แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านหัวเหล่า


“ โรงเรียนบ้านหัวเหล่า ”

69 หมู่ 11 ตำบลบก อำเภอโนนคูน จังหวัดศรีสะเกษ

หัวหน้าโครงการ
นางรัตนาภรณ์ สีตะวัน

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหัวเหล่า

ที่อยู่ 69 หมู่ 11 ตำบลบก อำเภอโนนคูน จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัด ศรีสะเกษ

รหัสโครงการ ศรร.1312-079 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.33

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านหัวเหล่า จังหวัดศรีสะเกษ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 69 หมู่ 11 ตำบลบก อำเภอโนนคูน จังหวัดศรีสะเกษ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านหัวเหล่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านหัวเหล่า



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านหัวเหล่า " ดำเนินการในพื้นที่ 69 หมู่ 11 ตำบลบก อำเภอโนนคูน จังหวัดศรีสะเกษ รหัสโครงการ ศรร.1312-079 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านหัวเหล่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 382 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนานักเรียนทุกคนให้มีความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่ดี และปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณธรรมต่อการเกษตรซึ่งเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต
  2. เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัยบริโภคตลอดปี การศึกษาและมีสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
  3. เพื่อติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
  4. เพื่อขยายเครือข่ายสู่ชุมชน โรงเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนทุกคนให้มีความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่ดีมีคุณธรรมต่อการเกษตรซึ่งเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต
    2. นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัยบริโภคตลอดปีการศึกษาและมีสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
    3. โรงเรียนมีการติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
    4. โรงเรียนมีเครือข่ายสู่ชุมชน โรงเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (สหกรณ์)

    วันที่ 11 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการนำนักเรียนแกนนำและคณะครูไปศึกษาดูงานที่ภูสิงห์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจคิดเป็นร้อยละ  80  สามารถนำความรู้ใาใช้ในกิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียนได้

     

    26 26

    2. ประชุมแต่งตั้งมอบหมายหน้าที่คณะทำงาน ชี้แจงการดำเนินงาน

    วันที่ 24 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมวางแผนการการดำเนินงาน เพื่อปฎิบัติให้ครอบคลุม ทั้ง 8องค์ประกอบ มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบแต่ละกิจกรรมอย่างชัดเจน ดังนี้ กิจกรรมเกษตร มอบหมายครูสุรชาติ  เสนา  ครูคำรณ  ครองยุติ และ ครูสุภาพร  เสนา
    กิจกรรมสหกรณ์  มอบหมายให้ครูกัลยา  คำสิงห์ กิจกรรมอนามัยโรงเรียนครูนันทนา  จุลทัศน์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครูมีความรู้ความเข้าใจร้อยละ 80  ในการรับผิดชอบงานในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี
    เพื่อนำความรู้ที่ได้มาถ่ายทอดให้แก่นักเรียนและชุมชน

     

    198 198

    3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชนที่ร่วมโครงการ

    วันที่ 27 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โรงเรียนมีการจัดนิทรรศการร่วมกับโรงเรียนในเครือข่าย  ในการจำหน่ายผลผลิตของนักเรียนและผู้ปกครอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรียนมีการจัดนิทรรศการร่วมกับโรงเรียนในเครือข่าย  ในการจำหน่ายผลผลิตของนักเรียนและผู้ปกครอง  นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

     

    166 168

    4. การจัดทำแบบประเมินผลสถานการณ์ ครั้งที่ 1 (เดือนตุลาคม)

    วันที่ 30 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำแบบประเมินผลสภานการณ์ ช่วงที่ 1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำแบบประเมินผลสภานการณ์ ช่วงที่ 1

     

    198 14

    5. ส่งเสริมการผลิตอาหารปลอดภัย(ปลูกพืชผักสวนครัว/ผักตามฤดูกาล)

    วันที่ 4 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.โรงเรียนจัดพื้นที่ปลูกผักสวนครัวสำหรับนักเรียนและผู้ปกครอง 2.โรงเรียนจัดหาเมล็ดพันธุ์ผัก  สำหรับให้นักเรียนปลูก  ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้ 1.นักเรียน มีทักษะในการปลูกและดูแลผักสวนครัว 2.ผักสวนครัวเพื่อประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนหมุนเวียน 1 สัปดาห์ 3.มีผลผลิต หมุนเวียนสลับกัน เพื่อประกอบอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นักเรียนมีทักษะในการปลูกผักและดูแลผักสวนครัว 2.โรงเรียนมีผักสวนครัวเพื่อประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน 3.โรงเรียนมีแผนการผลิตพืชผักที่สอดคล้องกับรายการอาหารกลางวันนนักเรียน 4.นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์  และเพียงพอต่อความต้องการ

     

    132 132

    6. ส่งเสริมการผลิตอาหารปลอดภัย(การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์)

    วันที่ 8 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.โรงเรียนจัดพื้นที่สำหรับเลี้ยงปลาในบ่อซีเมนต์ 2.โรงเรียนจัดหาพันธ์ปลาจากประมงจังหวัดศรีสะเกษ  สำหรับให้นักเรียนได้ดูแล 3.โรงเรียนจัดทำบ่อเลี้ยงปลา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน มีทักษะในการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ เพื่อประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนหมุนเวียนใน 1 สัปดาห์  รวมทั้งสร้างนิสัยในการฝึกวามรับผิดชอบต่อหน้าที่ 

     

    132 132

    7. ส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดี

    วันที่ 28 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -  จัดกิจกรรมแอโรบิก กิจกรรมกระโดดเชือก  ในทุกวันพฤหัสบดี -  มีการทดสอบสมรรถภาพ -  มีการแข่งขันกีฬาภายในโดยชุมชนผู้ปกครองมีส่วนร่วม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -  ผู้เรียนมีสุภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี  ตลอดจนมีสุขภาพที่แข็งแรง -  ผลการพัฒนาเปลี่ยนแปลงในการทดสอบสมรรถภาพ -  ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม  เสริมสร้างความสมพันธ์ที่ดี

     

    367 358

    8. ส่งเสริมการผลิตอาหารปลอดภัย(การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์)

    วันที่ 6 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์ มีผู้เข้าร่วมรับความรู้ ดังนี้ - แกนนำกลุ่ม ผู้ปกครอง และกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมจำนวน 51 คน - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 76 คน ครู จำนวน 5 คน - ผู้รู้หรือปราชญ์ในชุมชน จำนวน 1 คน - เจ้าหน้าที่ทางการเกษตรอำเภอโนนคูณ จำนวน 1 คน - การสาธิต คือ ไปดูเกษตรกรในพื้นที่ใกล้เคียงที่ปลูกมะนาวเป็นอาชีพอยู่แล้ว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนแกนนำ  และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  4-6  มีความรู้การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์

     

    132 123

    9. ส่งเสริมการผลิตอาหารปลอดภัย(เพาะเห็ดนางฟ้า)

    วันที่ 7 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การเพาะเห็ดนางฟ้า  มีผู้เข้าร่วมรับความรู้ ดังนี้ - แกนนำกลุ่ม ผู้ปกครอง และกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมจำนวน 51 คน - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 76 คน ครู จำนวน 5 คน - ผู้รู้หรือปราชญ์ในชุมชน จำนวน 1 คน - เจ้าหน้าที่ทางการเกษตรอำเภอโนนคูณ จำนวน 1 คน - การสาธิตการเพาะเห็ดนางฟ้า 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้เรียนรู้การเพาะเห็ดนางฟ้า  มีผู้เข้าร่วมรับความรู้ ดังนี้ - แกนนำกลุ่ม ผู้ปกครอง และกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมจำนวน 51 คน - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 76 คน ครู จำนวน 5 คน - ผู้รู้หรือปราชญ์ในชุมชน จำนวน 1 คน

     

    132 123

    10. อบรมให้ความรู้เรื่อง อย.น้อย (คัดเลือกนักเรียน ผู้ปกครอง แม่ครัว )

    วันที่ 14 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คัดเลือกนักเรียน ผู้ปกครอง แม่ครัว (ระบุจำนวน) - แกนนำกลุ่ม ผู้ปกครอง และกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมจำนวน 30 คน - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 70 คน ครู จำนวน 14 คน - วิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวเหล่า จำนวน 2 คน แม่ครัว 2 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครูนักเรียน  ผู้ปกครอง และแม่ครัวมีความรู้เกี่ยวกับ อาหารและยา  และสามรถนำความรู้ที่ได้รับจากวิทยากรไปใช้ในการเลือกซื้ออาหารได้

     

    124 115

    11. อบรมให้ความรู้เรื่องอาหารที่ปลอดภัยไร้สารพิษ

    วันที่ 15 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีวิทยากรมาให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารถูกหลักโภชนาการ - กำหนดผู้เข้ารับการอบรม โดยมีผู้ปกครอง ครู นักเรียน - ผู้ให้ความรู้ ในเรื่องโทษของการดื่มน้ำอัดลม ลูกอมและขนมกรุบกรอบต่างๆ - กำหนดเรื่อง เนื้อหาความรู้ของการอบรม - ระยะเวลาในการอบรม - กิจกรรมการปฺฏิบัติร่วมกับการอบรมให้ความรู้ และ เดินรณรงค์ลดดื่มน้ำอัดลม รับประทานลูกอม และขนมกรุบกรอบ ติดป้ายนิเทศ แจกแผ่นพับ ๒.๒ การเลือกซื้ออาหารที่ปลอดภัยไร้สารพิษ ๒.๓ การผลิตอาหารปลอดภัยไร้สารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำและนักเรียนได้ความรู้เกี่ยวกับอาหารถูกหลักโภชนาการนเรื่องโทษของการดื่มน้ำอัดลม ลูกอมและขนมกรุบกรอบต่างๆ  /  มีการเดินรณรงค์ลดดื่มน้ำอัดลม รับประทานลูกอม และขนมกรุบกรอบ

     

    256 247

    12. การแปรรูปอาหารและถนอมอาหาร

    วันที่ 18 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ให้ความรู้การแปรรูปอาหาร และการถนอมอาหาร - กำหนดเรื่อง เนื้อหาความรู้ของการอบรม - ระยะเวลาในการอบรม - กิจกรรมการปฺฏิบัติร่วมกับการอบรมให้ความรู้ 2. นักเรียน ผู้ปกครองร่วมกันแปรรูปอาหาร - อาหารที่จะแปรรูป - วิธีการแปรรูป - การฝึกปฏิบัติจริง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -  นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการแปรรุปอาหาร  เช่น  การทำแหนมเห็ด ,  การทำเห็ดทอด ,การทำข้าวโป่ง

     

    90 167

    13. ถอนดอกเบี้ยคืนเงินโครงการ

    วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอนดอกเบี้ยคืนเงินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถอนดอกเบี้ยจำนวน 30.93 บาท

     

    2 2

    14. การจัดทำแบบประเมินผลสถานการณ์ ครั้งที่ 2 (เดือนธันวาคม)

    วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำแบบประเมินผลสถานการณ์ ระยะที่ 2 เรื่องส่งเสริมสุขภาพ และภาวะโภชนาการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำแบบประเมินผลสถานการณ์ ระยะที่ 2 เรื่องส่งเสริมสุขภาพ และภาวะโภชนาการ

     

    198 198

    15. จัดทำรูปเล่มฉบับสมบูรณ์

    วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรูปเล่มฉบับสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำรูปเล่มฉบับสมบูรณ์

     

    14 14

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนานักเรียนทุกคนให้มีความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่ดี และปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณธรรมต่อการเกษตรซึ่งเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของนักเรียนมีความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่ดีมีคุณธรรมต่อการเกษตรซึ่งเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต

    นักเรียนทุกคนมีความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่ดีมีคุณธรรมต่อการเกษตรซึ่งเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต

    2 เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัยบริโภคตลอดปี การศึกษาและมีสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของนักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัยบริโภคตลอดปีการศึกษาและมีสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร

    นักเรียนร้อยละ 95 มีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัยบริโภคตลอดปีการศึกษาและมีสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร

    3 เพื่อติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีการติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนอย่างต่อเนื่อง

    โรงเรียนมีการติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนอย่างต่อเนื่องในทุกภาคเรียน

    4 เพื่อขยายเครือข่ายสู่ชุมชน โรงเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีเครือข่ายสู่ชุมชน โรงเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

    โรงเรียนมีเครือข่ายสู่ชุมชน โรงเรียนเพิ่มมากขึ้น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้การสนับสนุนเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่อง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนานักเรียนทุกคนให้มีความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่ดี และปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณธรรมต่อการเกษตรซึ่งเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต (2) เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัยบริโภคตลอดปี การศึกษาและมีสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร (3) เพื่อติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนอย่างต่อเนื่อง (4) เพื่อขยายเครือข่ายสู่ชุมชน โรงเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหัวเหล่า

    รหัสโครงการ ศรร.1312-079 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.33 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
    1. ข้าวโป่งอัญชัน
    2. เพาะพันธุ์เพกาแคระ
    3. น้ำหมักชีวภาพ
    1. การนำข้าวเหนียวนื่งตำผสมสีจากดอกอัญชันเพื่อให้มีสีสันทำข้าวเกรียบเป็นแผ่น นักเรียนได้ทดลองทำและนำผลผลิตขายในโรงเรียนและชุมชน เงินที่ได้นำเข้าสหกรณ์โรงเรียน
    2. นักเรียนเพาะพันธุ์เพกาขายในโรงเรียนและชุมชนโดยการเพาะด้วยเมล็ดและชำด้วยราก
    3. การทำน้ำหมักชีวภาพ จากเศษอาหาร เศษผักผลไม้ในโรงครัวของโรงเรียน จากการดำเนินงานกิจกรรมส่งผลให้โรงเรียนได้รับรางวัลกลุ่มยุวเกษตรกร สมาชิกยุวเกษตรกร ที่ปรึกษากลุ่มยุวเกษตรกรดีเด่นของสำนักงานส่งเสริมการเกษตรสำนักงานเกษตรจังหวัดศรีสะเกษปี 2559

    1.ขยายผลต่อยอดจากชุมชนให้ได้ข้าวเกรียบที่มุคุณค่าจากสมุนไพรดอกอัญชัน 2. สร้างรายได้จากการจำหน่ายพันธ์ุเพกา 3. น้ำหมักชีวภาพช่วยลดปริมาณขยะในโรงเรียน และเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ปลอดสารเคมี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    กิจกรรมสหกรณ์ออมทรัพย์

    โรงเรียนดำเนินการโครงการสหกรณ์นักเรียน สหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์ร้านค้านักเรียนมีการออมเงินโดยมีคณะกรรมการนักเรียนดำเนินการรวบรวมเงินฝากของแต่ละวันแล้วนำฝากบัญชีธนาคารออมทรัพย์ครู ทำให้ได้ดอกเบี้ยและมีเงินเมื่อจบการศึกษา โดยมีแหล่งอ้างอิงคือสมุดออมทรัพย์ของโรงเรียน ส่วนสหกรณ์ร้านค้านักเรียนทุกคนมีหุ้นส่วนบริการจัดการโดยคณะกรรมการนักเรียนมีปันผลเฉลี่ยคืนและจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตร

    จัดกิจกรรมต่อเนื่องทุกปี และมีเงินดอกเบี้ยมาใช้เป็นทุนการศึกษานักเรียน กิจกรรมมอบเกียรติบัตรรางวัลนักเรียนที่มียอดเงินออมสูง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    ผ้าป่าข้าวเปลือกเพื่อเป็นอาหารกลางวันนักเรียน

    ผู้ปกครองให้การสนับสนุนข้าวเปลือกเพื่อสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันให้นักเรียน เฉลี่ยปีละ 5,500 กิโลกรัม โดยมีข้อมูลจากทะเบียนรับบริจาคติดต่อกันมาเป็นระยะเวลา ๓ ปีให้โรงเรียนจัดบริการอาหารกลางวันพร้อมข้าว

    จัดกิจกรรมทอดผ้าป่าต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี มีทั้งข้าวเหนียวและข้าวจ้าวกลุ่มสมาชิกยุวเกษตรกรในโรงเรียนสามารถนำมาแปรรูปเป็นขนมต่างๆ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    1.กลุ่มเต้นบาสโลบ 2. กิจกรรมกีฬา

    เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมลดเวลาเพิ่มเวลารู้ ตามความสนใจของเด็กนักเรียนได้เต้นบาสโลบเพลงช้าเพลงเร็วและกิจกรรมกีฬา สามารถส่งเสริมการออกกำลังกาย ได้เฝ้าระวังและติดตามสุขภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียน และในปีการศึกษา 2559 นักเรียนได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขันวอลเล่ย์บอลชาย- หญิง ชนะเลิศฟุตบอลชายชนะเลิศฟุลซอลชาย - หญิง รุ่นอายุไม่เกิน 12 ปีกีฬากลุ่มโรงเรียนประจิมโนนคูณ

    คัดแยกเด็กอ้วย เด็กผอม ที่โรงเรียนดำเนินการเฝ้าระวังที่โรงเรียนโรงเรียนจะประสานผู้ปกครองเพื่อควบคุมดูแลร่วมกัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    ดอกอัญชันพาแปรงฟันให้สะอาด

    กิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันของนักเรียนมีการตรวจคัดกรองสุขภาพปากและฟันและแยกเป็น3 กลุ่มสีในทุกๆเดือน กลุ่มสีแดงเขียวปากและฟันสะอาด กลุ่มสีชมพูต้องดูแลเอาใจใส่ กลุ่มสีแดงต้องปรับปรุงอย่างเร่งด่วน การแปรงฟันเป็นกลุ่มสีมีครูและนักเรียนแกนนำสุขภาพดูแลเพื่อพัฒนาตนเองให้อยู่ในกลุ่มสีเขียว การทดสอบความสะอาดโดยการเคี้ยวดอกอัญชันหลังการแปรงฟันหากพบว่าฟันติดคราบดอกอัญชันแสดงว่าแปรงฟันไม่สะอาด

    กิจกรรมประกวดฟันสวยยิ้มใสเพื่อกระตุ้นการแปรงฟันหลังอาหาร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    การคัดแยกขยะ

    โรงเรียนมีการคัดแยกขยะเพื่อจำหน่ายสร้างรายได้ ประดิษฐ์ของใช้ ของเล่นและคัดแยกเพื่อนำมาใช้ใหม่ รีไซเคิล มีการอบรมให้ความรู้เด็กนักเรียนโรงเรียนมีการคัดแยกขยะมีถังขยะ เรียนรู้สัญญลักษณ์ ส่งผลให้โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ดีและได้รับโล่รางวัลโรงเรียนปลอดขยะ

    จัดทำโรงเรือนคัดแยกขยะเพื่อให้สะดวกต่อการในมาใช้ประโยชน์ใหม่และจัดเก็บเป็นระเบียบป้องกันการคุ้ยเขี่ยจากสัตว์ต่างๆ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนบ้านหัวเหล่า จังหวัด ศรีสะเกษ

    รหัสโครงการ ศรร.1312-079

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางรัตนาภรณ์ สีตะวัน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด