ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านลำทับ |
สังกัด | ?? |
หน่วยงานต้นสังกัด | ?? |
ที่อยู่โรงเรียน | 34/1 หมู่ที่ 5 ตำบลลำทับ อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่ |
จำนวนนักเรียน | 1,144 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม |
ผู้อำนวยการ | นายคณิต โอทอง |
ครูผู้รับผิดชอบ | นายทวีศักดิ์ ดำมุสิทธ์ิ |
จัดทำเอกสารการเงินปิดงบ และประเมินศูนย์การเรียนรู้และประเมินคุณค่าในระบบ
เอกสารปิดงบได้ดำเนินการไปอย่างถูกต้องและมีการแนะนำในการจัดทำเอกสารการเงินจากเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบอย่างดีเยี่ยม
คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
จัดกิจกรรมค่าย อสม.น้อย เชิญวิทยากรมาให้ความรู้เรื่องการคุ้มครองผู้บริโภคและการทดสอบสารปนเปื้อนในอาหารและน้ำ
นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้และสามารถนำความรู้ที่อบรมาใช้ในการดำรงค์ชีวิต
อบรมให้ความรู้เรื่อง การสหกรณ์ในโรงเรียน และการกระทำจัดทำบัญชี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔-๖
นักเรียนมีความรู้เรื่องการสหกรณ์ในโรงเรียน และการกระทำจัดทำบัญชีและสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันของนักเรียน
จัดกิจกรรมเข้าค่ายค่ายต้นกล้า รุ่นที่ ๒ เชิญวิทยากรจากกลุ่มแม่บ้านหมู่ที่ ๕ ตำบลลำทับ อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่ มาให้ความรู้นักเรียนชมรมเชฟน้อยช่างคิด
นักเรียนและผูปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปจอยอดในการสร้างอาชีพเพิ่มรายได้
เชิญวิทยากรจากศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอดพียงบ้านเขาดินและศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านทุางไทรทอง และเกษตรอำเภอลำทับ มาให้ความรู้นักเรียแกนนำชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ จำนวน ๖๐ คน ใช้เวลา ๒ วัน ๑ คืน และมีครูผู้รับผิดชอบโครงการ ๕ คน ผู้ปกครองนักเรียน ๕ คน และวิทยากรผู้ให้ความรู้ ๓ คน
นักเรียน ครู และผูุ้มชนปกครอง มีความรู้ในการทำปุ๋ยหมัก และสามารถได้ลงมือปฏิบัติจริงทำให้เกิดทักษะการเรียนรู้และสามารถทำปุ๋ยหมักได้ด้วยตนเอง สงเสริมการทำเกษตรอินทรีย์ในครัวเรือนและชุมชน
ครูเยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อติดตามผลผลิตทางการเกษตรที่ผู้ปกครองได้รับเมล็ดพันธ์จากโรงเรียน
ผู้ปกครองนักเรียนได้นำเมล็ดพันธ์ที่โรงเรียนให้ไปปลูกและได้เก็บผลผลิต
จัดทำป้ายคติเตือนใจ โดยใช้แผ่นพลาสวูด จำนวน 50 แผ่นๆล่ะ 300 บาท
นักเรียนเกิดจิตสำนึกในการดำรงค์ชีวิตใช้หลักวิถีพอเพียง
นักเรียนได้รับความรู้ที่ได้รับไปใช้ในครอบครัวและได้ต่อยอดเป็นอาชีพต่อไปและเพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายของครอบครัว
ผู้ปกครองนักเรียนสามารถปลูกผักปลอดสารพิษและเลี้ยงสัตว์เพื่อใช้บริโภคในครอบครัวของตนเอง
ประชุมสัญจรตามแผนเพื่อติดตามผล
มีการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง
-
โรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตร
-
-
-
-
-
-
จัดซื้ออาหารปลานิล 5 กระสอบ จัดซื้อพันธุ์ปลานิล 1,000 ตัว
ผลผลิต : นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง สามารถนำความรู้ไปต่อยอดที่บ้านของนักเรียนได้ ผลลัพธ์ : นักเรียนมีผลผลิตส่งผ่านสหกรณ์เพื่อให้โรงอาหารนำผลผลิตที่ได้ไปประกอบอาหารกลางวัน
อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบอาหาร เรื่องวิธีการประกอบอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ จำนวน73 คน วิทยากร 2 คน
รวม 75 คน ใช้เวลา 1 วัน
ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้เรื่องการประกอบอาหารที่ถูกหลักโภชนาการและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการประกอบอาหารเพื่อให้ถูกหลักโภชนาการและจะส่งผลต่อการมีสุขภาพที่ดีของสมาชิกในครอบครัว
อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบอาหารเรื่อง วิธีการประกอบอาหารให้ถูกหลักโภชนาการโดยใช้เมนูเพื่อสุขภาพตามโปรแกรม Thai School Lunch จำนวน 10 คน วิทยากร 2 คน รวม 12 คน ใช้เวลา 1 วัน
ผู้ประกอบอาหารมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการประกอบอาหารให้ถูกหลักโภชนาการและสามารถนำมาปฏิบัติในชีวิตจริงได้
- จัดซื้อพันธุ์ผัก
- มูลสัตว์
- จัดซื้อพันธุ์กบ อาหารกบ
- จัดซื้อพันธุ์เป็ด อาหารเป็ด ข้าวเปลือก
- ซื้อเมล็ดพันธุ์ผัก จำนวน 1,000 ซอง สำหรับแจกให้นักเรียนนำไปขยายผลที่บ้านของนักเรียน
ผลผลิต 1.การปลูกผักปลอดสารพิษแบบผสมผสาน เช่น ผักบุ้ง ผักกาด ผักกวางตุ้ง ฯลฯ
2. เลี้ยงกบในขวดพลาสติก จำนวน 300 ตัว
3. เลี้ยงเป็ดพันธุ์ไข่ จำนวน 20 ตัว
ผลลัพธ์
การเกษตร
1.นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษแบบผสมผสาน ด้วยการฝึกปฏิบัติจริง 2.ใช้ปุ๋ยชีวภาพในการปลูกผัก 3.นักเรียนจัดทำบัญชีรายรับ–รายจ่ายด้วยตนเอง 4.เป็นการส่งเสริมให้นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน 5.มีการจำหน่ายผลผลิตให้โครงการอาหารกลางวัน 6.นักเรียนและบุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้อง สามารถนำไปเป็นแบบอย่างในการสร้างรายได้ในครอบครัวเพิ่มขึ้น
การเลี้ยงสัตว์
1.นักเรียนโรงเรียนบ้านลำทับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ทุกคน ได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงกบในขวดพลาสติกโดยการฝึกปฏิบัติจริง 2.ส่งกบจำหน่ายในชุมชน 3.นักเรียนจัดทำบัญชีรายรับ – รายจ่ายด้วยตนเอง 3. นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน 4. นักเรียนนำไปใช้เป็นแนวทางในการสร้างรายได้ในครัวเรือน และ ขยายผลสู่ชุมชน
การเลี้ยงเป็ดพันธ์ไข่ 1.นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงเป็ดพันธุ์ไข่ด้วยการฝึกปฏิบัติจริง 2.นักเรียนจัดทำบัญชีรายรับ – รายจ่ายด้วยตนเอง 3.เป็นการส่งเสริมให้นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน 4. นักเรียนและบุคลากรนำไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการสร้างรายได้ในครัวเรือน และ ขยายผลสู่ชุมชน