แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โรงเรียนบ้านกุยเหนือ
“ โรงเรียนบ้านกุยเหนือ ”
เลขที่17หมู่ที่ 9 ตำบลช้างกลาง อำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัญชลี นามสนธิ์
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านกุยเหนือ
ที่อยู่ เลขที่17หมู่ที่ 9 ตำบลช้างกลาง อำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช
รหัสโครงการ ศรร.1412-095 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.12
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านกุยเหนือ จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เลขที่17หมู่ที่ 9 ตำบลช้างกลาง อำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านกุยเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านกุยเหนือ
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านกุยเหนือ " ดำเนินการในพื้นที่ เลขที่17หมู่ที่ 9 ตำบลช้างกลาง อำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช รหัสโครงการ ศรร.1412-095 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านกุยเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 161 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านกุยเหนือจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
- นักเรียนสามารถเลือกอาหารที่มีประโยชน์และเหมาะสมให้กับตนเองและครอบครัว
- เพื่อระดมทุนให้โรงเรียนมีกองทุนหมุนเวียนในการดำเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสอย่างยั่งยืน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- โรงเรียนบ้านกุยเหนือ ได้น้อมนำรูปแบบที่ดี “ด้านการจัดการอาหาร โภชนาการและสุขภาพนักเรียน อย่างครบวงจรในโครงการพระราชดำริฯ” มาปฏิบัติและพัฒนาโรงเรียนโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ให้นักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์ สติ ปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิต สามารถนำไปใช้ได้จริง
- ให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น ได้รับประทานอาหารเช้า ชอบกินผักนักเรียนชอบดื่มนมไม่ชอบดื่มน้ำอัดลมไม่ชอบขนมกรุบกรอบและไม่ชอบอาหารที่มีสีสัน ทำให้ลดปัญหาทุบโภชนการ
- โรงเรียนมีกองทุนหมุนเวียนเพื่ออาหารเช้าและอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนในโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส โดยพ่อแม่ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน และจัดสภาพแวดล้อมอาหารที่ดี
- เป็นศูนย์การเรียนรู้ของชุมชนและสังคม ในเรืองอาหารโภชนการ รวมทั้งสุขภาพของเด็กวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดทำที่แปลงฟันให้กับนักเรียน
วันที่ 20 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำอ่าง สำหรับให้นักเรียนใช้แปลงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต นักเรียนมีที่สำหรับแปลงฟันเพียงพอ จำนวน 1ที่/นักเรียน 20 คน
ผลลัพธ์ นักเรียนมีสุขภาพฟันที่สมบูรณ์แข็งแรง ร้อย 90
109
117
2. จัดทำป้ายนิเทศน์ส่งเสริมความรู้เรื่องสหกรณ์ให้นักเรียน
วันที่ 5 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงการดำเนินงานกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนต่อคณะกรรมการสถานศึกษา
- ประชุมชี้แจงการดำเนินงานให้กับสมาชิกสหกรณ์และคณะครูทราบ
- เลือกตั้งคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน
- แต่งตั้งคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน
- จัดนิทรรศการและแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับสหกรณ์นักเรียน
- ให้ความรู้กับนักเรียนในการดำเนินงานสหกรณ์โดยการเป็นฐาฯการเรียนรู้
- สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
- ป้ายนิทรรศการการดำเนินสหกรณ์จำนวน4ป้าย
- นักเรียนคณะครูและบุคลากรโรงเรียนบ้านกุยเหนือทุกคนเป็นสมาชิกสหกรณ์นักเรียน
ผลลัพธ์ นักเรียนและคณะครูโรงเรียนบ้านกุยเหนือได้เรียนรู้การดำเนินงานกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
63
0
3. เปิด-ถอนเงินเปิดบัญชี
วันที่ 23 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ถอนเงินเปิดบัญชี
0
0
4. การเลี้ยงปลาดุก/กบ
วันที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมชี้แจงนักเรียน 16 พฤษภาคม 2559
2.ประชุมชี้แจงครู
3.ประชุมชี้แจงผู้ปกครอง 9 มิถุนายน 2559
4.คณะกรรมการนักเรียนวางแผนการทำเกษตร ปลูกผัก
3.ต่อยอดการเลี้ยงปลาดุกจากภาคเรียนที่แล้ว(ซื้ออาหารปลาดุก)
4.นำปลาดุกมาจำหน่ายให้สหกรณ์เพื่อขายต่อให้กับโครงการอาหารกลาวงวัน ใช้เวลา 71 วัน จำหน่ายหมดวันที่ 25 กรกฏาคม 2558
5.ล้างบ่อปลาเพื่อลงปลาดุกและกบุรุ่นใหม่
6. เลี้ยงปลาดุกรุ่นใหม่ 8 สิงหาคม 2559
สรุปผลการจำหน่ายผลผลิตจากการปลาดุก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
- ปลาดุกจำนวน 2,500ตัว
- นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันจากการเลี้ยงทุกสัปดาห์ ๆละมื้อ โดยใช้ประกอบอาหารให้กับนักเรียนครั้งละ10กิโลกรัมๆละ 7-8ตัว
ผลลัพธ์
- นักเรียนมีความรู้และได้ปฏิบัติจริงในการเรียนรู้การเลี้ยงปลาดุก
219
0
5. จัดค่ายให้ความรู้กับนักเรียนในการพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนระดับประถม
วันที่ 25 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนทั้งหมด 102 คน และครู 8 คน ได้รับการพัฒนาสุขนิสัยที่ดี
- ครูได้รับการพัฒนาให้ความรู้กับนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ครูและนักเรียนมีความรู้ความสามารถในการบูรณาการสุขนิสัยไปใช้ในชีวิตประจำวัน
111
110
6. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานสรุปการเงิน(ง.1)และรายงานการดำเนินงาน
วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบโครงการได้รับการพัฒนา ความรู้และประสบการณ์โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
2
2
7. จัดทำเอกสารติดตามโภชนาการประจำตัวนักเรียน
วันที่ 18 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- สำรวจข้อมูลการติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ทั้งหมด 103 คน
- จัดทำเอกสารติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียน เพื่อนำไปใช้เก็บข้อมูลสารสนเทศ ด้านสุขภาพของนักเรียน
- ข้อมูลการติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนมีการส่งต่อเพื่อการดูแลรักษาสุขภาพ
- นำข้อมูลไปใช้ในการดำเนินงานโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร และโครงอื่นที่เกี่ยวข้อง
- สรุปผลการจัดทำข้อมูล ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิด
1. มีข้อมูลสารสนเทศด้านภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ทั้งหมดทุกคน
2. มีข้อมูลภาวะโภชนาการของนักเรียน เพื่อการบริหารจัดการในโรงเรียน และขยายผลสู่เครือข่ายทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา
ผลลัพธ์
1. โรงเรียนได้รับการติดตามข้อมูลภาวะโภชนาการจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 1 ครั้ง จากศูนย์ส่งเสริมสุขภาพอนามัยที่ 11 จำนวน 2 ครั้ง
2. โรงเรียนได้รับการประเมินโครงการส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร และผ่านการคัดเลือกให้ได้รับการประเมินโรงเรียนต้นแบบนักเรียนไทยสุขภาพดี
113
118
8. ทำปุ๋ยชีวภาพ
วันที่ 18 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ให้นักเรียนคัดแยกเศษอาหารที่สามารถทำปุ๋ยชีวภาพ เช่น เศษผัก เศษผลไม้และเศษอาหารที่เหลือจากอาหารกลางวัน และนมโรงเรียนที่หมดอายุ
- ให้ความรู้กับนักเรียนในกระบวนการจัดทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
- จัดหาวัสดุอุปกรณ์ เช่น กากน้ำตาล มูลสัตว์ และภาชนะ ในการผลิดปุ๋ยชีวภาพ
- นำผลผลิตที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับการเกษตรในโรงเรียนอย่างแท้จริง
- มีการสร้างเครือข่ายกับเกษตรกรที่มีความรู้ ในชุมชนเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
- สรุปผลการดำเนินงาน เพื่อนำผลที่ได้รายงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. ปุ๋ยหม้กชีวภาพ จำนวน 200 กระสอบ
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ผลิตปุ๋ยชีวภาพ ทุกคน
2. นักเรียนนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ 100
101
122
9. น้ำหมักชีวภาพ
วันที่ 18 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ให้ความรู้กับนักเรียนในกระบวนการจัดทำน้ำหมักชีวภาพ
- ให้นักเรียนบูรณาการน้ำหมักชีวภาพ จากเปลือกผลไม้ เช่นกล้วย และสัปรด จากสัตว์ เช่น ปลา และนม
- จัดหาวัสดุอุปกรณ์ เช่น กากน้ำตาล และภาชนะ ในการผลิดน้ำหมักชีวภาพ
- นำผลผลิตที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับการเกษตรในโรงเรียนอย่างแท้จริง
- มีการสร้างเครือข่ายกับเกษตรกรที่มีความรู้ ในชุมชนเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
- สรุปผลการดำเนินงาน เพื่อนำผลที่ได้รายงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. น้ำหมักชีวภาพ จำนวน 100 ขวด
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ผลิตน้ำหมักชีวภาพ ทุกคน
2. นักเรียนนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ 100
101
120
10. ปลูกผัก
วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงการดำเนินการให้กับนักเรียนในเรือ่งการจัดทำแปลงผักเพื่อการเรียนรู้
- บูรณาการให้สอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
3.ดำเนินกิจกรรมโดยให้หน่วยงานภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- มีการวัดผลประเมินการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย
5.สรุปผลการจัดกิจกรรมโดยส่งผลการดำเนินงานให้มีการประเมินโรงเรียนในโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร โรงเรียนต้นแบบนักเรียนไทยสุขภาพดี
โรงเรียนต้านแบบสภานักเรียน โรงเรียนต้นแบบสหกรณ์นักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. แปลงเกษตรเพื่ออาหารกลาง 20 กระถาง
2. แปลงสาธิตการปลูกข้าวในปล่องซีเมนต์ 60 ปล่อง
3. ผักสวนครัว รั้วกินได้ ชะอม ผักเขลียง มะขาม 3 แปลง
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการทำเกษตรเพื่ออาหารกลางวันและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ 95
2. นักเรียนได้รับประทานผักจากการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันอย่างต่อเนื่อง 100%
3. ภาวะการเจริญเติบโตของนักเรียนดีขึ้น ร้อยละ 90
102
124
11. อบรมแม่ครัว ผู้ปกครอง และแกนนำนักเรียน
วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- อบรมครูที่รับผิดชอบภาวะโภชนาการวัยเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจในการจัดเมนูอาหารกลางวัน
- จัดทำเมนูอาหารกลางวันไว้ล่วงหน้า เพื่อจะได้ทราบปริมาณสารอาหารที่นักเรียนจะได้รับในแต่ละสัปดาห์
- นำความรู้ในการกำหนดเมนูมาขยายผลให้ผู้ปกครองและแม่ครัว
- นำผลจากการให้ความรู้สู่การปฏิบัติจริง โดยนักเรียนมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน
- มีการรายงานผลภาวะการเจริญเติบโตให้นักเรียนทราบทุกเดือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. ผู้ปกครองจำนวน 100 คน แม่ครัว 1 คน แกนนำนักเรียน 30 คน และครู/บุคลากรในโรงเรียน 13 คน ได้รับการอบรมภาวะโภชนาการวัยเรียน
2. มีข้อมูลเมนูอาหารกลางวันของนักเรียนจำนวน 1 ปีการศึกษา
ผลลัพธ์
1. ภาวะโภชนาการของนักเรียนได้รับการพัฒนาดีขึ้น ร้อยละ 95
2. ภาวะโภชนาการของนักเรียนเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน คือ อ้วยไม่เกิน ร้อยละ 7 และเตี้ยไม่เกิน ร้อยละ 5
150
143
12. จัดฐานการเรียนให้กับนักเรียนในเรื่องโภชนาการการเกษตรและสหกรณ์
วันที่ 17 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดฐานเรียนรู้ให้กับนักเรียน จำนวน 3 ฐาน คือ
1.ฐานโภชนาการวัยเรียน
2.ฐานสหกรณ์นักเรียน
3.ฐานการเรียนรู้การเกษตร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1.ฐานการเรียนรู้โภชนาการวัยเรียน 1 ฐาน
2.ฐานการเรียนรู้สหกรณ์นักเรียน 1 ฐาน
3.ฐานการเรียนรู้การเกษตร 1 ฐาน
ผลลัพธ์
1.นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการเรียนรู้ฐานโภชนาการ ฐานสหกรณ์ และฐานการเกษตร ร้อยละ 90
2.นักเรียนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ร้อยละ 95
3. นักเรียนโรงเรียนบ้านกุยเหนือมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของโภชนาการวัยเรียน สหกรณ์นักเรียน และการเกษตร ร้อยละ 100
117
114
13. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานสรุปการเงิน(ง.2)และรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
วันที่ 4 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เล่มทำรายงานสรุปการเงิน(ง.2)และรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
4
4
14. การแต่งตั้งคณะกรรมการสหกรณ์โรงเรียน ปี ๒๕๖๑
วันที่ 5 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เบิก-ถอน เงินดอกเบี้ยบัญชี
1
1
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีรูปร่างดี สมส่วน อย่างน้อยร้อยละ 80
2
นักเรียนสามารถเลือกอาหารที่มีประโยชน์และเหมาะสมให้กับตนเองและครอบครัว
ตัวชี้วัด : นักเรียนเลือกอาหารที่มีประโยชน์ให้กับตนเองและครอบครัวได้ร้อยละ 85
3
เพื่อระดมทุนให้โรงเรียนมีกองทุนหมุนเวียนในการดำเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีกองทุนหมุนเวียนในการดำเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสอย่างยั่งยืน ร้อยละ 100
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านกุยเหนือ จังหวัด นครศรีธรรมราช
รหัสโครงการ ศรร.1412-095
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอัญชลี นามสนธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โรงเรียนบ้านกุยเหนือ
“ โรงเรียนบ้านกุยเหนือ ”
เลขที่17หมู่ที่ 9 ตำบลช้างกลาง อำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราชหัวหน้าโครงการ
นางสาวอัญชลี นามสนธิ์
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านกุยเหนือ
ที่อยู่ เลขที่17หมู่ที่ 9 ตำบลช้างกลาง อำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช
รหัสโครงการ ศรร.1412-095 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.12
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านกุยเหนือ จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เลขที่17หมู่ที่ 9 ตำบลช้างกลาง อำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านกุยเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านกุยเหนือ
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านกุยเหนือ " ดำเนินการในพื้นที่ เลขที่17หมู่ที่ 9 ตำบลช้างกลาง อำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช รหัสโครงการ ศรร.1412-095 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านกุยเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 161 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านกุยเหนือจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
- นักเรียนสามารถเลือกอาหารที่มีประโยชน์และเหมาะสมให้กับตนเองและครอบครัว
- เพื่อระดมทุนให้โรงเรียนมีกองทุนหมุนเวียนในการดำเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสอย่างยั่งยืน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- โรงเรียนบ้านกุยเหนือ ได้น้อมนำรูปแบบที่ดี “ด้านการจัดการอาหาร โภชนาการและสุขภาพนักเรียน อย่างครบวงจรในโครงการพระราชดำริฯ” มาปฏิบัติและพัฒนาโรงเรียนโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ให้นักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์ สติ ปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิต สามารถนำไปใช้ได้จริง
- ให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น ได้รับประทานอาหารเช้า ชอบกินผักนักเรียนชอบดื่มนมไม่ชอบดื่มน้ำอัดลมไม่ชอบขนมกรุบกรอบและไม่ชอบอาหารที่มีสีสัน ทำให้ลดปัญหาทุบโภชนการ
- โรงเรียนมีกองทุนหมุนเวียนเพื่ออาหารเช้าและอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนในโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส โดยพ่อแม่ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน และจัดสภาพแวดล้อมอาหารที่ดี
- เป็นศูนย์การเรียนรู้ของชุมชนและสังคม ในเรืองอาหารโภชนการ รวมทั้งสุขภาพของเด็กวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดทำที่แปลงฟันให้กับนักเรียน |
||
วันที่ 20 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต นักเรียนมีที่สำหรับแปลงฟันเพียงพอ จำนวน 1ที่/นักเรียน 20 คน
ผลลัพธ์ นักเรียนมีสุขภาพฟันที่สมบูรณ์แข็งแรง ร้อย 90
|
109 | 117 |
2. จัดทำป้ายนิเทศน์ส่งเสริมความรู้เรื่องสหกรณ์ให้นักเรียน |
||
วันที่ 5 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
ผลลัพธ์ นักเรียนและคณะครูโรงเรียนบ้านกุยเหนือได้เรียนรู้การดำเนินงานกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
|
63 | 0 |
3. เปิด-ถอนเงินเปิดบัญชี |
||
วันที่ 23 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นถอนเงินเปิดบัญชี
|
0 | 0 |
4. การเลี้ยงปลาดุก/กบ |
||
วันที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมชี้แจงนักเรียน 16 พฤษภาคม 2559
2.ประชุมชี้แจงครู ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
ผลลัพธ์
|
219 | 0 |
5. จัดค่ายให้ความรู้กับนักเรียนในการพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนระดับประถม |
||
วันที่ 25 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
111 | 110 |
6. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานสรุปการเงิน(ง.1)และรายงานการดำเนินงาน |
||
วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบโครงการได้รับการพัฒนา ความรู้และประสบการณ์โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
|
2 | 2 |
7. จัดทำเอกสารติดตามโภชนาการประจำตัวนักเรียน |
||
วันที่ 18 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิด 1. มีข้อมูลสารสนเทศด้านภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ทั้งหมดทุกคน 2. มีข้อมูลภาวะโภชนาการของนักเรียน เพื่อการบริหารจัดการในโรงเรียน และขยายผลสู่เครือข่ายทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ผลลัพธ์ 1. โรงเรียนได้รับการติดตามข้อมูลภาวะโภชนาการจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 1 ครั้ง จากศูนย์ส่งเสริมสุขภาพอนามัยที่ 11 จำนวน 2 ครั้ง 2. โรงเรียนได้รับการประเมินโครงการส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร และผ่านการคัดเลือกให้ได้รับการประเมินโรงเรียนต้นแบบนักเรียนไทยสุขภาพดี
|
113 | 118 |
8. ทำปุ๋ยชีวภาพ |
||
วันที่ 18 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1. ปุ๋ยหม้กชีวภาพ จำนวน 200 กระสอบ ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ผลิตปุ๋ยชีวภาพ ทุกคน 2. นักเรียนนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ 100
|
101 | 122 |
9. น้ำหมักชีวภาพ |
||
วันที่ 18 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1. น้ำหมักชีวภาพ จำนวน 100 ขวด ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ผลิตน้ำหมักชีวภาพ ทุกคน 2. นักเรียนนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ 100
|
101 | 120 |
10. ปลูกผัก |
||
วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
1. แปลงเกษตรเพื่ออาหารกลาง 20 กระถาง
|
102 | 124 |
11. อบรมแม่ครัว ผู้ปกครอง และแกนนำนักเรียน |
||
วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1. ผู้ปกครองจำนวน 100 คน แม่ครัว 1 คน แกนนำนักเรียน 30 คน และครู/บุคลากรในโรงเรียน 13 คน ได้รับการอบรมภาวะโภชนาการวัยเรียน 2. มีข้อมูลเมนูอาหารกลางวันของนักเรียนจำนวน 1 ปีการศึกษา ผลลัพธ์ 1. ภาวะโภชนาการของนักเรียนได้รับการพัฒนาดีขึ้น ร้อยละ 95 2. ภาวะโภชนาการของนักเรียนเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน คือ อ้วยไม่เกิน ร้อยละ 7 และเตี้ยไม่เกิน ร้อยละ 5
|
150 | 143 |
12. จัดฐานการเรียนให้กับนักเรียนในเรื่องโภชนาการการเกษตรและสหกรณ์ |
||
วันที่ 17 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดฐานเรียนรู้ให้กับนักเรียน จำนวน 3 ฐาน คือ 1.ฐานโภชนาการวัยเรียน 2.ฐานสหกรณ์นักเรียน 3.ฐานการเรียนรู้การเกษตร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1.ฐานการเรียนรู้โภชนาการวัยเรียน 1 ฐาน 2.ฐานการเรียนรู้สหกรณ์นักเรียน 1 ฐาน 3.ฐานการเรียนรู้การเกษตร 1 ฐาน ผลลัพธ์ 1.นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการเรียนรู้ฐานโภชนาการ ฐานสหกรณ์ และฐานการเกษตร ร้อยละ 90 2.นักเรียนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ร้อยละ 95 3. นักเรียนโรงเรียนบ้านกุยเหนือมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของโภชนาการวัยเรียน สหกรณ์นักเรียน และการเกษตร ร้อยละ 100
|
117 | 114 |
13. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานสรุปการเงิน(ง.2)และรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ |
||
วันที่ 4 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเล่มทำรายงานสรุปการเงิน(ง.2)และรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
|
4 | 4 |
14. การแต่งตั้งคณะกรรมการสหกรณ์โรงเรียน ปี ๒๕๖๑ |
||
วันที่ 5 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเบิก-ถอน เงินดอกเบี้ยบัญชี
|
1 | 1 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น ตัวชี้วัด : นักเรียนมีรูปร่างดี สมส่วน อย่างน้อยร้อยละ 80 |
||||
2 | นักเรียนสามารถเลือกอาหารที่มีประโยชน์และเหมาะสมให้กับตนเองและครอบครัว ตัวชี้วัด : นักเรียนเลือกอาหารที่มีประโยชน์ให้กับตนเองและครอบครัวได้ร้อยละ 85 |
||||
3 | เพื่อระดมทุนให้โรงเรียนมีกองทุนหมุนเวียนในการดำเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสอย่างยั่งยืน ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีกองทุนหมุนเวียนในการดำเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสอย่างยั่งยืน ร้อยละ 100 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านกุยเหนือ จังหวัด นครศรีธรรมราช
รหัสโครงการ ศรร.1412-095
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอัญชลี นามสนธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......