ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

assignment
บันทึกกิจกรรม
คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ30 มีนาคม 2017
30
มีนาคม 2017รายงานจากพื้นที่ โดย นายจตุพล ทวีศักดิ์สิงห์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ดอกเบี้ยรับ

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 3 คน จากที่ตั้งไว้ 3 คน
ประกอบด้วย
อบรมเสริมศักยภาพการกำจัดเหา14 สิงหาคม 2016
14
สิงหาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย นายจตุพล ทวีศักดิ์สิงห์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียนและประสานงาน
  2. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร สื่อ ที่ใช้ในการอบรม เพื่อการเรียนรู้
  3. เตรียมอาหารและอาหารว่าง
  4. ดำเนินการอบรมความรู้เรื่อง สุขบัญญัติ ๑๐ ประการ และวงจรชีวิตของเหา การติดต่อ การควบคุมเหา ความรู้การใช้สมุนไพร กำจัดเหา และสาธิตการทำแชมพูสมุนไพร กำจัดเหา แก่ ครูผู้รับผิดชอบงานสุขภาพโรงเรียน และ ตัวแทนนักเรียน
  5. สรุปผลการดำเนินงาน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นักเรียนได้ความรู้ เกี่ยวกับวงจรของเหา การควบคุมไม่ให้เกิดเหาแก่ตนเอง  นักเรียนได้ฝึกทักษะกระบวนการทำผลิคภัณฑ์ด้วยตนเอง  นักเรียนสามารถขยายผลไปสู่ครอบครัว นำไปใช้กับคนที่บ้านของตนเอง เพื่อให้เกิดสุชลักษณะที่ดี ต่อตนเองและผู้อื่น

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 40 คน จากที่ตั้งไว้ 40 คน
ประกอบด้วย
กิจกรรมการเลี้ยงกบ1 สิงหาคม 2016
1
สิงหาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย นายจตุพล ทวีศักดิ์สิงห์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1 วางแผนการทำงาน
2 ดำเนินกิจกรรมตามแผน 3 ตรวจสอบประเมินผลการดำเนินงานและสภาพจริง
4 สรุปรายงานผลการดำเนินงาน 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สามารถสร้างผลผลิตเกษตรด้านพืชและสัตว์ สนับสนุนกิจกรรมโครงการอาหารกลางวัน เพียงพอกับความต้องการกับจำนวนนักเรียน

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 180 คน จากที่ตั้งไว้ 180 คน
ประกอบด้วย
การเลี้ยงปลากินพืชในบ่อดิน20 มิถุนายน 2016
20
มิถุนายน 2016รายงานจากพื้นที่ โดย นายจตุพล ทวีศักดิ์สิงห์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. เริ่มการเลี้ยงปลากินพืชในบ่อดิน โดยการซื้่อลูกปลากินพืช ได้แก่ ปลานิล 5,000 ตัว,ปลานวลจันทร์ 2,500 ตัว,ปลาสวาย2,500 ตัว,ปลายี่สกเทศ5,000ตัว
  2. ให้นักเรียนเข้ามามีส่วนรามในการดูแล และรับผิดชอบ ในการเลี้ยงปลา และการให้อาหาร
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

โรงเรียนได้พฒนาพื้นที่ว่างในโรงเรียนเป็นแหล่งผลิตเกษตรพอเพียงเพื่อโครงการอาหารกลางวัน โดยให้คณะครูนักเรียนและชุมชนมีส่วนร่วมเป็นศูนย์เรียนรู้แบบบูรณาการ และพัฒนาให้ความรู้ครู นักเรียนผู้ปกครองและบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ส่งเสริมสนับสนุนและเห็นความสำคัญด้านอาหารและโภชนาการอย่างยั่งยืน เนื่องจากทางโรงเรียนบ้านสะเดา ได้มีการเลี้ยงปลากินพืชในบ่อกิน สู่สหกรณ์ และนำไปประกอบอาหารกลางวัน แก่นักเรียนในโรงเรียนบ้านสะเดา ซึ่งการจัดทำกิจกรรมนี้ได้ความร่วมมือกับชุมชนและองค์กร กิจกรรมนั้ จะก่อให้เกืดความรู้แก่ชมชนและนักเรียน ในการเลี้ยงปลาดุก การดูแล การให้อาหาร เพระเป็นกิจกรรมต่อเนื่อง จะต้องดูแล ให้อาหาร นักเรียนจะเข้ามามีส่วนร่วมตรงนี้มากที่สุด นักเรียนจะต้องมีความรับผิดชอบในการดูแล ทำให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ตนเองได้รับและสามารถทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 105 คน จากที่ตั้งไว้ 101 คน
ประกอบด้วย
การปลูกพืชสวนครัว13 มิถุนายน 2016
13
มิถุนายน 2016รายงานจากพื้นที่ โดย นายจตุพล ทวีศักดิ์สิงห์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. นักเรียนได้เรียนรู้การปลูกพืชผักปลอดสารพิษ เพื่อเป็นอาหารเพื่อจำหน่าย ตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงจึงจัดทำกิจกรรมปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ให้นักเรียนได้ปฏิบัติในสถานศึกษา
  2. โรงเรียนดำเนินการซื้อเมล็ดพันธุ์พืชผักสวนครัว จำนวน100 กระป๋อง.
  3. โรงเรียนและนักเรียน ร่วมกันเตรียมวัสดุการเพาะปลูก และพื้นที่การเพาะปลูก
  4. นักเรียนได้เริ่มปฏิบติจริง และรับผิดชอบแปลงผักของตนเอง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. สามารถสร้างผลผลิตเกษตร สนับสนุนกิจกรรมโครงการอาหารกลางวัน จำนวน50 %ของความต้องการ
  2. นักเรียนได้ร่วมผลิตและรับประทานพืชเกษตรปลอดภัยของตนเอง
  3. นักเรียนได้ความรู้เรื่องการรู้จักปลูกพืชผักปลอดสารพิษ เพื่อเป็นอาหารเพื่อจำหน่ายและเพื่อการเรียนรู้ ตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 105 คน จากที่ตั้งไว้ 101 คน
ประกอบด้วย
อบรมความรู้ขยายผลสู่นักเรียนด้านโภชนาการที่ดีและการดูแลรักษาสุขภาพสมกับวัย5 มิถุนายน 2016
5
มิถุนายน 2016รายงานจากพื้นที่ โดย นายจตุพล ทวีศักดิ์สิงห์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
  2. จัดทำสื่อและแบบฝึกต่าง ๆ เพื่อการเรียนรู้
  3. เตรียมอาหารและอาหารว่าง
  4. ดำเนินการอบรม
  5. สรุปผลการดำเนินงาน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1 นักเรียน  ครู  อาจารย์และบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้  ความเข้าใจ  เกี่ยวกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ  การป้องกันโรค  และนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ 2.นักเรียน ได้เรียนรู้ เช้าใจและสามารถปฎิบัติตน ในการดูแล และป้องกัน รักษาสุขภาพของตนเองให้ดีอยู่เสมอ 3.นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและนำไปปฏิบัติจนเกิดผลดีต่อตนเองและครอบครัว

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 140 คน จากที่ตั้งไว้ 140 คน
ประกอบด้วย
อบรมระบบเฝ้าระวังโภชนาการและโปรแกรมThai School Lunch ณ โรงเรียนบ้านสะเดา22 พฤษภาคม 2016
22
พฤษภาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย นายจตุพล ทวีศักดิ์สิงห์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
  2. ทำหนังสือเชิญประชุมผู้ปกครองพร้อมประเด็น
  3. จัดทำสื่อ
  4. เตรียมอาหารและอาหารว่าง
  5. ดำเนินการอบรม
  6. สรุปผลการดำเนินงาน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ครูโภชนาการ ครูอนามัยรวมทั้งครูและบุคลากรอื่นในโรงเรียน ตระหนักและให้ความสำคัญร่วมมือพัฒนาสุขภาวะนักเรียน
  2. พัฒนาให้ความรู้ครู นักเรียนผู้ปกครองและบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ส่งเสริมสนับสนุนและเห็นความสำคัญด้านอาหารและโภชนาการอย่างยั่งยืน
  3. คณะครู ผู้ปกครองและนักเรียน มีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบเฝ้าระวังโภชนาการและโปรแกรมThai School Lunch
circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 40 คน จากที่ตั้งไว้ 40 คน
ประกอบด้วย
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก18 พฤษภาคม 2016
18
พฤษภาคม 2016รายงานจากพื้นที่ โดย นายจตุพล ทวีศักดิ์สิงห์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่มการเลี้ยงปลาดุก โดยการซื้่อลุกปลาดุก จำนวน 4,000 ตัว และอาหารปลาดุก จำนวน 8 กระสอบ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

โรงเรียนได้พฒนาพื้นที่ว่างในโรงเรียนเป็นแหล่งผลิตเกษตรพอเพียงเพื่อโครงการอาหารกลางวัน โดยให้คณะครูนักเรียนและชุมชนมีส่วนร่วมเป็นศูนย์เรียนรู้แบบบูรณาการ และพัฒนาให้ความรู้ครู นักเรียนผู้ปกครองและบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ส่งเสริมสนับสนุนและเห็นความสำคัญด้านอาหารและโภชนาการอย่างยั่งยืน เนื่องจากทางโรงเรียนบ้านสะเดา ได้มีการเลี้ยงปลาดุกนำสู่สหกรณ์ และนำไปประกอบอาหารกลางวัน แก่นักเรียนในโรงเรียนบ้านสะเดา ซึ่งการจัดทำกิจกรรมนี้ได้ความร่วมมือกับชุมชนและองค์กร กิจกรรมนั้ จะก่อให้เกืดความรู้แก่ชมชนและนักเรียน ในการเลี้ยงปลาดุก การดูแล การให้อาหาร เพระเป็นกิจกรรมต่อเนื่อง จะต้องดูแล ให้อาหาร นักเรียนจะเข้ามามีส่วนร่วมตรงนี้มากที่สุด นักเรียนจะต้องมีความรับผิดชอบในการดูแล ทำให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ตนเองได้รับและสามารถทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 52 คน จากที่ตั้งไว้ 37 คน
ประกอบด้วย