ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

assignment
บันทึกกิจกรรม
จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย 6 เมษายน 2560
6
เมษายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย อุบลรัตน์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย
ประเมินความพึงพอใจในอาหารกลางวัน28 กุมภาพันธ์ 2560
28
กุมภาพันธ์ 2560รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดบริการอาหารกลางวันของโรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา เพื่อจะได้ทราบถึงความพึงพอใจที่ผู้ปกครองและนักเรียนมีต่อการจัดบริการอาหารกลางวันของโรงเรียน เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุง พัฒนาและแก้ไขคุณภาพการจัดบริการอาหารกลางวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ทราบถึงความต้องการและความพึงพอใจของผู้ปกครองและนักเรียนต่อการจัดบริการอาหารกลางวันของโรงเรียน

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1,324 คน จากที่ตั้งไว้ 1,394 คน
ประกอบด้วย
การเกษตรในโรงเรียน (เกษตรน้อยในโรงเรียนระดับอนุบาล MEP)3 กุมภาพันธ์ 2560
3
กุมภาพันธ์ 2560รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับปลูกผัก ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร (การปลูกผักแต่ละชนิด) 2.1  ข้อมูลของผักแต่ละชนิด / วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูก 2.2  วิธีการปลูกผักแต่ละชนิด / การดูแลรักษา ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.3  เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก 3.2  เพาะต้นกล้าผักและปลูกผักตามสถานที่จัดเตรียมไว้ ดังนี้ กิจกรรมปลูกพืชผักสวนผสม สถานที่ปลูกคือ โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา ฝ่ายอนุบาล เอื้ออาทร 3 ปลูกผักกวางตุ้ง ผักคะน้า มะเขือเทศ กล้วย เพาะถั่วงอก  ผักชี
ระยะที่ 4 การดูแลและการเก็บเกี่ยวผลผลิต 4.1  ดูแลการเจริญเติบโต การรดน้ำ  ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดศัตรูพืช 4.2  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งผลผลิตที่ได้จะถูกจำหน่ายให้โรงครัวของโรงเรียนเพื่อเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ถ้ามีผลผลิตเหลือจะจำหน่ายให้กับผู้ปกครองต่อไป ระยะที่  5 งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร (การปลูกผัก) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผักที่ตนเองรับผิดชอบ รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและที่สำคัญอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่รับประทานผัก เริ่มรับประทานผักได้บ้างเพราะเป็นสิ่งที่ตนเองปลูก  ครูและผู้ปกครองมีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับผักชนิดต่างๆ นำมาทดลองปลูก เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง  นอกจากนี้มีผู้ปกครองนำความรู้จากการปลูกผักนำมาทำที่บ้านและแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจำหน่ายเป็นการหารายได้เสริม 

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 181 คน จากที่ตั้งไว้ 181 คน
ประกอบด้วย
เกษตรในโรงเรียน (เกษตรน้อยในโรงเรียนระดับอนุบาล EP)3 กุมภาพันธ์ 2560
3
กุมภาพันธ์ 2560รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับปลูกผัก ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร (การปลูกผักแต่ละชนิด) 2.1  ข้อมูลของผักแต่ละชนิด / วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูก 2.2  วิธีการปลูกผักแต่ละชนิด / การดูแลรักษา ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.3  เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก 3.2  เพาะต้นกล้าผักและปลูกผักตามสถานที่จัดเตรียมไว้ ดังนี้           กิจกรรมสวน Hope land  สถานที่ปลูกคือ โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา ฝ่ายอนุบาล เอื้ออาทร 1  ปลูกผักสวนครัว ต้นโหระพา  ต้นกะเพรา  พริก  ผักชี ต้นใบเตย มะนาว  ต้นอ่อนผักบุ้ง ระยะที่ 4 การดูแลและการเก็บเกี่ยวผลผลิต 4.1  ดูแลการเจริญเติบโต การรดน้ำ  ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดศัตรูพืช 4.2  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งผลผลิตที่ได้จะถูกจำหน่ายให้โรงครัวของโรงเรียนเพื่อเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ถ้ามีผลผลิตเหลือจะจำหน่ายให้กับผู้ปกครองต่อไป ระยะที่  5 งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร (การปลูกผัก) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผักที่ตนเองรับผิดชอบ รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและที่สำคัญอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่รับประทานผัก เริ่มรับประทานผักได้บ้างเพราะเป็นสิ่งที่ตนเองปลูก  ครูและผู้ปกครองมีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับผักชนิดต่างๆ นำมาทดลองปลูก เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง  นอกจากนี้มีผู้ปกครองนำความรู้จากการปลูกผักนำมาทำที่บ้านและแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจำหน่ายเป็นการหารายได้เสริม 

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 375 คน จากที่ตั้งไว้ 375 คน
ประกอบด้วย
ตลาดนัดโรงเรียน PWS2 กุมภาพันธ์ 2560
2
กุมภาพันธ์ 2560รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้แนวทางการดำเนินงานทั้ง 8 กิจกรรมของโครงการเด็กไทยแก้มใส โดยบูรณาการในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1,464 คน จากที่ตั้งไว้ 1,464 คน
ประกอบด้วย
ศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบอาหาร22 มกราคม 2560
22
มกราคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พาผู้ประกอบอาหารไปศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาความรู้ด้านการทำอาหารของตนเองอยู่เสมอและพัฒนาศักยภาพด้านอาหารให้ถูกหลักโภชนาการสุขาภิบาลและอาหารปลอดภัย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้ประกอบอาหารมีการพัฒนาความรู้ของตนเองอยู่เสมอ

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย
เครือข่ายผูกพัน สร้างสายใยรักสุขภาพ17 มกราคม 2560
17
มกราคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมเผยแพร่ความรู้กิจกรรมต่อเครือข่ายผู้ปกครองโรงเรียนแพรกาษวิเทศศึกษาเพื่อสร้างสัมพันธ์และเปิดโอกาสให้เครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสของนักเรียน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ครูนักเรียนและเครือข่ายผู้ปกครองสร้างสรรค์กิจกรรมสารสัมพันธ์โดยใช้กิจกรรมตามโครงการเป็นสื่อกลางในการสร้างสัมพันธ์อันดีงาม

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1,396 คน จากที่ตั้งไว้ 1,402 คน
ประกอบด้วย
จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยของนักเรียนโดยวิทยากรจากศูนย์ส่งเสริมสุขภาพชุมชนมังกรทอง13 มกราคม 2560
13
มกราคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา  ได้ส่งเสริมพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนในโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาพฤติกรรมการของนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ตามแนวทางที่ปฏิบัติและส่งเสริมสุขนิสัย เช่น  ล้างมือก่อน รับประทานอาหาร  แปรงฟันหลังรับประทานอาหาร เป็นการส่งเสริมและพัฒนานักเรียน ให้มีภาวะโภชนาการดีต่อไป ดังนั้นนักเรียนจึงสามารถนำทักษะที่ไปใช้ในชีวิตประจำวันต่อไป
ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาสื่อวัสดุอุปกรณ์ ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับสุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ 2.1  การล้างมือ 7 ขั้นตอน
2.2  การดูแลร่างกายและของใช้ให้สะอาด 2.3  รักษาดูแลฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันทุกวัน 2.4  กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และสีไม่ฉูดฉาด 2.5 งดบุหรี่ สุรา สารเสพติด 2.6 สร้างสัมพันธ์ในครอบครัว 2.7 ป้องกันอุบัติเหตุด้วยความไม่ประมาท 2.8 ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและตรวจสุขภาพ 2.9 ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ 2.10 มีสำนึกต่อส่วนรวมร่วมสร้างสังคม ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.1 ครูประจำชั้นหรือครูสอนวิชาสุขศึกษาให้ความรู้หรือสอดแทรกในเนื้อหาที่สอน 3.2  ฝึกปฏิบัติเป็นประจำ โดยครูประจำชั้นเป็นผู้ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติของนักเรียน     
ระยะที่  4  งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการเข้าร่วมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขนิสัย ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น  เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองในด้านต่างๆ  และมีการพัฒนาเครื่องมือเพื่อช่วยให้นักเรียนในการพัฒนาตนเอง เช่น แบบประเมินผลการแปรงฟัน ข้อกำหนดหรือข้อปฏิบัติตนในการรับประทานอาหาร

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 765 คน จากที่ตั้งไว้ 771 คน
ประกอบด้วย
เกษตรในโรงเรียน (เกษตรน้อยในโรงเรียนระดับอนุบาล GEP)9 มกราคม 2560
9
มกราคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับปลูกผัก ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร (การปลูกผักแต่ละชนิด) 2.1  ข้อมูลของผักแต่ละชนิด / วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูก 2.2  วิธีการปลูกผักแต่ละชนิด / การดูแลรักษา ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.3  เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก 3.2  เพาะต้นกล้าผักและปลูกผักตามสถานที่จัดเตรียมไว้ ดังนี้             กิจกรรมปลูกพืชหมุนเวียน สถานที่ปลูกคือ โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา ฝ่ายอนุบาล ซอย 8  เพาะถั่วงอก เพาะต้นอ่อนทานตะวัน
ระยะที่ 4 การดูแลและการเก็บเกี่ยวผลผลิต 4.1  ดูแลการเจริญเติบโต การรดน้ำ  ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดศัตรูพืช 4.2  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งผลผลิตที่ได้จะถูกจำหน่ายให้โรงครัวของโรงเรียนเพื่อเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ถ้ามีผลผลิตเหลือจะจำหน่ายให้กับผู้ปกครองต่อไป ระยะที่  5 งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร (การปลูกผัก) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผักที่ตนเองรับผิดชอบ รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและที่สำคัญอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่รับประทานผัก เริ่มรับประทานผักได้บ้างเพราะเป็นสิ่งที่ตนเองปลูก  ครูและผู้ปกครองมีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับผักชนิดต่างๆ นำมาทดลองปลูก เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง  นอกจากนี้มีผู้ปกครองนำความรู้จากการปลูกผักนำมาทำที่บ้านและแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจำหน่ายเป็นการหารายได้เสริม 

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 158 คน จากที่ตั้งไว้ 158 คน
ประกอบด้วย
เหงือกสะอาด ฟันแข็งแรง1 มกราคม 2560
1
มกราคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. จัดป้ายนิเทศเกี่ยวกับสุขภาพปากและฟัน
  2. แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
  3. ได้รับความอนุเคราะห์จากศูนย์สุขภาพชุมชนมังกรทองในการเคลือบฟลูออไรด์และเคลือบหลุมร่องฟัน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. นักเรียนได้รับความรู้ด้านสุขภาพปากและฟันอย่างทั่วถึง
  2. นักเรียนร้อยละ 90 ได้รับการบริการสุขภาพปากและฟันอย่างทั่วถึง
circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 707 คน จากที่ตั้งไว้ 707 คน
ประกอบด้วย
ขอเชิญประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำรายงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 228 ธันวาคม 2559
28
ธันวาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำรายงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สามารถดำเนินงานเพื่อจัดทำรายงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 4 คน จากที่ตั้งไว้ 4 คน
ประกอบด้วย
จัดกิจกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยปราชญ์ชาวบ้าน23 ธันวาคม 2559
23
ธันวาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เครือข่ายผู้ปกครองมาให้ความรู้ในด้านการเกษตรในโรงเรียน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นักเรียนได้รับความรู้ด้านเกษตรโดยตรงจากผู้เชี่ยวชาญที่เป็นบุคคลในท้องถิ่น

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1,398 คน จากที่ตั้งไว้ 1,463 คน
ประกอบด้วย
การเกษตรในโรงเรียน (เกษตรกรน้อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ เอื้ออาทร 14)20 ธันวาคม 2559
20
ธันวาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับปลูกผัก ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร (การปลูกผักแต่ละชนิด) 2.1  ข้อมูลของผักแต่ละชนิด / วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูก 2.2  วิธีการปลูกผักแต่ละชนิด / การดูแลรักษา ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.3  เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก 3.2  เพาะต้นกล้าผักและปลูกผักตามสถานที่จัดเตรียมไว้ ดังนี้       กิจกรรมปลูกผักสวนครัว  สถานที่ปลูกคือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแพรกษา เอื้ออาทร 14  ปลูกประเภทผักสวนครัวทั่วไป เช่น  ตะไคร้  ผักกวางตุ้ง ผักบุ้ง ฟักเขียว
ระยะที่ 4 การดูแลและการเก็บเกี่ยวผลผลิต 4.1  ดูแลการเจริญเติบโต การรดน้ำ  ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดศัตรูพืช 4.2  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งผลผลิตที่ได้จะถูกจำหน่ายให้โรงครัวของโรงเรียนเพื่อเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ถ้ามีผลผลิตเหลือจะจำหน่ายให้กับผู้ปกครองต่อไป ระยะที่  5 งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.


circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร (การปลูกผัก) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผักที่ตนเองรับผิดชอบ รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและที่สำคัญอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่รับประทานผัก เริ่มรับประทานผักได้บ้างเพราะเป็นสิ่งที่ตนเองปลูก  ครูและผู้ปกครองมีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับผักชนิดต่างๆ นำมาทดลองปลูก เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง  นอกจากนี้มีผู้ปกครองนำความรู้จากการปลูกผักนำมาทำที่บ้านและแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจำหน่ายเป็นการหารายได้เสริม 

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 42 คน จากที่ตั้งไว้ 42 คน
ประกอบด้วย
นักสหกรณ์ตัวน้อย17 ธันวาคม 2559
17
ธันวาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. การให้ความรู้แก่ครูในเรื่องสหกรณ์เพื่อที่ครูนำความรู้ความเข้าใจลงสู่นักเรียน
  2. การจัดการเรียนรู้เนื่องสหกรณ์บูรณาเข้าสู่บทเรียนในรายวิชาคณิตศาตร์ สังคมศึกษา ภาษาไทย
  3. การฝึกปฏิบัติการจัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายโดยให้นักเรียนลงมือปฏิบัติโดยมีครูประจำชั้นเป็นผู้ให้คำ แนะนำและช่วยตรวจสอบความถูกต้อง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องตัวเลขผ่านกิจกรรมการบันทึกบัญชีสหกรณ์ห้องเรียน
  2. การเรียนรู้บูรณาการผ่านรายวิชาต่างๆโดยมีหลักสูตรสหกรณ์ เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนสำหรับระดับอนุบาล เรียนรู้ผ่านกิจกรรม
  3. นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 765 คน จากที่ตั้งไว้ 765 คน
ประกอบด้วย
กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิต14 ธันวาคม 2559
14
ธันวาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. จัดป้ายนิเทศให้ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพ
  2. คัดกรองและตรวจสุขภาพประจำปี
  3. จัดกิจกรรมออกกำลังกายตอนเช้า
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. นักเรียนได้รับความรู้ด้านสุขภาพอย่างทั่วถึง
  2. นักเรียนร้อยละ 90 ได้รับบริการสุขภาพอย่างทั่วถึง
  3. นักเรียนร้อยละ 90 มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 747 คน จากที่ตั้งไว้ 765 คน
ประกอบด้วย
การจัดทำรายการอาหารหมุนเวียน13 ธันวาคม 2559
13
ธันวาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดทำรายการอาหารหมุนเวียน 1 เดือน โดยใช้โปรแกรม Thai Sdchool Lunch  ในการจัดทำรายการอาหารทุกวันที่ 1 ของทุกเดือน  เพื่อแจ้งให้นักเรียนและผู้ปกครองทราบถึงสารอาหารที่ได้รับในแต่ละมื้อ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีรายการอาหารล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือนเพื่อแจ้งให้ผู้ปกครองทราบ

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1,394 คน จากที่ตั้งไว้ 1,394 คน
ประกอบด้วย
เกษตรน้อยในโรงเรียน (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ เอื้ออาทร 2)8 ธันวาคม 2559
8
ธันวาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับปลูกผัก ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร (การปลูกผักแต่ละชนิด) 2.1  ข้อมูลของผักแต่ละชนิด / วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูก 2.2  วิธีการปลูกผักแต่ละชนิด / การดูแลรักษา ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.3  เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก 3.2  เพาะต้นกล้าผักและปลูกผักตามสถานที่จัดเตรียมไว้ ดังนี้ กิจกรรมกำแพงผัก  สถานที่ปลูกคือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแพรกษา เอื้ออาทร 2  ผักที่ปลูก มี ผักกวางตุ้ง  คะน้า  ผักชี  ต้นโหระพา  ต้นกะเพรา  พริก  บวบเหลี่ยม มะเขือเทศ ระยะที่ 4 การดูแลและการเก็บเกี่ยวผลผลิต 4.1  ดูแลการเจริญเติบโต การรดน้ำ  ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดศัตรูพืช 4.2  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งผลผลิตที่ได้จะถูกจำหน่ายให้โรงครัวของโรงเรียนเพื่อเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ถ้ามีผลผลิตเหลือจะจำหน่ายให้กับผู้ปกครองต่อไป ระยะที่  5 งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร (การปลูกผัก) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผักที่ตนเองรับผิดชอบ รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและที่สำคัญอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่รับประทานผัก เริ่มรับประทานผักได้บ้างเพราะเป็นสิ่งที่ตนเองปลูก  ครูและผู้ปกครองมีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับผักชนิดต่างๆ นำมาทดลองปลูก เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง  นอกจากนี้มีผู้ปกครองนำความรู้จากการปลูกผักนำมาทำที่บ้านและแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจำหน่ายเป็นการหารายได้เสริม 

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 33 คน จากที่ตั้งไว้ 33 คน
ประกอบด้วย
ถอนเงินออกจากบัญชีโครงการเด็กไทยแก้มใส6 ธันวาคม 2559
6
ธันวาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย อุบลรัตน์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 3 คน จากที่ตั้งไว้ 3 คน
ประกอบด้วย
การเกษตรในโรงเรียน(เกษตรน้อยในโรงเรียนระดับประถมศึกษา)3 พฤศจิกายน 2559
3
พฤศจิกายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับปลูกผัก ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร (การปลูกผักแต่ละชนิด) 2.1  ข้อมูลของผักแต่ละชนิด / วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูก 2.2  วิธีการปลูกผักแต่ละชนิด / การดูแลรักษา ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.3  เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก 3.2  เพาะต้นกล้าผักและปลูกผักตามสถานที่จัดเตรียมไว้ ดังนี้       กิจกรรมผักไร้ดิน  สถานที่ปลูกคือ โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา ฝ่ายประถม ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ เช่น กรีนโอ๊ก (Green Oak)  เรดโอ๊ก (Red Oak)  กรีน คอรัล (Green  Coral)  เรด คอรัล (Red Coral)  นอกจากนี้ที่ฝ่ายประถมจะมีการปลูกผักลงในภาชนะที่เหลือใช้และปลูกผักในบริเวณข้างกำแพงโรงเรียนเป็นพื้นดินบางส่วน เช่น  แตงกวาบวบเหลี่ยม ถั่วฝักยาว ฟักทอง ต้นโหระพา  ต้นกะเพรา  พริก  คื่นช่าย  วอเตอร์ เครส  รวมทั้งการเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐาน ระยะที่ 4 การดูแลและการเก็บเกี่ยวผลผลิต 4.1  ดูแลการเจริญเติบโต การรดน้ำ  ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดศัตรูพืช 4.2  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งผลผลิตที่ได้จะถูกจำหน่ายให้โรงครัวของโรงเรียนเพื่อเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ถ้ามีผลผลิตเหลือจะจำหน่ายให้กับผู้ปกครองต่อไป ระยะที่  5 งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร (การปลูกผัก) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผักที่ตนเองรับผิดชอบ รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและที่สำคัญอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่รับประทานผัก เริ่มรับประทานผักได้บ้างเพราะเป็นสิ่งที่ตนเองปลูก  ครูและผู้ปกครองมีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับผักชนิดต่างๆ นำมาทดลองปลูก เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง  นอกจากนี้มีผู้ปกครองนำความรู้จากการปลูกผักนำมาทำที่บ้านและแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจำหน่ายเป็นการหารายได้เสริม 

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 650 คน จากที่ตั้งไว้ 650 คน
ประกอบด้วย
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น3 พฤศจิกายน 2559
3
พฤศจิกายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. จัดหายาสามัญประจำบ้านให้กับโรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษาฝ่ายประถม ฝ่ายอนุบาล และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแพรกษา
  2. มียาเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่ได้มาตรฐานตามกระทรวงสาธารณสุข
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้มารับบริการได้รับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นโดยมียาเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
  2. โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษาฝ่ายประถม ฝ่ายอนุบาล และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแพรกษามียาเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่ได้มาตรฐานตามกระทรวงสาธารณสุข
circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 727 คน จากที่ตั้งไว้ 775 คน
ประกอบด้วย
เรียนรู้แบบบูรณาการผ่านกิจกรรมโครงงานเด็กไทยแก้มใส19 ตุลาคม 2559
19
ตุลาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. โรงเรียนจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางการพัฒนาทั้ง 8 แนวทางของศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
  2. จัดกิจกรรมให้นักเรียนลงมือปฏิบัติเรียนรู้ในสิ่งที่นักเรียนสนใจและถนัดโดยเนื้อการเรียนสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาทั้ง 8 แนวทางของศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
  3. จัดแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าและนำกลับมาพัฒนาทักษะการใช้ชีวิตประจำวัน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. นักเรียนค้นคว้ารวบรวมข้อมูลทดลองหาความรู้และสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเองจากการทัศนศึกษาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อส่งเสริมทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นและฝึกทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต
circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 733 คน จากที่ตั้งไว้ 766 คน
ประกอบด้วย
ฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์1 กันยายน 2559
1
กันยายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดการอบรมครูและบุคลากรทุกคน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับความรู้ความเข้าใจในข้อปฏิบัติของสหกรณ์ภายในสถานศึกษาเบื้องต้น เพื่อนำไปบูรณาการให้ความรู้กับนักเรียนในการจัดทำสหกรณ์นักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้รับความออนุเคราาะห์วิทยาการในการให้ความรู้จากสำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรปราการ

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 70 คน จากที่ตั้งไว้ 68 คน
ประกอบด้วย
เปิดบัญชีโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส15 สิงหาคม 2559
15
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เปิดบัญชีธนาคารกรุงไทย เพื่อรับโอนเงินในโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโครงการเด็กไทยแก้มใส

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีบัญชีธนาคารกรุงไทย เพื่อรับโอนเงินในโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโครงการเด็กไทยแก้มใสสำหรับใช้ในการดำเนินกิจกรรมทั้ง 8 แนวทาง

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 0 คน
ประกอบด้วย
กิจกรรมโครงการ The best clean classroom1 สิงหาคม 2559
1
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. แจ้งประสานงานกับหัวหน้าศูนย์ฯแต่ละศูนย์ฯ ทราบเกี่ยวกับขั้นตอนการทำงาน
  2. ครูประจำชั้นแจ้งรายละเอียดให้กับนักเรียนทราบในการทำความสะอาดบริเวณห้องเรียน โรงเรียนและรอบๆโรงเรียน
  3. แจ้งเอกสารการประเมินให้กับหัวหน้าศูนย์ฯนำไปเผยแพร่ให้กับครูประจำชั้นและแม่บ้าน โดยมีผู้รับผิดชอบ คือ หัวหน้าศูนย์
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. โรงเรียนมีความสะอาดมากขึ้น
  2. นักเรียนรู้จักการรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมและการดูแลรักษาความสะอาดของห้องเรียน
  3. นักเรียนรู้จักการใช้ห้องนำ้ที่ถูกสุขลักษณะ
circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 733 คน จากที่ตั้งไว้ 765 คน
ประกอบด้วย
ประเมินผลภาวะโภชนาการ6 มิถุนายน 2559
6
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. นำข้อมูลน้ำหนักและส่วนสูงของนักเรียนทุกคนจากกิจกรรมชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงมาประเมินผลภาวะโภชนาการโดยโปรแกรมประเมินภาวะโภชนการ
  2. นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินผลภาวะโภชนาการที่ได้มาสรุปเพื่อคัดกรองนักเรียนตามภาวะโภชนาการ
  3. รายงานผลการประเมินภาวะโภชนาการให้ผู้บริหารได้รับทราบ
  4. ส่งต่อนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาเพื่อดำเนินการส่งเสริมและแก้ไข
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.นักเรียนทุกคนได้รับการประเมินภาวะโภชนาการ 2. นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาได้รับการส่งเสริมและแก้ไข 3.โรงเรียนมีข้อมูลภาวะโภชนาการของนักเรียนที่เชื่อถือได้

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 670 คน จากที่ตั้งไว้ 702 คน
ประกอบด้วย
ชั่งนำ้หนัก - วัดส่วนสูง1 มิถุนายน 2559
1
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ครูประจำชั้นชั่งนำ้หนักและวัดส่วนสูงนักเรียนทุกคน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีข้อมูลน้ำหนัก และส่วนสูงเพื่อใช้ในการประเมินภาวะโภชนาการโดยใช้โปรแกรม INMU THAIGROWTH

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 765 คน จากที่ตั้งไว้ 765 คน
ประกอบด้วย
จัดป้ายนิเทศเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขนิสัยและการส่งเสริมอนามัยนักเรียน1 มิถุนายน 2559
1
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ครูประจำชั้นจะทำหน้าที่บูรณการเข้าไปในวิชาสุขศึกษาเช่นการล้างมือ การแปรงฟัน การรับประทานอาหารและการตรวจสอบสุขภาพ เพื่อส่งเสริมสุขนิสัยเบื้องต้นที่นักเรียนทุกคน ควรได้รับการปลูกฝัง และนักเรียนฝึกปฏิบัติเป็นประจำ โดยครูประจำชั้นเป็นผู้ติดตามและประเมินการปฏิบัติของนักเรียน มีระบบเพื่อนช่วยเพื่อนและมีการพัฒนาเครื่องม่ือเพื่อบันทึกการปฏิบัติของนักเรียน เช่น แบบบันทึกการแปรงฟัน แบบบันทึกการล้างมือ แบบบันทึกการรับประทานอาหาร แบบบันทึกการตรวจสุขภาพและข้อกำหนดหรือข้อปฏิบัติตนในการรับประทานอาหาร

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 765 คน จากที่ตั้งไว้ 765 คน
ประกอบด้วย
อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร Thai School Lunch Program2 พฤษภาคม 2559
2
พฤษภาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย จิดาภา หรีดอุไร
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ฝึกการจัดเมนูอาหารโดยการใช้โปรแกรม Thai School Lunch

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สามารถใช้โปรแกรม Thai School Lunch จัดอาหารกลางวันให้กับนักเรียนโรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย