรู้ สร้างความรู้และทำกิจกรรมตามความสามารถ ความถนัดความสนใจ และทำอย่างมีความสุขได้ด้วยตนเอง
    5. ผู้เรียนได้รับการปลูกฝัง คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมการบริโภคที่ดีอย่างต่อเนื่อง
    6. ผู้เรียนได้ฝึกทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต เช่นทักษะการทำงาน การอยู่ร่วมกับผู้อื่น การตัดสินใจ ความมีประชาธิปไตย ความรับผิดชอบ
    7. สถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้และเผยแพร่ความรู้ต่อเครือข่ายและผู้ที่เกี่ยวข้อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร Thai School Lunch Program

    วันที่ 2 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ฝึกการจัดเมนูอาหารโดยการใช้โปรแกรม Thai School Lunch

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถใช้โปรแกรม Thai School Lunch จัดอาหารกลางวันให้กับนักเรียนโรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

     

    2 2

    2. จัดป้ายนิเทศเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขนิสัยและการส่งเสริมอนามัยนักเรียน

    วันที่ 1 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครูประจำชั้นจะทำหน้าที่บูรณการเข้าไปในวิชาสุขศึกษาเช่นการล้างมือ การแปรงฟัน การรับประทานอาหารและการตรวจสอบสุขภาพ เพื่อส่งเสริมสุขนิสัยเบื้องต้นที่นักเรียนทุกคน ควรได้รับการปลูกฝัง และนักเรียนฝึกปฏิบัติเป็นประจำ โดยครูประจำชั้นเป็นผู้ติดตามและประเมินการปฏิบัติของนักเรียน มีระบบเพื่อนช่วยเพื่อนและมีการพัฒนาเครื่องม่ือเพื่อบันทึกการปฏิบัติของนักเรียน เช่น แบบบันทึกการแปรงฟัน แบบบันทึกการล้างมือ แบบบันทึกการรับประทานอาหาร แบบบันทึกการตรวจสุขภาพและข้อกำหนดหรือข้อปฏิบัติตนในการรับประทานอาหาร

     

    765 765

    3. ชั่งนำ้หนัก - วัดส่วนสูง

    วันที่ 1 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ครูประจำชั้นชั่งนำ้หนักและวัดส่วนสูงนักเรียนทุกคน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีข้อมูลน้ำหนัก และส่วนสูงเพื่อใช้ในการประเมินภาวะโภชนาการโดยใช้โปรแกรม INMU THAIGROWTH

     

    765 765

    4. ประเมินผลภาวะโภชนาการ

    วันที่ 6 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นำข้อมูลน้ำหนักและส่วนสูงของนักเรียนทุกคนจากกิจกรรมชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงมาประเมินผลภาวะโภชนาการโดยโปรแกรมประเมินภาวะโภชนการ
    2. นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินผลภาวะโภชนาการที่ได้มาสรุปเพื่อคัดกรองนักเรียนตามภาวะโภชนาการ
    3. รายงานผลการประเมินภาวะโภชนาการให้ผู้บริหารได้รับทราบ
    4. ส่งต่อนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาเพื่อดำเนินการส่งเสริมและแก้ไข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นักเรียนทุกคนได้รับการประเมินภาวะโภชนาการ 2. นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาได้รับการส่งเสริมและแก้ไข 3.โรงเรียนมีข้อมูลภาวะโภชนาการของนักเรียนที่เชื่อถือได้

     

    702 670

    5. กิจกรรมโครงการ The best clean classroom

    วันที่ 1 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. แจ้งประสานงานกับหัวหน้าศูนย์ฯแต่ละศูนย์ฯ ทราบเกี่ยวกับขั้นตอนการทำงาน
    2. ครูประจำชั้นแจ้งรายละเอียดให้กับนักเรียนทราบในการทำความสะอาดบริเวณห้องเรียน โรงเรียนและรอบๆโรงเรียน
    3. แจ้งเอกสารการประเมินให้กับหัวหน้าศูนย์ฯนำไปเผยแพร่ให้กับครูประจำชั้นและแม่บ้าน โดยมีผู้รับผิดชอบ คือ หัวหน้าศูนย์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. โรงเรียนมีความสะอาดมากขึ้น
    2. นักเรียนรู้จักการรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมและการดูแลรักษาความสะอาดของห้องเรียน
    3. นักเรียนรู้จักการใช้ห้องนำ้ที่ถูกสุขลักษณะ

     

    765 733

    6. เปิดบัญชีโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 15 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เปิดบัญชีธนาคารกรุงไทย เพื่อรับโอนเงินในโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโครงการเด็กไทยแก้มใส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีบัญชีธนาคารกรุงไทย เพื่อรับโอนเงินในโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโครงการเด็กไทยแก้มใสสำหรับใช้ในการดำเนินกิจกรรมทั้ง 8 แนวทาง

     

    0 2

    7. ฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์

    วันที่ 1 กันยายน 2559 เวลา 16:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดการอบรมครูและบุคลากรทุกคน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับความรู้ความเข้าใจในข้อปฏิบัติของสหกรณ์ภายในสถานศึกษาเบื้องต้น เพื่อนำไปบูรณาการให้ความรู้กับนักเรียนในการจัดทำสหกรณ์นักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้รับความออนุเคราาะห์วิทยาการในการให้ความรู้จากสำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรปราการ

     

    68 70

    8. เรียนรู้แบบบูรณาการผ่านกิจกรรมโครงงานเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 19 ตุลาคม 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. โรงเรียนจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางการพัฒนาทั้ง 8 แนวทางของศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
    2. จัดกิจกรรมให้นักเรียนลงมือปฏิบัติเรียนรู้ในสิ่งที่นักเรียนสนใจและถนัดโดยเนื้อการเรียนสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาทั้ง 8 แนวทางของศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
    3. จัดแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าและนำกลับมาพัฒนาทักษะการใช้ชีวิตประจำวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนค้นคว้ารวบรวมข้อมูลทดลองหาความรู้และสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเองจากการทัศนศึกษาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อส่งเสริมทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นและฝึกทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต

     

    766 733

    9. การปฐมพยาบาลเบื้องต้น

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดหายาสามัญประจำบ้านให้กับโรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษาฝ่ายประถม ฝ่ายอนุบาล และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแพรกษา
    2. มียาเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่ได้มาตรฐานตามกระทรวงสาธารณสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้มารับบริการได้รับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นโดยมียาเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
    2. โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษาฝ่ายประถม ฝ่ายอนุบาล และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแพรกษามียาเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่ได้มาตรฐานตามกระทรวงสาธารณสุข

     

    775 727

    10. การเกษตรในโรงเรียน(เกษตรน้อยในโรงเรียนระดับประถมศึกษา)

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับปลูกผัก ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร (การปลูกผักแต่ละชนิด) 2.1  ข้อมูลของผักแต่ละชนิด / วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูก 2.2  วิธีการปลูกผักแต่ละชนิด / การดูแลรักษา ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.3  เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก 3.2  เพาะต้นกล้าผักและปลูกผักตามสถานที่จัดเตรียมไว้ ดังนี้       กิจกรรมผักไร้ดิน  สถานที่ปลูกคือ โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา ฝ่ายประถม ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ เช่น กรีนโอ๊ก (Green Oak)  เรดโอ๊ก (Red Oak)  กรีน คอรัล (Green  Coral)  เรด คอรัล (Red Coral)  นอกจากนี้ที่ฝ่ายประถมจะมีการปลูกผักลงในภาชนะที่เหลือใช้และปลูกผักในบริเวณข้างกำแพงโรงเรียนเป็นพื้นดินบางส่วน เช่น  แตงกวาบวบเหลี่ยม ถั่วฝักยาว ฟักทอง ต้นโหระพา  ต้นกะเพรา  พริก  คื่นช่าย  วอเตอร์ เครส  รวมทั้งการเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐาน ระยะที่ 4 การดูแลและการเก็บเกี่ยวผลผลิต 4.1  ดูแลการเจริญเติบโต การรดน้ำ  ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดศัตรูพืช 4.2  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งผลผลิตที่ได้จะถูกจำหน่ายให้โรงครัวของโรงเรียนเพื่อเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ถ้ามีผลผลิตเหลือจะจำหน่ายให้กับผู้ปกครองต่อไป ระยะที่  5 งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
    สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร (การปลูกผัก) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผักที่ตนเองรับผิดชอบ รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและที่สำคัญอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่รับประทานผัก เริ่มรับประทานผักได้บ้างเพราะเป็นสิ่งที่ตนเองปลูก  ครูและผู้ปกครองมีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับผักชนิดต่างๆ นำมาทดลองปลูก เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง  นอกจากนี้มีผู้ปกครองนำความรู้จากการปลูกผักนำมาทำที่บ้านและแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจำหน่ายเป็นการหารายได้เสริม 

     

    650 650

    11. ถอนเงินออกจากบัญชีโครงการเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 6 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    3 3

    12. เกษตรน้อยในโรงเรียน (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ เอื้ออาทร 2)

    วันที่ 8 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับปลูกผัก ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร (การปลูกผักแต่ละชนิด) 2.1  ข้อมูลของผักแต่ละชนิด / วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูก 2.2  วิธีการปลูกผักแต่ละชนิด / การดูแลรักษา ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.3  เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก 3.2  เพาะต้นกล้าผักและปลูกผักตามสถานที่จัดเตรียมไว้ ดังนี้ กิจกรรมกำแพงผัก  สถานที่ปลูกคือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแพรกษา เอื้ออาทร 2  ผักที่ปลูก มี ผักกวางตุ้ง  คะน้า  ผักชี  ต้นโหระพา  ต้นกะเพรา  พริก  บวบเหลี่ยม มะเขือเทศ ระยะที่ 4 การดูแลและการเก็บเกี่ยวผลผลิต 4.1  ดูแลการเจริญเติบโต การรดน้ำ  ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดศัตรูพืช 4.2  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งผลผลิตที่ได้จะถูกจำหน่ายให้โรงครัวของโรงเรียนเพื่อเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ถ้ามีผลผลิตเหลือจะจำหน่ายให้กับผู้ปกครองต่อไป ระยะที่  5 งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
    สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร (การปลูกผัก) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผักที่ตนเองรับผิดชอบ รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและที่สำคัญอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่รับประทานผัก เริ่มรับประทานผักได้บ้างเพราะเป็นสิ่งที่ตนเองปลูก  ครูและผู้ปกครองมีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับผักชนิดต่างๆ นำมาทดลองปลูก เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง  นอกจากนี้มีผู้ปกครองนำความรู้จากการปลูกผักนำมาทำที่บ้านและแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจำหน่ายเป็นการหารายได้เสริม 

     

    33 33

    13. การจัดทำรายการอาหารหมุนเวียน

    วันที่ 13 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายการอาหารหมุนเวียน 1 เดือน โดยใช้โปรแกรม Thai Sdchool Lunch  ในการจัดทำรายการอาหารทุกวันที่ 1 ของทุกเดือน  เพื่อแจ้งให้นักเรียนและผู้ปกครองทราบถึงสารอาหารที่ได้รับในแต่ละมื้อ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีรายการอาหารล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือนเพื่อแจ้งให้ผู้ปกครองทราบ

     

    1,394 1,394

    14. กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิต

    วันที่ 14 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดป้ายนิเทศให้ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพ
    2. คัดกรองและตรวจสุขภาพประจำปี
    3. จัดกิจกรรมออกกำลังกายตอนเช้า

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้รับความรู้ด้านสุขภาพอย่างทั่วถึง
    2. นักเรียนร้อยละ 90 ได้รับบริการสุขภาพอย่างทั่วถึง
    3. นักเรียนร้อยละ 90 มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง

     

    765 747

    15. นักสหกรณ์ตัวน้อย

    วันที่ 17 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. การให้ความรู้แก่ครูในเรื่องสหกรณ์เพื่อที่ครูนำความรู้ความเข้าใจลงสู่นักเรียน
    2. การจัดการเรียนรู้เนื่องสหกรณ์บูรณาเข้าสู่บทเรียนในรายวิชาคณิตศาตร์ สังคมศึกษา ภาษาไทย
    3. การฝึกปฏิบัติการจัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายโดยให้นักเรียนลงมือปฏิบัติโดยมีครูประจำชั้นเป็นผู้ให้คำ แนะนำและช่วยตรวจสอบความถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องตัวเลขผ่านกิจกรรมการบันทึกบัญชีสหกรณ์ห้องเรียน
    2. การเรียนรู้บูรณาการผ่านรายวิชาต่างๆโดยมีหลักสูตรสหกรณ์ เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนสำหรับระดับอนุบาล เรียนรู้ผ่านกิจกรรม
    3. นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

     

    765 765

    16. การเกษตรในโรงเรียน (เกษตรกรน้อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ เอื้ออาทร 14)

    วันที่ 20 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับปลูกผัก ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร (การปลูกผักแต่ละชนิด) 2.1  ข้อมูลของผักแต่ละชนิด / วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูก 2.2  วิธีการปลูกผักแต่ละชนิด / การดูแลรักษา ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.3  เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก 3.2  เพาะต้นกล้าผักและปลูกผักตามสถานที่จัดเตรียมไว้ ดังนี้       กิจกรรมปลูกผักสวนครัว  สถานที่ปลูกคือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแพรกษา เอื้ออาทร 14  ปลูกประเภทผักสวนครัวทั่วไป เช่น  ตะไคร้  ผักกวางตุ้ง ผักบุ้ง ฟักเขียว
    ระยะที่ 4 การดูแลและการเก็บเกี่ยวผลผลิต 4.1  ดูแลการเจริญเติบโต การรดน้ำ  ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดศัตรูพืช 4.2  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งผลผลิตที่ได้จะถูกจำหน่ายให้โรงครัวของโรงเรียนเพื่อเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ถ้ามีผลผลิตเหลือจะจำหน่ายให้กับผู้ปกครองต่อไป ระยะที่  5 งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
    สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.


    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร (การปลูกผัก) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผักที่ตนเองรับผิดชอบ รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและที่สำคัญอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่รับประทานผัก เริ่มรับประทานผักได้บ้างเพราะเป็นสิ่งที่ตนเองปลูก  ครูและผู้ปกครองมีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับผักชนิดต่างๆ นำมาทดลองปลูก เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง  นอกจากนี้มีผู้ปกครองนำความรู้จากการปลูกผักนำมาทำที่บ้านและแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจำหน่ายเป็นการหารายได้เสริม 

     

    42 42

    17. จัดกิจกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยปราชญ์ชาวบ้าน

    วันที่ 23 ธันวาคม 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เครือข่ายผู้ปกครองมาให้ความรู้ในด้านการเกษตรในโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้รับความรู้ด้านเกษตรโดยตรงจากผู้เชี่ยวชาญที่เป็นบุคคลในท้องถิ่น

     

    1,463 1,398

    18. ขอเชิญประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำรายงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2

    วันที่ 28 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำรายงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถดำเนินงานเพื่อจัดทำรายงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2

     

    4 4

    19. เหงือกสะอาด ฟันแข็งแรง

    วันที่ 1 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดป้ายนิเทศเกี่ยวกับสุขภาพปากและฟัน
    2. แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
    3. ได้รับความอนุเคราะห์จากศูนย์สุขภาพชุมชนมังกรทองในการเคลือบฟลูออไรด์และเคลือบหลุมร่องฟัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้รับความรู้ด้านสุขภาพปากและฟันอย่างทั่วถึง
    2. นักเรียนร้อยละ 90 ได้รับการบริการสุขภาพปากและฟันอย่างทั่วถึง

     

    707 707

    20. เกษตรในโรงเรียน (เกษตรน้อยในโรงเรียนระดับอนุบาล GEP)

    วันที่ 9 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับปลูกผัก ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร (การปลูกผักแต่ละชนิด) 2.1  ข้อมูลของผักแต่ละชนิด / วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูก 2.2  วิธีการปลูกผักแต่ละชนิด / การดูแลรักษา ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.3  เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก 3.2  เพาะต้นกล้าผักและปลูกผักตามสถานที่จัดเตรียมไว้ ดังนี้             กิจกรรมปลูกพืชหมุนเวียน สถานที่ปลูกคือ โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา ฝ่ายอนุบาล ซอย 8  เพาะถั่วงอก เพาะต้นอ่อนทานตะวัน
    ระยะที่ 4 การดูแลและการเก็บเกี่ยวผลผลิต 4.1  ดูแลการเจริญเติบโต การรดน้ำ  ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดศัตรูพืช 4.2  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งผลผลิตที่ได้จะถูกจำหน่ายให้โรงครัวของโรงเรียนเพื่อเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ถ้ามีผลผลิตเหลือจะจำหน่ายให้กับผู้ปกครองต่อไป ระยะที่  5 งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
    สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร (การปลูกผัก) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผักที่ตนเองรับผิดชอบ รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและที่สำคัญอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่รับประทานผัก เริ่มรับประทานผักได้บ้างเพราะเป็นสิ่งที่ตนเองปลูก  ครูและผู้ปกครองมีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับผักชนิดต่างๆ นำมาทดลองปลูก เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง  นอกจากนี้มีผู้ปกครองนำความรู้จากการปลูกผักนำมาทำที่บ้านและแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจำหน่ายเป็นการหารายได้เสริม 

     

    158 158

    21. จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยของนักเรียนโดยวิทยากรจากศูนย์ส่งเสริมสุขภาพชุมชนมังกรทอง

    วันที่ 13 มกราคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา  ได้ส่งเสริมพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนในโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาพฤติกรรมการของนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ตามแนวทางที่ปฏิบัติและส่งเสริมสุขนิสัย เช่น  ล้างมือก่อน รับประทานอาหาร  แปรงฟันหลังรับประทานอาหาร เป็นการส่งเสริมและพัฒนานักเรียน ให้มีภาวะโภชนาการดีต่อไป ดังนั้นนักเรียนจึงสามารถนำทักษะที่ไปใช้ในชีวิตประจำวันต่อไป
    ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาสื่อวัสดุอุปกรณ์ ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับสุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ 2.1  การล้างมือ 7 ขั้นตอน
    2.2  การดูแลร่างกายและของใช้ให้สะอาด 2.3  รักษาดูแลฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันทุกวัน 2.4  กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และสีไม่ฉูดฉาด 2.5 งดบุหรี่ สุรา สารเสพติด 2.6 สร้างสัมพันธ์ในครอบครัว 2.7 ป้องกันอุบัติเหตุด้วยความไม่ประมาท 2.8 ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและตรวจสุขภาพ 2.9 ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ 2.10 มีสำนึกต่อส่วนรวมร่วมสร้างสังคม ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.1 ครูประจำชั้นหรือครูสอนวิชาสุขศึกษาให้ความรู้หรือสอดแทรกในเนื้อหาที่สอน 3.2  ฝึกปฏิบัติเป็นประจำ โดยครูประจำชั้นเป็นผู้ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติของนักเรียน     
    ระยะที่  4  งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
    สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการเข้าร่วมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขนิสัย ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น  เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองในด้านต่างๆ  และมีการพัฒนาเครื่องมือเพื่อช่วยให้นักเรียนในการพัฒนาตนเอง เช่น แบบประเมินผลการแปรงฟัน ข้อกำหนดหรือข้อปฏิบัติตนในการรับประทานอาหาร

     

    771 765

    22. เครือข่ายผูกพัน สร้างสายใยรักสุขภาพ

    วันที่ 17 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเผยแพร่ความรู้กิจกรรมต่อเครือข่ายผู้ปกครองโรงเรียนแพรกาษวิเทศศึกษาเพื่อสร้างสัมพันธ์และเปิดโอกาสให้เครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสของนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครูนักเรียนและเครือข่ายผู้ปกครองสร้างสรรค์กิจกรรมสารสัมพันธ์โดยใช้กิจกรรมตามโครงการเป็นสื่อกลางในการสร้างสัมพันธ์อันดีงาม

     

    1,402 1,396

    23. ศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบอาหาร

    วันที่ 22 มกราคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พาผู้ประกอบอาหารไปศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาความรู้ด้านการทำอาหารของตนเองอยู่เสมอและพัฒนาศักยภาพด้านอาหารให้ถูกหลักโภชนาการสุขาภิบาลและอาหารปลอดภัย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ประกอบอาหารมีการพัฒนาความรู้ของตนเองอยู่เสมอ

     

    15 15

    24. ตลาดนัดโรงเรียน PWS

    วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้แนวทางการดำเนินงานทั้ง 8 กิจกรรมของโครงการเด็กไทยแก้มใส โดยบูรณาการในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

     

    1,464 1,464

    25. เกษตรในโรงเรียน (เกษตรน้อยในโรงเรียนระดับอนุบาล EP)

    วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับปลูกผัก ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร (การปลูกผักแต่ละชนิด) 2.1  ข้อมูลของผักแต่ละชนิด / วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูก 2.2  วิธีการปลูกผักแต่ละชนิด / การดูแลรักษา ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.3  เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก 3.2  เพาะต้นกล้าผักและปลูกผักตามสถานที่จัดเตรียมไว้ ดังนี้           กิจกรรมสวน Hope land  สถานที่ปลูกคือ โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา ฝ่ายอนุบาล เอื้ออาทร 1  ปลูกผักสวนครัว ต้นโหระพา  ต้นกะเพรา  พริก  ผักชี ต้นใบเตย มะนาว  ต้นอ่อนผักบุ้ง ระยะที่ 4 การดูแลและการเก็บเกี่ยวผลผลิต 4.1  ดูแลการเจริญเติบโต การรดน้ำ  ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดศัตรูพืช 4.2  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งผลผลิตที่ได้จะถูกจำหน่ายให้โรงครัวของโรงเรียนเพื่อเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ถ้ามีผลผลิตเหลือจะจำหน่ายให้กับผู้ปกครองต่อไป ระยะที่  5 งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
    สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร (การปลูกผัก) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผักที่ตนเองรับผิดชอบ รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและที่สำคัญอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่รับประทานผัก เริ่มรับประทานผักได้บ้างเพราะเป็นสิ่งที่ตนเองปลูก  ครูและผู้ปกครองมีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับผักชนิดต่างๆ นำมาทดลองปลูก เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง  นอกจากนี้มีผู้ปกครองนำความรู้จากการปลูกผักนำมาทำที่บ้านและแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจำหน่ายเป็นการหารายได้เสริม 

     

    375 375

    26. การเกษตรในโรงเรียน (เกษตรน้อยในโรงเรียนระดับอนุบาล MEP)

    วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับปลูกผัก ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร (การปลูกผักแต่ละชนิด) 2.1  ข้อมูลของผักแต่ละชนิด / วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูก 2.2  วิธีการปลูกผักแต่ละชนิด / การดูแลรักษา ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.3  เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก 3.2  เพาะต้นกล้าผักและปลูกผักตามสถานที่จัดเตรียมไว้ ดังนี้ กิจกรรมปลูกพืชผักสวนผสม สถานที่ปลูกคือ โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา ฝ่ายอนุบาล เอื้ออาทร 3 ปลูกผักกวางตุ้ง ผักคะน้า มะเขือเทศ กล้วย เพาะถั่วงอก  ผักชี
    ระยะที่ 4 การดูแลและการเก็บเกี่ยวผลผลิต 4.1  ดูแลการเจริญเติบโต การรดน้ำ  ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดศัตรูพืช 4.2  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งผลผลิตที่ได้จะถูกจำหน่ายให้โรงครัวของโรงเรียนเพื่อเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ถ้ามีผลผลิตเหลือจะจำหน่ายให้กับผู้ปกครองต่อไป ระยะที่  5 งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
    สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร (การปลูกผัก) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผักที่ตนเองรับผิดชอบ รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและที่สำคัญอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่รับประทานผัก เริ่มรับประทานผักได้บ้างเพราะเป็นสิ่งที่ตนเองปลูก  ครูและผู้ปกครองมีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับผักชนิดต่างๆ นำมาทดลองปลูก เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง  นอกจากนี้มีผู้ปกครองนำความรู้จากการปลูกผักนำมาทำที่บ้านและแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจำหน่ายเป็นการหารายได้เสริม 

     

    181 181

    27. ประเมินความพึงพอใจในอาหารกลางวัน

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดบริการอาหารกลางวันของโรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา เพื่อจะได้ทราบถึงความพึงพอใจที่ผู้ปกครองและนักเรียนมีต่อการจัดบริการอาหารกลางวันของโรงเรียน เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุง พัฒนาและแก้ไขคุณภาพการจัดบริการอาหารกลางวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ทราบถึงความต้องการและความพึงพอใจของผู้ปกครองและนักเรียนต่อการจัดบริการอาหารกลางวันของโรงเรียน

     

    1,394 1,324

    28. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย

    วันที่ 6 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    1 1

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1) เพื่อวางระบบการดำเนินการ การจัดบริการอาหารในสถานศึกษาอย่างมีคุณภาพในด้าน 1.1 พื้นที่ในการประกอบอาหารและรับประทานอาหาร 1.2 อุปกรณ์การครัว 1.3 วัตถุดิบและการประกอบอาหาร - ผู้รับผิดชอบหลัก - แหล่งวัตถุดิบอาหารสด - การกำหนดอาหารและรายการอาหาร - การประกอบอาหารที่มีคุณค่าสะอาดปลอดภัย - บุคคลที่เกี่ยวข้อง
    ตัวชี้วัด : 1. มีการจัดทำรายงานอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ(โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch) ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตร/ปศุสัตว์/ประมงของโรงเรียนและหรือชุมชน 2. มีการปรุง ประกอบอาหารถูกหลักโภชนา การสุขาภิบาลและอาหารปลอดภัย 3. มีการตักอาหารให้นักเรียนตามปริมาณและสัดส่วนของธงโภชนาการที่เหมาะสมกับวัย 4. อาหารกลางวันของนักเรียนมีปริมาณพลังงานและสารอาหารครบถ้วนหรืออย่างน้อยร้อยละ 70 ของความต้องการ

    มีการดำเนินงานตามตัวชี้วัดครบทุกตัวชี้วัด

    2 2) เพื่อคัดกรองนักเรียนตามภาวะโภชนาการออกเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มปัญหา โดยการวางแผนกำหนดอาหารและกิจกรรมส่งเสริมสำหรับกลุ่มปกติ ป้องกันสำหรับกลุ่มเสี่ยง การแก้ไขสำหรับกลุ่มปัญหา
    ตัวชี้วัด : 1. มีฐานข้อมูลน้ำหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางกายและภาวะสุขภาพของนักเรียน 2. มีการแปลผลภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกายและภาวะสุขภาพที่ถูกต้องตามเกณฑ์ชี้วัดและมีการนำข้อมูลไปใช้ในการจัดโครงการ/กิจกรรมแก้ไขปัญหาโดยครอบครัวมีส่วนร่วม 3. เด็กกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามทุกเดือน 4. เด็กสามารถประเมินภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกายและสุขภาพได้ด้วยตนเอง

    มีการดำเนินงานตามตัวชี้วัดครบทุกตัวชี้วัด

    3 3) เพื่อพัฒนานักเรียนให้เข้าสู่ค่าเป้าหมายทุกด้านของโครงการ
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนเจริญเติบโตสมวัยโดยมี ภาวะเริ่มอ้วนไม่เกิน 5.11 % ภาวะอ้วนไม่เกิน 7.25% ภาวะค่อนข้างผอม ไม่เกิน 7.25 % ภาวะผอมไม่เกิน 4.45% ภาวะค่อนข้างเตี้ยไม่เกิน 2.80 % ภาวะเตี้ยไม่เกิน 1.48% นักเรียนได้กินผัก – ผลไม้ หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวันเฉลี่ย ผักวันละประมาณ50 – 100กรัมอนุบาล 2 ช้อน ( 20 กรัม )ประถม4ช้อน ( 40กรัม ) ผลไม้ ( อนุบาล 0.5 ส่วน ประถม 1 ส่วน ) ต่อมื้อต่อคน 2. มีแผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการด้านเกษตรอาหาร โภชนาการและสุขภาพทั้งในและนอกห้องเรียนในทุกช่วงชั้น 3. มีการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการด้านเกษตร โภชนาการและสุขภาพ อย่างน้อย 40 ชั่วโมงต่อปี 4. มีการประเมินความรู้และทักษะนักเรียนด้านเกษตรโภชนาการและสุขภาพปีละ 2 ครั้ง 5. มีสื่อ นวัตกรรม ชุดความรู้และฐานการเรียนรู้ของโรงเรียนและหรือชุมชนด้านเกษตร โภชนาการ และสุขภาพที่เกิดจากผลงานของครู นักเรียน ครอบครัวและชุมชน

    มีการประเมินภาวะโภชนาการและบูรณาการการดำเนินกิจกรรมศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับอนุบาลและบูรณาการจัดการเรียนรู้ในระดับประถมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู่้

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1) เพื่อวางระบบการดำเนินการ การจัดบริการอาหารในสถานศึกษาอย่างมีคุณภาพในด้าน

    1.1 พื้นที่ในการประกอบอาหารและรับประทานอาหาร
    1.2 อุปกรณ์การครัว
    1.3 วัตถุดิบและการประกอบอาหาร

    • ผู้รับผิดชอบหลัก
    • แหล่งวัตถุดิบอาหารสด
    • การกำหนดอาหารและรายการอาหาร
    • การประกอบอาหารที่มีคุณค่าสะอาดปลอดภัย
      • บุคคลที่เกี่ยวข้อง (2) 2) เพื่อคัดกรองนักเรียนตามภาวะโภชนาการออกเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มปัญหา โดยการวางแผนกำหนดอาหารและกิจกรรมส่งเสริมสำหรับกลุ่มปกติ ป้องกันสำหรับกลุ่มเสี่ยง การแก้ไขสำหรับกลุ่มปัญหา (3) 3) เพื่อพัฒนานักเรียนให้เข้าสู่ค่าเป้าหมายทุกด้านของโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา

    รหัสโครงการ ศรร. 1223-043 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.12 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
    1. กำแพงผัก วอเตอร์เครส

    นำวัสดุเหลือใช้มาดัดแปลงให้เป็นอุปกรณ์การปลูกผักวอเตอร์เครส โดยนำมาติดตั้งบริเวณริมรั้วปูนเพื่อให้เกิดความสวยงามและมีพื้นที่ใช้สอยสำหรับปลูกผักชนิดต่างๆได้อย่างเพียงพอ ซึ่งเป็นนวัตกรรมใหม่ในการบริหารจัดการพื้นที่การเกษตรที่มีอย่างจำกัดเพื่อให้สอดคล้องการแนวการจัดกิจกรรมของโรงเรียน ตามconcept "เกษตรน้อยในป่าปูน"

    ขยายพื้นที่ในการปลูกผักวอเตอร์เครสและผักสวนครัวในรูปแบบกำแพงผักรอบโรงเรียน เพื่อเพิ่มพื้นที่การเกษตรและปรับทัศนียภาพของโรงเรียนให้สวยงามด้วยผักวอเตอร์เครสและผักสวนครัวที่นักเรียนปลูก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    สหกรณ์ห้องเรียน

    เป็นการดำเนินกิจกรรมสหกรณ์ในรูปแบบกลุ่มย่อย โดยสมาชิกและคณะกรรมการจะเป็นนักเรียนของแต่ละห้องเรียนโดยมีครูประจำชั้นเป็นที่ปรึกษา ซึ่งกระบวนการระดมทุน การประชุม การปันผลโดยได้จากการขายผลผลิตทางการเกษตรและจะดำเนินการโดยนักเรียนของแต่ละห้องเรียน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    การจัดพื้นที่สลิมโซน

    การจัดพื้นที่ส่งเสริมภาวะโภชนาการนักเรียนในกลุ่มทุพโภชนาการ เพื่อกำหนดสัดส่วนปริมาณอาหารที่เหมาะสมต่อภาวะโภชนาการของนักเรียนในรูปแบบการจัดพื้นที่โต๊ะอาหารกลุ่ม Slim Zone

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา จังหวัด สมุทรปราการ

    รหัสโครงการ ศรร. 1223-043

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอรัญญา พิสุทธากลุ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด