แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โรงเรียนบ้านลำทับ
“ โรงเรียนบ้านลำทับ ”
34/1 หมู่ที่5 ตำบลลำทับ อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่
หัวหน้าโครงการ
นายคณิต โอทอง
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านลำทับ
ที่อยู่ 34/1 หมู่ที่5 ตำบลลำทับ อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่ จังหวัด กระบี่
รหัสโครงการ ศรร.1413-091 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.8
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านลำทับ จังหวัดกระบี่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 34/1 หมู่ที่5 ตำบลลำทับ อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านลำทับ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านลำทับ
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านลำทับ " ดำเนินการในพื้นที่ 34/1 หมู่ที่5 ตำบลลำทับ อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่ รหัสโครงการ ศรร.1413-091 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 150,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านลำทับ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 1201 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรงเรียนบ้านลำทับ จัดการศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีสุขภาพดี เป็นคนดี มีความสุข เกิดปัญญา และมีทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษา การประกอบอาชีพ และดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงได้จัดการเรียนรู้ที่ด้านการเกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย ที่สอดคล้องความต้องการของผู้เรียนและชุมชน จึงได้เข้าร่วมโครงการโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสและได้ดำเนินการตามหลักการของ “โครงการเด็กไทยแก้มใส” ซึ่งเป็นโครงการที่ใช้หลักบริหารจัดการ๘ องค์ประกอบของการพัฒนา คือ การเกษตรในโรงเรียน สหกรณ์นักเรียนการจัดบริการอาหารของโรงเรียน การติดตามภาวะโภชนาการ การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน การบริการด้านสุขภาพอนามัย การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ การจัดการเรียนรู้เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย นอกจากนั้นโรงเรียนบ้านลำทับมีแนวคิดในการพัฒนาโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน สู่ครัวเรือน และชุมชนเป็นการลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ให้ครัวเรือน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาการบริโภคอาหารโภชนาการและภาวะทุพโภชนาการในเด็กนักเรียนได้อย่างยั่งยืน
- เพื่อจัดระบบการติดตามประเมินผลการเฝ้าระวังในการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการได้อย่างต่อเนื่อง
- เพื่อสร้างความตระหนักให้นักเรียนในด้านสุขภาพอนามัยโภชนาการการบริโภคอาหารเชิงบูรณาการกับสหกรณ์โรงเรียนและเกษตรแบบพอเพียงในโรงเรียนสู่ชุมชน
- เพื่อสร้างภาคีครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัยโภชนาการแก้ปัญหาภาวะ ทุพโภชนาการและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- โรงเรียนแก้ปัญหาการบริโภคอาหารโภชนาการและภาวะทุพโภชนาการในเด็กนักเรียนได้อย่างยั่งยืน
- นักเรียนครูนำความรู้เรื่องการเกษตรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปเผยแพร่สู่ชุมชน
- จัดระบบการติดตามประเมินผลการเฝ้าระวังในการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการได้อย่างต่อเนื่อง
- สร้างความตระหนักให้นักเรียนในด้านสุขภาพอนามัยโภชนาการการบริโภคอาหารเชิงบูรณาการกับสหกรณ์โรงเรียนและด้านการเกษตรแบบพอเพียงในโรงเรียนสู่ชุมชน
- สร้างภาคีครือข่ายในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัยโภชนาการแก้ปัญหาภาวะทุพ โภชนาการและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน
- นักเรียนครูภูมิปัญญาท้องถิ่นนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปขยายผลสู่บ้านและชุมชนเป็นการเพิ่ม รายได้ ลดรายจ่าย
- เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครองและชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การเลี้ยงปลาในกระชัง
วันที่ 23 พฤษภาคม 2559 เวลา 15:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้ออาหารปลานิล 5 กระสอบ
จัดซื้อพันธุ์ปลานิล 1,000 ตัว
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต : นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง สามารถนำความรู้ไปต่อยอดที่บ้านของนักเรียนได้
ผลลัพธ์ : นักเรียนมีผลผลิตส่งผ่านสหกรณ์เพื่อให้โรงอาหารนำผลผลิตที่ได้ไปประกอบอาหารกลางวัน
418
0
2. เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร เพื่อจำหน่ายในโครงการอาหารกลางวันโดยผ่านสหกรณ์นักเรียน
วันที่ 23 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดซื้อพันธุ์ผัก
- มูลสัตว์
- จัดซื้อพันธุ์กบ อาหารกบ
- จัดซื้อพันธุ์เป็ด อาหารเป็ด ข้าวเปลือก
- ซื้อเมล็ดพันธุ์ผัก จำนวน 1,000 ซอง สำหรับแจกให้นักเรียนนำไปขยายผลที่บ้านของนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต 1.การปลูกผักปลอดสารพิษแบบผสมผสาน เช่น ผักบุ้ง ผักกาด ผักกวางตุ้ง ฯลฯ
2. เลี้ยงกบในขวดพลาสติก จำนวน 300 ตัว
3. เลี้ยงเป็ดพันธุ์ไข่ จำนวน 20 ตัว
ผลลัพธ์
การเกษตร
1.นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษแบบผสมผสาน ด้วยการฝึกปฏิบัติจริง 2.ใช้ปุ๋ยชีวภาพในการปลูกผัก 3.นักเรียนจัดทำบัญชีรายรับ–รายจ่ายด้วยตนเอง 4.เป็นการส่งเสริมให้นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน 5.มีการจำหน่ายผลผลิตให้โครงการอาหารกลางวัน 6.นักเรียนและบุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้อง สามารถนำไปเป็นแบบอย่างในการสร้างรายได้ในครอบครัวเพิ่มขึ้น
การเลี้ยงสัตว์
1.นักเรียนโรงเรียนบ้านลำทับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ทุกคน ได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงกบในขวดพลาสติกโดยการฝึกปฏิบัติจริง 2.ส่งกบจำหน่ายในชุมชน 3.นักเรียนจัดทำบัญชีรายรับ – รายจ่ายด้วยตนเอง 3. นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน 4. นักเรียนนำไปใช้เป็นแนวทางในการสร้างรายได้ในครัวเรือน และ ขยายผลสู่ชุมชน
การเลี้ยงเป็ดพันธ์ไข่ 1.นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงเป็ดพันธุ์ไข่ด้วยการฝึกปฏิบัติจริง 2.นักเรียนจัดทำบัญชีรายรับ – รายจ่ายด้วยตนเอง 3.เป็นการส่งเสริมให้นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน 4. นักเรียนและบุคลากรนำไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการสร้างรายได้ในครัวเรือน และ ขยายผลสู่ชุมชน
0
0
3. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สำหรับการเกษตรเพื่อโครงการอาหารกลางวัน
วันที่ 2 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
1,000
0
4. การเลี้ยงเป็ดพันธุ์เนื้อ
วันที่ 2 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
0
0
5. การเลี้ยงกบในขวดพลาสติก
วันที่ 2 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
0
0
6. ปลูกผักปลอดสารพิษแบบผสมผสาน
วันที่ 2 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตร
0
0
7. ประชุมสัญจรครั้งที่1
วันที่ 12 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมสัญจรตามแผนเพื่อติดตามผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง
2
0
8. open House
วันที่ 14 ตุลาคม 2559 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนได้รับความรู้ที่ได้รับไปใช้ในครอบครัวและได้ต่อยอดเป็นอาชีพต่อไปและเพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายของครอบครัว
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครองนักเรียนสามารถปลูกผักปลอดสารพิษและเลี้ยงสัตว์เพื่อใช้บริโภคในครอบครัวของตนเอง
1,210
0
9. กิจกรรมต้นไม้พูดได้
วันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำป้ายคติเตือนใจ โดยใช้แผ่นพลาสวูด จำนวน 50 แผ่นๆล่ะ 300 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนเกิดจิตสำนึกในการดำรงค์ชีวิตใช้หลักวิถีพอเพียง
1,179
0
10. กิจกรรมแม่ครัวหัวป่า อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบอาหาร
วันที่ 28 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบอาหารเรื่อง วิธีการประกอบอาหารให้ถูกหลักโภชนาการโดยใช้เมนูเพื่อสุขภาพตามโปรแกรม Thai School Lunch จำนวน 10 คน วิทยากร 2 คน รวม 12 คน ใช้เวลา 1 วัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ประกอบอาหารมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการประกอบอาหารให้ถูกหลักโภชนาการและสามารถนำมาปฏิบัติในชีวิตจริงได้
12
0
11. อบรมแกนนำผู้ปกครอง ให้ความรู้การประกอบอาหาร
วันที่ 29 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบอาหาร เรื่องวิธีการประกอบอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ จำนวน73 คน วิทยากร 2 คน
รวม 75 คน ใช้เวลา 1 วัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้เรื่องการประกอบอาหารที่ถูกหลักโภชนาการและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการประกอบอาหารเพื่อให้ถูกหลักโภชนาการและจะส่งผลต่อการมีสุขภาพที่ดีของสมาชิกในครอบครัว
95
75
12. กิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ครูเยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อติดตามผลผลิตทางการเกษตรที่ผู้ปกครองได้รับเมล็ดพันธ์จากโรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครองนักเรียนได้นำเมล็ดพันธ์ที่โรงเรียนให้ไปปลูกและได้เก็บผลผลิต
464
0
13. การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร
วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมเข้าค่ายค่ายต้นกล้า รุ่นที่ ๒ เชิญวิทยากรจากกลุ่มแม่บ้านหมู่ที่ ๕ ตำบลลำทับ อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่ มาให้ความรู้นักเรียนชมรมเชฟน้อยช่างคิด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนและผูปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปจอยอดในการสร้างอาชีพเพิ่มรายได้
73
0
14. การทำปุ๋ยหมัก
วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เชิญวิทยากรจากศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอดพียงบ้านเขาดินและศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านทุางไทรทอง และเกษตรอำเภอลำทับ มาให้ความรู้นักเรียแกนนำชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ จำนวน ๖๐ คน ใช้เวลา ๒ วัน ๑ คืน และมีครูผู้รับผิดชอบโครงการ ๕ คน ผู้ปกครองนักเรียน ๕ คน และวิทยากรผู้ให้ความรู้ ๓ คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียน ครู และผูุ้มชนปกครอง มีความรู้ในการทำปุ๋ยหมัก และสามารถได้ลงมือปฏิบัติจริงทำให้เกิดทักษะการเรียนรู้และสามารถทำปุ๋ยหมักได้ด้วยตนเอง สงเสริมการทำเกษตรอินทรีย์ในครัวเรือนและชุมชน
73
73
15. การสหกรณ์ในโรงเรียนและการทำบัญชี
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้เรื่อง การสหกรณ์ในโรงเรียน และการกระทำจัดทำบัญชี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔-๖
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีความรู้เรื่องการสหกรณ์ในโรงเรียน และการกระทำจัดทำบัญชีและสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันของนักเรียน
471
478
16. จัดกิจกรรมค่าย อสม.น้อย
วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมค่าย อสม.น้อย เชิญวิทยากรมาให้ความรู้เรื่องการคุ้มครองผู้บริโภคและการทดสอบสารปนเปื้อนในอาหารและน้ำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้และสามารถนำความรู้ที่อบรมาใช้ในการดำรงค์ชีวิต
60
0
17. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
0
0
18. ประชุมตรวจเอกสารการดำเนินงาน (งวด 3)
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำเอกสารการเงินปิดงบ และประเมินศูนย์การเรียนรู้และประเมินคุณค่าในระบบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เอกสารปิดงบได้ดำเนินการไปอย่างถูกต้องและมีการแนะนำในการจัดทำเอกสารการเงินจากเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบอย่างดีเยี่ยม
2
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อแก้ปัญหาการบริโภคอาหารโภชนาการและภาวะทุพโภชนาการในเด็กนักเรียนได้อย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด : มาตรฐานที่ 1 : การบริหารจัดการสู่การเป็นโรงเรียนต้นแบบ เด็กไทยแก้มใส
ตัวชี้วัดที่ 1.1 : โรงเรียนมีนโยบายและแผนปฏิบัติงานที่นำไปสู่เป้าหมาย การเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
ตัวชี้วัดที่ 1.2 : มีความมุ่งมั่นตั้งใจและได้รับความร่วมมืออย่างดีจาก เครือข่ายทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัดที่ 1.3 : มีฐานข้อมูลด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพนักเรียน ที่เป็นปัจจุบัน
ตัวชี้วัดที่ 1.4 : มีแผนพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1.5 : มีความพร้อมในการพัฒนาสู่การเป็นแหล่งเรียนรู้ “เด็กไทยแก้มใส” (ด้านการจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจร)
ตัวชี้วัดที่ 1.6 : โรงเรียนมีระบบการกับ ติดตาม และประเมินผล การ พัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
มาตรฐานที่ 2 : กระบวนการดำเนินงานพัฒนาโรงเรียนต้นแบบ เด็กไทยแก้มใส
1 : เกษตรในโรงเรียน
ตัวชี้วัดที่ 1.1 : โรงเรียนมีการผลิตทางเกษตร และเลี้ยงสัตว์หรือประมง โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน ชุมชนและเครือข่าย
ตัวชี้วัดที่ 1.2 : มีการน าผลผลิตทางการเกษตร ปศุสัตว์ และประมง ไป ใช้ในโครงการอาหารกลางวันนักเรียน
2 : สหกรณ์นักเรียน
ตัวชี้วัดที่ 2.1 : มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิก และดำเนินการโดยนักเรียน
3 : การจัดบริการอาหารนักเรียน
ตัวชี้วัดที่ 3.1 : มีการจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือน ตามมาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับภาวะสุขภาพ และผลผลิตทางการเกษตรในโรงเรียนหรือชุมชน
ตัวชี้วัดที่ 3.2 : มีการปรุง ประกอบอาหาร ถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และอาหารปลอดภัย
ตัวชี้วัดที่ 3.3 : มีการตักอาหารให้นักเรียนตามปริมาณและสัดส่วน ของธงโภชนาการที่เหมาะสมกับวัย และทันเวลา
ตัวชี้วัดที่ 3.4 : มีการจัดอาหารว่าง ขนม และเครื่องดื่มที่ได้มาตรฐาน โภชนาการ
4 : การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและ สมรรถภาพทางกายนักเรียน
ตัวชี้วัดที่ 4.1 : มีระบบเผ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพ ทางกายของนักเรียน
8 : การจัดการเรียนรู้เกษตร อาหาร โภชนาการและ สุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 8.1 : มีแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการและกิจกรรม ที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส
ตัวชี้วัดที่ 8.2 : การน าภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนการจัดกิจกรรม เรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 8.3 : มีการผลิตสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ด้าน เกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ
2
เพื่อจัดระบบการติดตามประเมินผลการเฝ้าระวังในการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการได้อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : มาตรฐานที่ 2 : กระบวนการดำเนินงานพัฒนาโรงเรียนต้นแบบ เด็กไทยแก้มใส
4 : การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและ สมรรถภาพทางกายนักเรียน
ตัวชี้วัดที่ 4.1 : มีระบบเผ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพ ทางกายของนักเรียน
3
เพื่อสร้างความตระหนักให้นักเรียนในด้านสุขภาพอนามัยโภชนาการการบริโภคอาหารเชิงบูรณาการกับสหกรณ์โรงเรียนและเกษตรแบบพอเพียงในโรงเรียนสู่ชุมชน
ตัวชี้วัด : มาตรฐานที่ 2 : กระบวนการดำเนินงานพัฒนาโรงเรียนต้นแบบ เด็กไทยแก้มใส
2 : สหกรณ์นักเรียน
ตัวชี้วัดที่ 2.1 : มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิก และดำเนินการโดยนักเรียน
1 : เกษตรในโรงเรียน
ตัวชี้วัดที่ 1.1 : โรงเรียนมีการผลิตทางเกษตร และเลี้ยงสัตว์หรือประมง โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน ชุมชนและเครือข่าย
ตัวชี้วัดที่ 1.2 : มีการน าผลผลิตทางการเกษตร ปศุสัตว์ และประมง ไป ใช้ในโครงการอาหารกลางวันนักเรียน
5 : การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
ตัวชี้วัดที่ 5.1 : มีกิจกรรมดำเนินการด้านพัฒนาสุขนิสัยและการ ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนอย่างเป็นรูปธรรม
7 : การจัดบริการสุขภาพนักเรียน
ตัวชี้วัดที่ 7.1 : มีการให้บริการตรวจสุขภาพนักเรียน และให้การดูแล ช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม
8 : การจัดการเรียนรู้เกษตร อาหาร โภชนาการและ สุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 8.3 : มีการผลิตสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ด้าน เกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ
4
เพื่อสร้างภาคีครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัยโภชนาการแก้ปัญหาภาวะ ทุพโภชนาการและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : มาตรฐานที่ 2 : กระบวนการดำเนินงานพัฒนาโรงเรียนต้นแบบ เด็กไทยแก้มใส
4 : การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและ สมรรถภาพทางกายนักเรียน
ตัวชี้วัดที่ 4.1 : มีระบบเผ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพ ทางกายของนักเรียน
6 : การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ตัวชี้วัดที 6.1 : โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาล อนามัย สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน
8 : การจัดการเรียนรู้เกษตร อาหาร โภชนาการและ สุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 8.2 : การน าภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนการจัดกิจกรรม เรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 8.3 : มีการผลิตสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ด้าน เกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านลำทับ จังหวัด กระบี่
รหัสโครงการ ศรร.1413-091
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายคณิต โอทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โรงเรียนบ้านลำทับ
“ โรงเรียนบ้านลำทับ ”
34/1 หมู่ที่5 ตำบลลำทับ อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่หัวหน้าโครงการ
นายคณิต โอทอง
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านลำทับ
ที่อยู่ 34/1 หมู่ที่5 ตำบลลำทับ อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่ จังหวัด กระบี่
รหัสโครงการ ศรร.1413-091 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.8
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านลำทับ จังหวัดกระบี่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 34/1 หมู่ที่5 ตำบลลำทับ อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านลำทับ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านลำทับ
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านลำทับ " ดำเนินการในพื้นที่ 34/1 หมู่ที่5 ตำบลลำทับ อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่ รหัสโครงการ ศรร.1413-091 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 150,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านลำทับ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 1201 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรงเรียนบ้านลำทับ จัดการศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีสุขภาพดี เป็นคนดี มีความสุข เกิดปัญญา และมีทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษา การประกอบอาชีพ และดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงได้จัดการเรียนรู้ที่ด้านการเกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย ที่สอดคล้องความต้องการของผู้เรียนและชุมชน จึงได้เข้าร่วมโครงการโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสและได้ดำเนินการตามหลักการของ “โครงการเด็กไทยแก้มใส” ซึ่งเป็นโครงการที่ใช้หลักบริหารจัดการ๘ องค์ประกอบของการพัฒนา คือ การเกษตรในโรงเรียน สหกรณ์นักเรียนการจัดบริการอาหารของโรงเรียน การติดตามภาวะโภชนาการ การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน การบริการด้านสุขภาพอนามัย การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ การจัดการเรียนรู้เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย นอกจากนั้นโรงเรียนบ้านลำทับมีแนวคิดในการพัฒนาโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน สู่ครัวเรือน และชุมชนเป็นการลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ให้ครัวเรือน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาการบริโภคอาหารโภชนาการและภาวะทุพโภชนาการในเด็กนักเรียนได้อย่างยั่งยืน
- เพื่อจัดระบบการติดตามประเมินผลการเฝ้าระวังในการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการได้อย่างต่อเนื่อง
- เพื่อสร้างความตระหนักให้นักเรียนในด้านสุขภาพอนามัยโภชนาการการบริโภคอาหารเชิงบูรณาการกับสหกรณ์โรงเรียนและเกษตรแบบพอเพียงในโรงเรียนสู่ชุมชน
- เพื่อสร้างภาคีครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัยโภชนาการแก้ปัญหาภาวะ ทุพโภชนาการและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- โรงเรียนแก้ปัญหาการบริโภคอาหารโภชนาการและภาวะทุพโภชนาการในเด็กนักเรียนได้อย่างยั่งยืน
- นักเรียนครูนำความรู้เรื่องการเกษตรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปเผยแพร่สู่ชุมชน
- จัดระบบการติดตามประเมินผลการเฝ้าระวังในการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการได้อย่างต่อเนื่อง
- สร้างความตระหนักให้นักเรียนในด้านสุขภาพอนามัยโภชนาการการบริโภคอาหารเชิงบูรณาการกับสหกรณ์โรงเรียนและด้านการเกษตรแบบพอเพียงในโรงเรียนสู่ชุมชน
- สร้างภาคีครือข่ายในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัยโภชนาการแก้ปัญหาภาวะทุพ โภชนาการและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน
- นักเรียนครูภูมิปัญญาท้องถิ่นนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปขยายผลสู่บ้านและชุมชนเป็นการเพิ่ม รายได้ ลดรายจ่าย
- เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครองและชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การเลี้ยงปลาในกระชัง |
||
วันที่ 23 พฤษภาคม 2559 เวลา 15:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดซื้ออาหารปลานิล 5 กระสอบ จัดซื้อพันธุ์ปลานิล 1,000 ตัว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต : นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง สามารถนำความรู้ไปต่อยอดที่บ้านของนักเรียนได้ ผลลัพธ์ : นักเรียนมีผลผลิตส่งผ่านสหกรณ์เพื่อให้โรงอาหารนำผลผลิตที่ได้ไปประกอบอาหารกลางวัน
|
418 | 0 |
2. เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร เพื่อจำหน่ายในโครงการอาหารกลางวันโดยผ่านสหกรณ์นักเรียน |
||
วันที่ 23 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1.การปลูกผักปลอดสารพิษแบบผสมผสาน เช่น ผักบุ้ง ผักกาด ผักกวางตุ้ง ฯลฯ การเลี้ยงสัตว์
|
0 | 0 |
3. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สำหรับการเกษตรเพื่อโครงการอาหารกลางวัน |
||
วันที่ 2 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
1,000 | 0 |
4. การเลี้ยงเป็ดพันธุ์เนื้อ |
||
วันที่ 2 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
0 | 0 |
5. การเลี้ยงกบในขวดพลาสติก |
||
วันที่ 2 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
0 | 0 |
6. ปลูกผักปลอดสารพิษแบบผสมผสาน |
||
วันที่ 2 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตร
|
0 | 0 |
7. ประชุมสัญจรครั้งที่1 |
||
วันที่ 12 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมสัญจรตามแผนเพื่อติดตามผล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง
|
2 | 0 |
8. open House |
||
วันที่ 14 ตุลาคม 2559 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำนักเรียนได้รับความรู้ที่ได้รับไปใช้ในครอบครัวและได้ต่อยอดเป็นอาชีพต่อไปและเพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายของครอบครัว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครองนักเรียนสามารถปลูกผักปลอดสารพิษและเลี้ยงสัตว์เพื่อใช้บริโภคในครอบครัวของตนเอง
|
1,210 | 0 |
9. กิจกรรมต้นไม้พูดได้ |
||
วันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำป้ายคติเตือนใจ โดยใช้แผ่นพลาสวูด จำนวน 50 แผ่นๆล่ะ 300 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนเกิดจิตสำนึกในการดำรงค์ชีวิตใช้หลักวิถีพอเพียง
|
1,179 | 0 |
10. กิจกรรมแม่ครัวหัวป่า อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบอาหาร |
||
วันที่ 28 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบอาหารเรื่อง วิธีการประกอบอาหารให้ถูกหลักโภชนาการโดยใช้เมนูเพื่อสุขภาพตามโปรแกรม Thai School Lunch จำนวน 10 คน วิทยากร 2 คน รวม 12 คน ใช้เวลา 1 วัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ประกอบอาหารมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการประกอบอาหารให้ถูกหลักโภชนาการและสามารถนำมาปฏิบัติในชีวิตจริงได้
|
12 | 0 |
11. อบรมแกนนำผู้ปกครอง ให้ความรู้การประกอบอาหาร |
||
วันที่ 29 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบอาหาร เรื่องวิธีการประกอบอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ จำนวน73 คน วิทยากร 2 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้เรื่องการประกอบอาหารที่ถูกหลักโภชนาการและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการประกอบอาหารเพื่อให้ถูกหลักโภชนาการและจะส่งผลต่อการมีสุขภาพที่ดีของสมาชิกในครอบครัว
|
95 | 75 |
12. กิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน |
||
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำครูเยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อติดตามผลผลิตทางการเกษตรที่ผู้ปกครองได้รับเมล็ดพันธ์จากโรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครองนักเรียนได้นำเมล็ดพันธ์ที่โรงเรียนให้ไปปลูกและได้เก็บผลผลิต
|
464 | 0 |
13. การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร |
||
วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมเข้าค่ายค่ายต้นกล้า รุ่นที่ ๒ เชิญวิทยากรจากกลุ่มแม่บ้านหมู่ที่ ๕ ตำบลลำทับ อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่ มาให้ความรู้นักเรียนชมรมเชฟน้อยช่างคิด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนและผูปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปจอยอดในการสร้างอาชีพเพิ่มรายได้
|
73 | 0 |
14. การทำปุ๋ยหมัก |
||
วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเชิญวิทยากรจากศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอดพียงบ้านเขาดินและศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านทุางไทรทอง และเกษตรอำเภอลำทับ มาให้ความรู้นักเรียแกนนำชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ จำนวน ๖๐ คน ใช้เวลา ๒ วัน ๑ คืน และมีครูผู้รับผิดชอบโครงการ ๕ คน ผู้ปกครองนักเรียน ๕ คน และวิทยากรผู้ให้ความรู้ ๓ คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียน ครู และผูุ้มชนปกครอง มีความรู้ในการทำปุ๋ยหมัก และสามารถได้ลงมือปฏิบัติจริงทำให้เกิดทักษะการเรียนรู้และสามารถทำปุ๋ยหมักได้ด้วยตนเอง สงเสริมการทำเกษตรอินทรีย์ในครัวเรือนและชุมชน
|
73 | 73 |
15. การสหกรณ์ในโรงเรียนและการทำบัญชี |
||
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้เรื่อง การสหกรณ์ในโรงเรียน และการกระทำจัดทำบัญชี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีความรู้เรื่องการสหกรณ์ในโรงเรียน และการกระทำจัดทำบัญชีและสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันของนักเรียน
|
471 | 478 |
16. จัดกิจกรรมค่าย อสม.น้อย |
||
วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมค่าย อสม.น้อย เชิญวิทยากรมาให้ความรู้เรื่องการคุ้มครองผู้บริโภคและการทดสอบสารปนเปื้อนในอาหารและน้ำ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้และสามารถนำความรู้ที่อบรมาใช้ในการดำรงค์ชีวิต
|
60 | 0 |
17. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ |
||
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำคืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
|
0 | 0 |
18. ประชุมตรวจเอกสารการดำเนินงาน (งวด 3) |
||
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำเอกสารการเงินปิดงบ และประเมินศูนย์การเรียนรู้และประเมินคุณค่าในระบบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเอกสารปิดงบได้ดำเนินการไปอย่างถูกต้องและมีการแนะนำในการจัดทำเอกสารการเงินจากเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบอย่างดีเยี่ยม
|
2 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาการบริโภคอาหารโภชนาการและภาวะทุพโภชนาการในเด็กนักเรียนได้อย่างยั่งยืน ตัวชี้วัด : มาตรฐานที่ 1 : การบริหารจัดการสู่การเป็นโรงเรียนต้นแบบ เด็กไทยแก้มใส ตัวชี้วัดที่ 1.1 : โรงเรียนมีนโยบายและแผนปฏิบัติงานที่นำไปสู่เป้าหมาย การเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ตัวชี้วัดที่ 1.2 : มีความมุ่งมั่นตั้งใจและได้รับความร่วมมืออย่างดีจาก เครือข่ายทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ตัวชี้วัดที่ 1.3 : มีฐานข้อมูลด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพนักเรียน ที่เป็นปัจจุบัน ตัวชี้วัดที่ 1.4 : มีแผนพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพ ตัวชี้วัดที่ 1.5 : มีความพร้อมในการพัฒนาสู่การเป็นแหล่งเรียนรู้ “เด็กไทยแก้มใส” (ด้านการจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจร) ตัวชี้วัดที่ 1.6 : โรงเรียนมีระบบการกับ ติดตาม และประเมินผล การ พัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส มาตรฐานที่ 2 : กระบวนการดำเนินงานพัฒนาโรงเรียนต้นแบบ เด็กไทยแก้มใส 1 : เกษตรในโรงเรียน ตัวชี้วัดที่ 1.1 : โรงเรียนมีการผลิตทางเกษตร และเลี้ยงสัตว์หรือประมง โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน ชุมชนและเครือข่าย ตัวชี้วัดที่ 1.2 : มีการน าผลผลิตทางการเกษตร ปศุสัตว์ และประมง ไป ใช้ในโครงการอาหารกลางวันนักเรียน 2 : สหกรณ์นักเรียน ตัวชี้วัดที่ 2.1 : มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิก และดำเนินการโดยนักเรียน 3 : การจัดบริการอาหารนักเรียน ตัวชี้วัดที่ 3.1 : มีการจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือน ตามมาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับภาวะสุขภาพ และผลผลิตทางการเกษตรในโรงเรียนหรือชุมชน ตัวชี้วัดที่ 3.2 : มีการปรุง ประกอบอาหาร ถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และอาหารปลอดภัย ตัวชี้วัดที่ 3.3 : มีการตักอาหารให้นักเรียนตามปริมาณและสัดส่วน ของธงโภชนาการที่เหมาะสมกับวัย และทันเวลา ตัวชี้วัดที่ 3.4 : มีการจัดอาหารว่าง ขนม และเครื่องดื่มที่ได้มาตรฐาน โภชนาการ 4 : การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและ สมรรถภาพทางกายนักเรียน ตัวชี้วัดที่ 4.1 : มีระบบเผ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพ ทางกายของนักเรียน 8 : การจัดการเรียนรู้เกษตร อาหาร โภชนาการและ สุขภาพ ตัวชี้วัดที่ 8.1 : มีแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการและกิจกรรม ที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส ตัวชี้วัดที่ 8.2 : การน าภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนการจัดกิจกรรม เรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ ตัวชี้วัดที่ 8.3 : มีการผลิตสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ด้าน เกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ |
||||
2 | เพื่อจัดระบบการติดตามประเมินผลการเฝ้าระวังในการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการได้อย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : มาตรฐานที่ 2 : กระบวนการดำเนินงานพัฒนาโรงเรียนต้นแบบ เด็กไทยแก้มใส 4 : การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและ สมรรถภาพทางกายนักเรียน ตัวชี้วัดที่ 4.1 : มีระบบเผ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพ ทางกายของนักเรียน |
||||
3 | เพื่อสร้างความตระหนักให้นักเรียนในด้านสุขภาพอนามัยโภชนาการการบริโภคอาหารเชิงบูรณาการกับสหกรณ์โรงเรียนและเกษตรแบบพอเพียงในโรงเรียนสู่ชุมชน ตัวชี้วัด : มาตรฐานที่ 2 : กระบวนการดำเนินงานพัฒนาโรงเรียนต้นแบบ เด็กไทยแก้มใส 2 : สหกรณ์นักเรียน ตัวชี้วัดที่ 2.1 : มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิก และดำเนินการโดยนักเรียน 1 : เกษตรในโรงเรียน ตัวชี้วัดที่ 1.1 : โรงเรียนมีการผลิตทางเกษตร และเลี้ยงสัตว์หรือประมง โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน ชุมชนและเครือข่าย ตัวชี้วัดที่ 1.2 : มีการน าผลผลิตทางการเกษตร ปศุสัตว์ และประมง ไป ใช้ในโครงการอาหารกลางวันนักเรียน 5 : การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน ตัวชี้วัดที่ 5.1 : มีกิจกรรมดำเนินการด้านพัฒนาสุขนิสัยและการ ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนอย่างเป็นรูปธรรม 7 : การจัดบริการสุขภาพนักเรียน ตัวชี้วัดที่ 7.1 : มีการให้บริการตรวจสุขภาพนักเรียน และให้การดูแล ช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม 8 : การจัดการเรียนรู้เกษตร อาหาร โภชนาการและ สุขภาพ ตัวชี้วัดที่ 8.3 : มีการผลิตสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ด้าน เกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ |
||||
4 | เพื่อสร้างภาคีครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัยโภชนาการแก้ปัญหาภาวะ ทุพโภชนาการและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ตัวชี้วัด : มาตรฐานที่ 2 : กระบวนการดำเนินงานพัฒนาโรงเรียนต้นแบบ เด็กไทยแก้มใส 4 : การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและ สมรรถภาพทางกายนักเรียน ตัวชี้วัดที่ 4.1 : มีระบบเผ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพ ทางกายของนักเรียน 6 : การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ตัวชี้วัดที 6.1 : โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาล อนามัย สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน 8 : การจัดการเรียนรู้เกษตร อาหาร โภชนาการและ สุขภาพ ตัวชี้วัดที่ 8.2 : การน าภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนการจัดกิจกรรม เรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ ตัวชี้วัดที่ 8.3 : มีการผลิตสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ด้าน เกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านลำทับ จังหวัด กระบี่
รหัสโครงการ ศรร.1413-091
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายคณิต โอทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......