ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

info
ข้อมูลพื้นฐาน
ชื่อโรงเรียน โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา
สังกัด ??
หน่วยงานต้นสังกัด เทศบาลตำบลแพรกษา
ที่อยู่โรงเรียน ตำบลแพรกษา อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ
จำนวนนักเรียน 697 คน
ช่วงชั้น อนุบาล,ประถม
ผู้อำนวยการ นายภาคินัย สุนทรวิภาต
ครูผู้รับผิดชอบ ว่าที่ร้อยตรีหญิงวัลลภา หงส์ทอง
stars
ข้อมูลภาวะโภชนาการ
assignment
กิจกรรม
จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย อุบลรัตน์ เมื่อ 6 เม.ย. 60 น. @20 เม.ย. 60 13:25
รายละเอียด:

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

-

ประเมินความพึงพอใจในอาหารกลางวันจิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 28 ก.พ. 60 น. @29 มี.ค. 60 09:53
รายละเอียด:

จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดบริการอาหารกลางวันของโรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา เพื่อจะได้ทราบถึงความพึงพอใจที่ผู้ปกครองและนักเรียนมีต่อการจัดบริการอาหารกลางวันของโรงเรียน เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุง พัฒนาและแก้ไขคุณภาพการจัดบริการอาหารกลางวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

ได้ทราบถึงความต้องการและความพึงพอใจของผู้ปกครองและนักเรียนต่อการจัดบริการอาหารกลางวันของโรงเรียน

การเกษตรในโรงเรียน (เกษตรน้อยในโรงเรียนระดับอนุบาล MEP)จิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 3 ก.พ. 60 น. @17 เม.ย. 60 17:30
รายละเอียด:

ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับปลูกผัก ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร (การปลูกผักแต่ละชนิด) 2.1  ข้อมูลของผักแต่ละชนิด / วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูก 2.2  วิธีการปลูกผักแต่ละชนิด / การดูแลรักษา ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.3  เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก 3.2  เพาะต้นกล้าผักและปลูกผักตามสถานที่จัดเตรียมไว้ ดังนี้ กิจกรรมปลูกพืชผักสวนผสม สถานที่ปลูกคือ โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา ฝ่ายอนุบาล เอื้ออาทร 3 ปลูกผักกวางตุ้ง ผักคะน้า มะเขือเทศ กล้วย เพาะถั่วงอก  ผักชี
ระยะที่ 4 การดูแลและการเก็บเกี่ยวผลผลิต 4.1  ดูแลการเจริญเติบโต การรดน้ำ  ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดศัตรูพืช 4.2  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งผลผลิตที่ได้จะถูกจำหน่ายให้โรงครัวของโรงเรียนเพื่อเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ถ้ามีผลผลิตเหลือจะจำหน่ายให้กับผู้ปกครองต่อไป ระยะที่  5 งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร (การปลูกผัก) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผักที่ตนเองรับผิดชอบ รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและที่สำคัญอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่รับประทานผัก เริ่มรับประทานผักได้บ้างเพราะเป็นสิ่งที่ตนเองปลูก  ครูและผู้ปกครองมีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับผักชนิดต่างๆ นำมาทดลองปลูก เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง  นอกจากนี้มีผู้ปกครองนำความรู้จากการปลูกผักนำมาทำที่บ้านและแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจำหน่ายเป็นการหารายได้เสริม 

ตลาดนัดโรงเรียน PWSจิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 2 ก.พ. 60 น. @30 ม.ค. 60 20:03
รายละเอียด:

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้แนวทางการดำเนินงานทั้ง 8 กิจกรรมของโครงการเด็กไทยแก้มใส โดยบูรณาการในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

ศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบอาหารจิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 22 ม.ค. 60 น. @11 เม.ย. 60 18:46
รายละเอียด:

พาผู้ประกอบอาหารไปศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาความรู้ด้านการทำอาหารของตนเองอยู่เสมอและพัฒนาศักยภาพด้านอาหารให้ถูกหลักโภชนาการสุขาภิบาลและอาหารปลอดภัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

ผู้ประกอบอาหารมีการพัฒนาความรู้ของตนเองอยู่เสมอ

จัดกิจกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยปราชญ์ชาวบ้านจิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 23 ธ.ค. 59 น. @11 เม.ย. 60 17:02
รายละเอียด:

เครือข่ายผู้ปกครองมาให้ความรู้ในด้านการเกษตรในโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

นักเรียนได้รับความรู้ด้านเกษตรโดยตรงจากผู้เชี่ยวชาญที่เป็นบุคคลในท้องถิ่น

เกษตรในโรงเรียน (เกษตรน้อยในโรงเรียนระดับอนุบาล EP)จิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 3 ก.พ. 60 น. @17 เม.ย. 60 14:36
รายละเอียด:

ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับปลูกผัก ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร (การปลูกผักแต่ละชนิด) 2.1  ข้อมูลของผักแต่ละชนิด / วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูก 2.2  วิธีการปลูกผักแต่ละชนิด / การดูแลรักษา ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.3  เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก 3.2  เพาะต้นกล้าผักและปลูกผักตามสถานที่จัดเตรียมไว้ ดังนี้           กิจกรรมสวน Hope land  สถานที่ปลูกคือ โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา ฝ่ายอนุบาล เอื้ออาทร 1  ปลูกผักสวนครัว ต้นโหระพา  ต้นกะเพรา  พริก  ผักชี ต้นใบเตย มะนาว  ต้นอ่อนผักบุ้ง ระยะที่ 4 การดูแลและการเก็บเกี่ยวผลผลิต 4.1  ดูแลการเจริญเติบโต การรดน้ำ  ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดศัตรูพืช 4.2  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งผลผลิตที่ได้จะถูกจำหน่ายให้โรงครัวของโรงเรียนเพื่อเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ถ้ามีผลผลิตเหลือจะจำหน่ายให้กับผู้ปกครองต่อไป ระยะที่  5 งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร (การปลูกผัก) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผักที่ตนเองรับผิดชอบ รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและที่สำคัญอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่รับประทานผัก เริ่มรับประทานผักได้บ้างเพราะเป็นสิ่งที่ตนเองปลูก  ครูและผู้ปกครองมีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับผักชนิดต่างๆ นำมาทดลองปลูก เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง  นอกจากนี้มีผู้ปกครองนำความรู้จากการปลูกผักนำมาทำที่บ้านและแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจำหน่ายเป็นการหารายได้เสริม 

เครือข่ายผูกพัน สร้างสายใยรักสุขภาพจิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 17 ม.ค. 60 น. @11 เม.ย. 60 17:51
รายละเอียด:

ประชุมเผยแพร่ความรู้กิจกรรมต่อเครือข่ายผู้ปกครองโรงเรียนแพรกาษวิเทศศึกษาเพื่อสร้างสัมพันธ์และเปิดโอกาสให้เครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสของนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

ครูนักเรียนและเครือข่ายผู้ปกครองสร้างสรรค์กิจกรรมสารสัมพันธ์โดยใช้กิจกรรมตามโครงการเป็นสื่อกลางในการสร้างสัมพันธ์อันดีงาม

การจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนจิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 13 ธ.ค. 59 น. @11 เม.ย. 60 17:54
รายละเอียด:

จัดทำรายการอาหารหมุนเวียน 1 เดือน โดยใช้โปรแกรม Thai Sdchool Lunch  ในการจัดทำรายการอาหารทุกวันที่ 1 ของทุกเดือน  เพื่อแจ้งให้นักเรียนและผู้ปกครองทราบถึงสารอาหารที่ได้รับในแต่ละมื้อ

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

มีรายการอาหารล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือนเพื่อแจ้งให้ผู้ปกครองทราบ

ถอนเงินออกจากบัญชีโครงการเด็กไทยแก้มใสอุบลรัตน์ เมื่อ 6 ธ.ค. 59 น. @20 เม.ย. 60 13:37
รายละเอียด:

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

-

ชั่งนำ้หนัก - วัดส่วนสูงจิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 1 มิ.ย. 59 น. @11 เม.ย. 60 15:22
รายละเอียด:

ครูประจำชั้นชั่งนำ้หนักและวัดส่วนสูงนักเรียนทุกคน

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

มีข้อมูลน้ำหนัก และส่วนสูงเพื่อใช้ในการประเมินภาวะโภชนาการโดยใช้โปรแกรม INMU THAIGROWTH

อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร Thai School Lunch Programจิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 2 พ.ค. 59 น. @26 พ.ย. 59 11:23
รายละเอียด:

ฝึกการจัดเมนูอาหารโดยการใช้โปรแกรม Thai School Lunch

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

สามารถใช้โปรแกรม Thai School Lunch จัดอาหารกลางวันให้กับนักเรียนโรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยของนักเรียนโดยวิทยากรจากศูนย์ส่งเสริมสุขภาพชุมชนมังกรทองจิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 13 ม.ค. 60 น. @17 เม.ย. 60 18:13
รายละเอียด:

โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา  ได้ส่งเสริมพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนในโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาพฤติกรรมการของนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ตามแนวทางที่ปฏิบัติและส่งเสริมสุขนิสัย เช่น  ล้างมือก่อน รับประทานอาหาร  แปรงฟันหลังรับประทานอาหาร เป็นการส่งเสริมและพัฒนานักเรียน ให้มีภาวะโภชนาการดีต่อไป ดังนั้นนักเรียนจึงสามารถนำทักษะที่ไปใช้ในชีวิตประจำวันต่อไป
ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาสื่อวัสดุอุปกรณ์ ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับสุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ 2.1  การล้างมือ 7 ขั้นตอน
2.2  การดูแลร่างกายและของใช้ให้สะอาด 2.3  รักษาดูแลฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันทุกวัน 2.4  กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และสีไม่ฉูดฉาด 2.5 งดบุหรี่ สุรา สารเสพติด 2.6 สร้างสัมพันธ์ในครอบครัว 2.7 ป้องกันอุบัติเหตุด้วยความไม่ประมาท 2.8 ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและตรวจสุขภาพ 2.9 ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ 2.10 มีสำนึกต่อส่วนรวมร่วมสร้างสังคม ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.1 ครูประจำชั้นหรือครูสอนวิชาสุขศึกษาให้ความรู้หรือสอดแทรกในเนื้อหาที่สอน 3.2  ฝึกปฏิบัติเป็นประจำ โดยครูประจำชั้นเป็นผู้ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติของนักเรียน     
ระยะที่  4  งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

จากการเข้าร่วมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขนิสัย ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น  เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองในด้านต่างๆ  และมีการพัฒนาเครื่องมือเพื่อช่วยให้นักเรียนในการพัฒนาตนเอง เช่น แบบประเมินผลการแปรงฟัน ข้อกำหนดหรือข้อปฏิบัติตนในการรับประทานอาหาร

เหงือกสะอาด ฟันแข็งแรงจิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 1 ม.ค. 60 น. @17 เม.ย. 60 18:03
รายละเอียด:
  1. จัดป้ายนิเทศเกี่ยวกับสุขภาพปากและฟัน
  2. แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
  3. ได้รับความอนุเคราะห์จากศูนย์สุขภาพชุมชนมังกรทองในการเคลือบฟลูออไรด์และเคลือบหลุมร่องฟัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์:
  1. นักเรียนได้รับความรู้ด้านสุขภาพปากและฟันอย่างทั่วถึง
  2. นักเรียนร้อยละ 90 ได้รับการบริการสุขภาพปากและฟันอย่างทั่วถึง
เกษตรในโรงเรียน (เกษตรน้อยในโรงเรียนระดับอนุบาล GEP)จิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 9 ม.ค. 60 น. @17 เม.ย. 60 13:46
รายละเอียด:

ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับปลูกผัก ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร (การปลูกผักแต่ละชนิด) 2.1  ข้อมูลของผักแต่ละชนิด / วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูก 2.2  วิธีการปลูกผักแต่ละชนิด / การดูแลรักษา ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.3  เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก 3.2  เพาะต้นกล้าผักและปลูกผักตามสถานที่จัดเตรียมไว้ ดังนี้             กิจกรรมปลูกพืชหมุนเวียน สถานที่ปลูกคือ โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา ฝ่ายอนุบาล ซอย 8  เพาะถั่วงอก เพาะต้นอ่อนทานตะวัน
ระยะที่ 4 การดูแลและการเก็บเกี่ยวผลผลิต 4.1  ดูแลการเจริญเติบโต การรดน้ำ  ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดศัตรูพืช 4.2  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งผลผลิตที่ได้จะถูกจำหน่ายให้โรงครัวของโรงเรียนเพื่อเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ถ้ามีผลผลิตเหลือจะจำหน่ายให้กับผู้ปกครองต่อไป ระยะที่  5 งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

  จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร (การปลูกผัก) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผักที่ตนเองรับผิดชอบ รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและที่สำคัญอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่รับประทานผัก เริ่มรับประทานผักได้บ้างเพราะเป็นสิ่งที่ตนเองปลูก  ครูและผู้ปกครองมีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับผักชนิดต่างๆ นำมาทดลองปลูก เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง  นอกจากนี้มีผู้ปกครองนำความรู้จากการปลูกผักนำมาทำที่บ้านและแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจำหน่ายเป็นการหารายได้เสริม 

ขอเชิญประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำรายงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2จิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 28 ธ.ค. 59 น. @11 เม.ย. 60 18:48
รายละเอียด:

เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำรายงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

สามารถดำเนินงานเพื่อจัดทำรายงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2

การเกษตรในโรงเรียน (เกษตรกรน้อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ เอื้ออาทร 14)จิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 20 ธ.ค. 59 น. @17 เม.ย. 60 17:19
รายละเอียด:

ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับปลูกผัก ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร (การปลูกผักแต่ละชนิด) 2.1  ข้อมูลของผักแต่ละชนิด / วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูก 2.2  วิธีการปลูกผักแต่ละชนิด / การดูแลรักษา ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.3  เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก 3.2  เพาะต้นกล้าผักและปลูกผักตามสถานที่จัดเตรียมไว้ ดังนี้       กิจกรรมปลูกผักสวนครัว  สถานที่ปลูกคือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแพรกษา เอื้ออาทร 14  ปลูกประเภทผักสวนครัวทั่วไป เช่น  ตะไคร้  ผักกวางตุ้ง ผักบุ้ง ฟักเขียว
ระยะที่ 4 การดูแลและการเก็บเกี่ยวผลผลิต 4.1  ดูแลการเจริญเติบโต การรดน้ำ  ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดศัตรูพืช 4.2  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งผลผลิตที่ได้จะถูกจำหน่ายให้โรงครัวของโรงเรียนเพื่อเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ถ้ามีผลผลิตเหลือจะจำหน่ายให้กับผู้ปกครองต่อไป ระยะที่  5 งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.


ผลผลิต/ผลลัพธ์:

จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร (การปลูกผัก) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผักที่ตนเองรับผิดชอบ รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและที่สำคัญอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่รับประทานผัก เริ่มรับประทานผักได้บ้างเพราะเป็นสิ่งที่ตนเองปลูก  ครูและผู้ปกครองมีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับผักชนิดต่างๆ นำมาทดลองปลูก เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง  นอกจากนี้มีผู้ปกครองนำความรู้จากการปลูกผักนำมาทำที่บ้านและแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจำหน่ายเป็นการหารายได้เสริม 

นักสหกรณ์ตัวน้อยจิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 17 ธ.ค. 59 น. @17 เม.ย. 60 18:14
รายละเอียด:
  1. การให้ความรู้แก่ครูในเรื่องสหกรณ์เพื่อที่ครูนำความรู้ความเข้าใจลงสู่นักเรียน
  2. การจัดการเรียนรู้เนื่องสหกรณ์บูรณาเข้าสู่บทเรียนในรายวิชาคณิตศาตร์ สังคมศึกษา ภาษาไทย
  3. การฝึกปฏิบัติการจัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายโดยให้นักเรียนลงมือปฏิบัติโดยมีครูประจำชั้นเป็นผู้ให้คำ แนะนำและช่วยตรวจสอบความถูกต้อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์:
  1. นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องตัวเลขผ่านกิจกรรมการบันทึกบัญชีสหกรณ์ห้องเรียน
  2. การเรียนรู้บูรณาการผ่านรายวิชาต่างๆโดยมีหลักสูตรสหกรณ์ เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนสำหรับระดับอนุบาล เรียนรู้ผ่านกิจกรรม
  3. นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตจิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 14 ธ.ค. 59 น. @17 เม.ย. 60 18:08
รายละเอียด:
  1. จัดป้ายนิเทศให้ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพ
  2. คัดกรองและตรวจสุขภาพประจำปี
  3. จัดกิจกรรมออกกำลังกายตอนเช้า
ผลผลิต/ผลลัพธ์:
  1. นักเรียนได้รับความรู้ด้านสุขภาพอย่างทั่วถึง
  2. นักเรียนร้อยละ 90 ได้รับบริการสุขภาพอย่างทั่วถึง
  3. นักเรียนร้อยละ 90 มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
เกษตรน้อยในโรงเรียน (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ เอื้ออาทร 2)จิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 8 ธ.ค. 59 น. @17 เม.ย. 60 17:16
รายละเอียด:

ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับปลูกผัก ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร (การปลูกผักแต่ละชนิด) 2.1  ข้อมูลของผักแต่ละชนิด / วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูก 2.2  วิธีการปลูกผักแต่ละชนิด / การดูแลรักษา ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.3  เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก 3.2  เพาะต้นกล้าผักและปลูกผักตามสถานที่จัดเตรียมไว้ ดังนี้ กิจกรรมกำแพงผัก  สถานที่ปลูกคือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแพรกษา เอื้ออาทร 2  ผักที่ปลูก มี ผักกวางตุ้ง  คะน้า  ผักชี  ต้นโหระพา  ต้นกะเพรา  พริก  บวบเหลี่ยม มะเขือเทศ ระยะที่ 4 การดูแลและการเก็บเกี่ยวผลผลิต 4.1  ดูแลการเจริญเติบโต การรดน้ำ  ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดศัตรูพืช 4.2  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งผลผลิตที่ได้จะถูกจำหน่ายให้โรงครัวของโรงเรียนเพื่อเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ถ้ามีผลผลิตเหลือจะจำหน่ายให้กับผู้ปกครองต่อไป ระยะที่  5 งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร (การปลูกผัก) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผักที่ตนเองรับผิดชอบ รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและที่สำคัญอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่รับประทานผัก เริ่มรับประทานผักได้บ้างเพราะเป็นสิ่งที่ตนเองปลูก  ครูและผู้ปกครองมีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับผักชนิดต่างๆ นำมาทดลองปลูก เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง  นอกจากนี้มีผู้ปกครองนำความรู้จากการปลูกผักนำมาทำที่บ้านและแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจำหน่ายเป็นการหารายได้เสริม 

การเกษตรในโรงเรียน(เกษตรน้อยในโรงเรียนระดับประถมศึกษา)จิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 3 พ.ย. 59 น. @20 มี.ค. 60 10:09
รายละเอียด:

ระยะที่ 1 วางแผนการดำเนินการ 1.1  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 1.2  ประชุมหารือคณะกรรมการดำเนินการ 1.3  จัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับปลูกผัก ระยะที่ 2 การให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตร (การปลูกผักแต่ละชนิด) 2.1  ข้อมูลของผักแต่ละชนิด / วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปลูก 2.2  วิธีการปลูกผักแต่ละชนิด / การดูแลรักษา ระยะที่ 3 ดำเนินงาน 3.3  เตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก 3.2  เพาะต้นกล้าผักและปลูกผักตามสถานที่จัดเตรียมไว้ ดังนี้       กิจกรรมผักไร้ดิน  สถานที่ปลูกคือ โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษา ฝ่ายประถม ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ เช่น กรีนโอ๊ก (Green Oak)  เรดโอ๊ก (Red Oak)  กรีน คอรัล (Green  Coral)  เรด คอรัล (Red Coral)  นอกจากนี้ที่ฝ่ายประถมจะมีการปลูกผักลงในภาชนะที่เหลือใช้และปลูกผักในบริเวณข้างกำแพงโรงเรียนเป็นพื้นดินบางส่วน เช่น  แตงกวาบวบเหลี่ยม ถั่วฝักยาว ฟักทอง ต้นโหระพา  ต้นกะเพรา  พริก  คื่นช่าย  วอเตอร์ เครส  รวมทั้งการเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐาน ระยะที่ 4 การดูแลและการเก็บเกี่ยวผลผลิต 4.1  ดูแลการเจริญเติบโต การรดน้ำ  ใส่ปุ๋ย พรวนดิน กำจัดศัตรูพืช 4.2  เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งผลผลิตที่ได้จะถูกจำหน่ายให้โรงครัวของโรงเรียนเพื่อเป็นส่วนประกอบของอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ถ้ามีผลผลิตเหลือจะจำหน่ายให้กับผู้ปกครองต่อไป ระยะที่  5 งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ประโยชน์ที่ได้รับ คือ ครู นักเรียนรวมทั้งผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร (การปลูกผัก) เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน นักเรียนมีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผักที่ตนเองรับผิดชอบ รู้จักการทำงานร่วมกับคนอื่นและที่สำคัญอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่รับประทานผัก เริ่มรับประทานผักได้บ้างเพราะเป็นสิ่งที่ตนเองปลูก  ครูและผู้ปกครองมีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับผักชนิดต่างๆ นำมาทดลองปลูก เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง  นอกจากนี้มีผู้ปกครองนำความรู้จากการปลูกผักนำมาทำที่บ้านและแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจำหน่ายเป็นการหารายได้เสริม 

การปฐมพยาบาลเบื้องต้นจิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 3 พ.ย. 59 น. @5 ธ.ค. 59 16:47
รายละเอียด:
  1. จัดหายาสามัญประจำบ้านให้กับโรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษาฝ่ายประถม ฝ่ายอนุบาล และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแพรกษา
  2. มียาเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่ได้มาตรฐานตามกระทรวงสาธารณสุข
ผลผลิต/ผลลัพธ์:
  1. ผู้มารับบริการได้รับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นโดยมียาเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
  2. โรงเรียนแพรกษาวิเทศศึกษาฝ่ายประถม ฝ่ายอนุบาล และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแพรกษามียาเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่ได้มาตรฐานตามกระทรวงสาธารณสุข
เรียนรู้แบบบูรณาการผ่านกิจกรรมโครงงานเด็กไทยแก้มใสจิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 19 ต.ค. 59 น. @5 ธ.ค. 59 23:29
รายละเอียด:
  1. โรงเรียนจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางการพัฒนาทั้ง 8 แนวทางของศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
  2. จัดกิจกรรมให้นักเรียนลงมือปฏิบัติเรียนรู้ในสิ่งที่นักเรียนสนใจและถนัดโดยเนื้อการเรียนสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาทั้ง 8 แนวทางของศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
  3. จัดแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าและนำกลับมาพัฒนาทักษะการใช้ชีวิตประจำวัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์:
  1. นักเรียนค้นคว้ารวบรวมข้อมูลทดลองหาความรู้และสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเองจากการทัศนศึกษาและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อส่งเสริมทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นและฝึกทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต
ฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์จิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 1 ก.ย. 59 น. @30 ม.ค. 60 20:25
รายละเอียด:

จัดการอบรมครูและบุคลากรทุกคน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับความรู้ความเข้าใจในข้อปฏิบัติของสหกรณ์ภายในสถานศึกษาเบื้องต้น เพื่อนำไปบูรณาการให้ความรู้กับนักเรียนในการจัดทำสหกรณ์นักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้รับความออนุเคราาะห์วิทยาการในการให้ความรู้จากสำนักงานสหกรณ์จังหวัดสมุทรปราการ

เปิดบัญชีโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสจิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 15 ส.ค. 59 น. @11 เม.ย. 60 18:40
รายละเอียด:

เปิดบัญชีธนาคารกรุงไทย เพื่อรับโอนเงินในโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโครงการเด็กไทยแก้มใส

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

มีบัญชีธนาคารกรุงไทย เพื่อรับโอนเงินในโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโครงการเด็กไทยแก้มใสสำหรับใช้ในการดำเนินกิจกรรมทั้ง 8 แนวทาง

กิจกรรมโครงการ The best clean classroomจิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 1 ส.ค. 59 น. @6 ธ.ค. 59 01:38
รายละเอียด:
  1. แจ้งประสานงานกับหัวหน้าศูนย์ฯแต่ละศูนย์ฯ ทราบเกี่ยวกับขั้นตอนการทำงาน
  2. ครูประจำชั้นแจ้งรายละเอียดให้กับนักเรียนทราบในการทำความสะอาดบริเวณห้องเรียน โรงเรียนและรอบๆโรงเรียน
  3. แจ้งเอกสารการประเมินให้กับหัวหน้าศูนย์ฯนำไปเผยแพร่ให้กับครูประจำชั้นและแม่บ้าน โดยมีผู้รับผิดชอบ คือ หัวหน้าศูนย์
ผลผลิต/ผลลัพธ์:
  1. โรงเรียนมีความสะอาดมากขึ้น
  2. นักเรียนรู้จักการรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมและการดูแลรักษาความสะอาดของห้องเรียน
  3. นักเรียนรู้จักการใช้ห้องนำ้ที่ถูกสุขลักษณะ
ประเมินผลภาวะโภชนาการจิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 6 มิ.ย. 59 น. @26 พ.ย. 59 11:09
รายละเอียด:
  1. นำข้อมูลน้ำหนักและส่วนสูงของนักเรียนทุกคนจากกิจกรรมชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงมาประเมินผลภาวะโภชนาการโดยโปรแกรมประเมินภาวะโภชนการ
  2. นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินผลภาวะโภชนาการที่ได้มาสรุปเพื่อคัดกรองนักเรียนตามภาวะโภชนาการ
  3. รายงานผลการประเมินภาวะโภชนาการให้ผู้บริหารได้รับทราบ
  4. ส่งต่อนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาเพื่อดำเนินการส่งเสริมและแก้ไข
ผลผลิต/ผลลัพธ์:

1.นักเรียนทุกคนได้รับการประเมินภาวะโภชนาการ 2. นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาได้รับการส่งเสริมและแก้ไข 3.โรงเรียนมีข้อมูลภาวะโภชนาการของนักเรียนที่เชื่อถือได้

จัดป้ายนิเทศเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขนิสัยและการส่งเสริมอนามัยนักเรียนจิดาภา หรีดอุไร เมื่อ 1 มิ.ย. 59 น. @30 ม.ค. 60 19:58
รายละเอียด:

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์:

ครูประจำชั้นจะทำหน้าที่บูรณการเข้าไปในวิชาสุขศึกษาเช่นการล้างมือ การแปรงฟัน การรับประทานอาหารและการตรวจสอบสุขภาพ เพื่อส่งเสริมสุขนิสัยเบื้องต้นที่นักเรียนทุกคน ควรได้รับการปลูกฝัง และนักเรียนฝึกปฏิบัติเป็นประจำ โดยครูประจำชั้นเป็นผู้ติดตามและประเมินการปฏิบัติของนักเรียน มีระบบเพื่อนช่วยเพื่อนและมีการพัฒนาเครื่องม่ือเพื่อบันทึกการปฏิบัติของนักเรียน เช่น แบบบันทึกการแปรงฟัน แบบบันทึกการล้างมือ แบบบันทึกการรับประทานอาหาร แบบบันทึกการตรวจสุขภาพและข้อกำหนดหรือข้อปฏิบัติตนในการรับประทานอาหาร