ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

assignment
บันทึกกิจกรรม
การแต่งตั้งคณะกรรมการสหกรณ์โรงเรียน ปี ๒๕๖๑5 เมษายน 2017
5
เมษายน 2017รายงานจากพื้นที่ โดย ธนา เวชากุล
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เบิก-ถอน เงินดอกเบี้ยบัญชี

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย
ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานสรุปการเงิน(ง.2)และรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์4 เมษายน 2017
4
เมษายน 2017รายงานจากพื้นที่ โดย ธนา เวชากุล
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เล่มทำรายงานสรุปการเงิน(ง.2)และรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 4 คน จากที่ตั้งไว้ 4 คน
ประกอบด้วย
จัดฐานการเรียนให้กับนักเรียนในเรื่องโภชนาการการเกษตรและสหกรณ์17 มีนาคม 2017
17
มีนาคม 2017รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวอัญชลี นามสนธิ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดฐานเรียนรู้ให้กับนักเรียน  จำนวน  3  ฐาน คือ 1.ฐานโภชนาการวัยเรียน 2.ฐานสหกรณ์นักเรียน 3.ฐานการเรียนรู้การเกษตร

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1.ฐานการเรียนรู้โภชนาการวัยเรียน 1  ฐาน 2.ฐานการเรียนรู้สหกรณ์นักเรียน 1  ฐาน 3.ฐานการเรียนรู้การเกษตร  1 ฐาน ผลลัพธ์ 1.นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการเรียนรู้ฐานโภชนาการ  ฐานสหกรณ์  และฐานการเกษตร  ร้อยละ 90 2.นักเรียนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ร้อยละ  95 3. นักเรียนโรงเรียนบ้านกุยเหนือมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของโภชนาการวัยเรียน  สหกรณ์นักเรียน และการเกษตร  ร้อยละ 100

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 114 คน จากที่ตั้งไว้ 117 คน
ประกอบด้วย
อบรมแม่ครัว ผู้ปกครอง และแกนนำนักเรียน 17 กุมภาพันธ์ 2017
17
กุมภาพันธ์ 2017รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวอัญชลี นามสนธิ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. อบรมครูที่รับผิดชอบภาวะโภชนาการวัยเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจในการจัดเมนูอาหารกลางวัน
  2. จัดทำเมนูอาหารกลางวันไว้ล่วงหน้า เพื่อจะได้ทราบปริมาณสารอาหารที่นักเรียนจะได้รับในแต่ละสัปดาห์
  3. นำความรู้ในการกำหนดเมนูมาขยายผลให้ผู้ปกครองและแม่ครัว
  4. นำผลจากการให้ความรู้สู่การปฏิบัติจริง โดยนักเรียนมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน
  5. มีการรายงานผลภาวะการเจริญเติบโตให้นักเรียนทราบทุกเดือน 
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1. ผู้ปกครองจำนวน 100 คน แม่ครัว 1 คน แกนนำนักเรียน 30 คน และครู/บุคลากรในโรงเรียน 13 คน ได้รับการอบรมภาวะโภชนาการวัยเรียน 2. มีข้อมูลเมนูอาหารกลางวันของนักเรียนจำนวน 1 ปีการศึกษา ผลลัพธ์ 1. ภาวะโภชนาการของนักเรียนได้รับการพัฒนาดีขึ้น ร้อยละ 95 2. ภาวะโภชนาการของนักเรียนเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน คือ อ้วยไม่เกิน ร้อยละ 7  และเตี้ยไม่เกิน ร้อยละ 5

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 143 คน จากที่ตั้งไว้ 150 คน
ประกอบด้วย
ปลูกผัก8 กุมภาพันธ์ 2017
8
กุมภาพันธ์ 2017รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวอัญชลี นามสนธิ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ชี้แจงการดำเนินการให้กับนักเรียนในเรือ่งการจัดทำแปลงผักเพื่อการเรียนรู้
  2. บูรณาการให้สอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี 3.ดำเนินกิจกรรมโดยให้หน่วยงานภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
  3. มีการวัดผลประเมินการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย 5.สรุปผลการจัดกิจกรรมโดยส่งผลการดำเนินงานให้มีการประเมินโรงเรียนในโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร  โรงเรียนต้นแบบนักเรียนไทยสุขภาพดี โรงเรียนต้านแบบสภานักเรียน  โรงเรียนต้นแบบสหกรณ์นักเรียน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1. แปลงเกษตรเพื่ออาหารกลาง 20 กระถาง
2. แปลงสาธิตการปลูกข้าวในปล่องซีเมนต์ 60 ปล่อง 3. ผักสวนครัว รั้วกินได้ ชะอม ผักเขลียง มะขาม  3 แปลง ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการทำเกษตรเพื่ออาหารกลางวันและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ 95 2. นักเรียนได้รับประทานผักจากการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันอย่างต่อเนื่อง 100% 3. ภาวะการเจริญเติบโตของนักเรียนดีขึ้น ร้อยละ 90

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 124 คน จากที่ตั้งไว้ 102 คน
ประกอบด้วย
น้ำหมักชีวภาพ 18 ตุลาคม 2016
18
ตุลาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวอัญชลี นามสนธิ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ให้ความรู้กับนักเรียนในกระบวนการจัดทำน้ำหมักชีวภาพ
  2. ให้นักเรียนบูรณาการน้ำหมักชีวภาพ จากเปลือกผลไม้ เช่นกล้วย และสัปรด จากสัตว์ เช่น ปลา และนม
  3. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ เช่น กากน้ำตาล และภาชนะ ในการผลิดน้ำหมักชีวภาพ
  4. นำผลผลิตที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับการเกษตรในโรงเรียนอย่างแท้จริง
  5. มีการสร้างเครือข่ายกับเกษตรกรที่มีความรู้ ในชุมชนเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
  6. สรุปผลการดำเนินงาน เพื่อนำผลที่ได้รายงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1. น้ำหมักชีวภาพ จำนวน 100 ขวด ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ผลิตน้ำหมักชีวภาพ ทุกคน 2. นักเรียนนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ 100

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 120 คน จากที่ตั้งไว้ 101 คน
ประกอบด้วย
ทำปุ๋ยชีวภาพ18 ตุลาคม 2016
18
ตุลาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวอัญชลี นามสนธิ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ให้นักเรียนคัดแยกเศษอาหารที่สามารถทำปุ๋ยชีวภาพ เช่น เศษผัก เศษผลไม้และเศษอาหารที่เหลือจากอาหารกลางวัน และนมโรงเรียนที่หมดอายุ
  2. ให้ความรู้กับนักเรียนในกระบวนการจัดทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
  3. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ เช่น กากน้ำตาล มูลสัตว์ และภาชนะ ในการผลิดปุ๋ยชีวภาพ
  4. นำผลผลิตที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับการเกษตรในโรงเรียนอย่างแท้จริง
  5. มีการสร้างเครือข่ายกับเกษตรกรที่มีความรู้ ในชุมชนเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
  6. สรุปผลการดำเนินงาน เพื่อนำผลที่ได้รายงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1. ปุ๋ยหม้กชีวภาพ จำนวน 200 กระสอบ ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ผลิตปุ๋ยชีวภาพ ทุกคน 2. นักเรียนนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ 100

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 122 คน จากที่ตั้งไว้ 101 คน
ประกอบด้วย
จัดทำเอกสารติดตามโภชนาการประจำตัวนักเรียน18 ตุลาคม 2016
18
ตุลาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวอัญชลี นามสนธิ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. สำรวจข้อมูลการติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ทั้งหมด 103 คน
  2. จัดทำเอกสารติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียน เพื่อนำไปใช้เก็บข้อมูลสารสนเทศ ด้านสุขภาพของนักเรียน
  3. ข้อมูลการติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนมีการส่งต่อเพื่อการดูแลรักษาสุขภาพ
  4. นำข้อมูลไปใช้ในการดำเนินงานโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร และโครงอื่นที่เกี่ยวข้อง
  5. สรุปผลการจัดทำข้อมูล ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิด 1. มีข้อมูลสารสนเทศด้านภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ทั้งหมดทุกคน 2. มีข้อมูลภาวะโภชนาการของนักเรียน  เพื่อการบริหารจัดการในโรงเรียน และขยายผลสู่เครือข่ายทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ผลลัพธ์ 1. โรงเรียนได้รับการติดตามข้อมูลภาวะโภชนาการจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 1 ครั้ง จากศูนย์ส่งเสริมสุขภาพอนามัยที่ 11 จำนวน 2 ครั้ง 2. โรงเรียนได้รับการประเมินโครงการส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร และผ่านการคัดเลือกให้ได้รับการประเมินโรงเรียนต้นแบบนักเรียนไทยสุขภาพดี

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 118 คน จากที่ตั้งไว้ 113 คน
ประกอบด้วย
ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานสรุปการเงิน(ง.1)และรายงานการดำเนินงาน13 ตุลาคม 2016
13
ตุลาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวอัญชลี นามสนธิ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบโครงการได้รับการพัฒนา ความรู้และประสบการณ์โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย
จัดค่ายให้ความรู้กับนักเรียนในการพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนระดับประถม25 กันยายน 2016
25
กันยายน 2016รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวอัญชลี นามสนธิ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. นักเรียนทั้งหมด 102 คน และครู 8 คน ได้รับการพัฒนาสุขนิสัยที่ดี
  2. ครูได้รับการพัฒนาให้ความรู้กับนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3. ครูและนักเรียนมีความรู้ความสามารถในการบูรณาการสุขนิสัยไปใช้ในชีวิตประจำวัน
circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 110 คน จากที่ตั้งไว้ 111 คน
ประกอบด้วย
การเลี้ยงปลาดุก/กบ29 สิงหาคม 2016
29
สิงหาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวอัญชลี นามสนธิ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ประชุมชี้แจงนักเรียน 16  พฤษภาคม 2559 2.ประชุมชี้แจงครู
3.ประชุมชี้แจงผู้ปกครอง 9  มิถุนายน  2559
4.คณะกรรมการนักเรียนวางแผนการทำเกษตร  ปลูกผัก
3.ต่อยอดการเลี้ยงปลาดุกจากภาคเรียนที่แล้ว(ซื้ออาหารปลาดุก) 4.นำปลาดุกมาจำหน่ายให้สหกรณ์เพื่อขายต่อให้กับโครงการอาหารกลาวงวัน ใช้เวลา 71  วัน จำหน่ายหมดวันที่ 25  กรกฏาคม  2558
5.ล้างบ่อปลาเพื่อลงปลาดุกและกบุรุ่นใหม่
6. เลี้ยงปลาดุกรุ่นใหม่  8  สิงหาคม  2559 สรุปผลการจำหน่ายผลผลิตจากการปลาดุก

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

  1. ปลาดุกจำนวน 2,500ตัว
  2. นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันจากการเลี้ยงทุกสัปดาห์ ๆละมื้อ โดยใช้ประกอบอาหารให้กับนักเรียนครั้งละ10กิโลกรัมๆละ 7-8ตัว

ผลลัพธ์

  1. นักเรียนมีความรู้และได้ปฏิบัติจริงในการเรียนรู้การเลี้ยงปลาดุก
เปิด-ถอนเงินเปิดบัญชี23 สิงหาคม 2016
23
สิงหาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย ธนา เวชากุล
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ถอนเงินเปิดบัญชี

จัดทำป้ายนิเทศน์ส่งเสริมความรู้เรื่องสหกรณ์ให้นักเรียน5 สิงหาคม 2016
5
สิงหาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวอัญชลี นามสนธิ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมชี้แจงการดำเนินงานกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนต่อคณะกรรมการสถานศึกษา
  2. ประชุมชี้แจงการดำเนินงานให้กับสมาชิกสหกรณ์และคณะครูทราบ
  3. เลือกตั้งคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน
  4. แต่งตั้งคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน
  5. จัดนิทรรศการและแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับสหกรณ์นักเรียน
  6. ให้ความรู้กับนักเรียนในการดำเนินงานสหกรณ์โดยการเป็นฐาฯการเรียนรู้
  7. สรุปผลการดำเนินงาน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

  1. ป้ายนิทรรศการการดำเนินสหกรณ์จำนวน4ป้าย
  2. นักเรียนคณะครูและบุคลากรโรงเรียนบ้านกุยเหนือทุกคนเป็นสมาชิกสหกรณ์นักเรียน

ผลลัพธ์ นักเรียนและคณะครูโรงเรียนบ้านกุยเหนือได้เรียนรู้การดำเนินงานกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน

จัดทำที่แปลงฟันให้กับนักเรียน20 พฤษภาคม 2016
20
พฤษภาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวอัญชลี นามสนธิ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. จัดทำอ่าง สำหรับให้นักเรียนใช้แปลงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน 
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต นักเรียนมีที่สำหรับแปลงฟันเพียงพอ จำนวน 1ที่/นักเรียน 20 คน ผลลัพธ์ นักเรียนมีสุขภาพฟันที่สมบูรณ์แข็งแรง ร้อย 90

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 117 คน จากที่ตั้งไว้ 109 คน
ประกอบด้วย