ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านสะเดา |
สังกัด | ?? |
หน่วยงานต้นสังกัด | ?? |
ที่อยู่โรงเรียน | โรงเรียนบ้านสะเดา หมู่ที่ 1 ตำบลหนองพระ อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก |
จำนวนนักเรียน | 199 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม |
ผู้อำนวยการ | นายสมจิตร นาคผู้ |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางยุภาภรณ์ อินทร์ยิ้ม |
ดอกเบี้ยรับ
- ชี้แจงคณะครูในโรงเรียนและประสานงาน
- จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร สื่อ ที่ใช้ในการอบรม เพื่อการเรียนรู้
- เตรียมอาหารและอาหารว่าง
- ดำเนินการอบรมความรู้เรื่อง สุขบัญญัติ ๑๐ ประการ และวงจรชีวิตของเหา การติดต่อ การควบคุมเหา ความรู้การใช้สมุนไพร กำจัดเหา และสาธิตการทำแชมพูสมุนไพร กำจัดเหา แก่ ครูผู้รับผิดชอบงานสุขภาพโรงเรียน และ ตัวแทนนักเรียน
- สรุปผลการดำเนินงาน
นักเรียนได้ความรู้ เกี่ยวกับวงจรของเหา การควบคุมไม่ให้เกิดเหาแก่ตนเอง นักเรียนได้ฝึกทักษะกระบวนการทำผลิคภัณฑ์ด้วยตนเอง นักเรียนสามารถขยายผลไปสู่ครอบครัว นำไปใช้กับคนที่บ้านของตนเอง เพื่อให้เกิดสุชลักษณะที่ดี ต่อตนเองและผู้อื่น
1 วางแผนการทำงาน
2 ดำเนินกิจกรรมตามแผน
3 ตรวจสอบประเมินผลการดำเนินงานและสภาพจริง
4 สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
สามารถสร้างผลผลิตเกษตรด้านพืชและสัตว์ สนับสนุนกิจกรรมโครงการอาหารกลางวัน เพียงพอกับความต้องการกับจำนวนนักเรียน
- เริ่มการเลี้ยงปลากินพืชในบ่อดิน โดยการซื้่อลูกปลากินพืช ได้แก่ ปลานิล 5,000 ตัว,ปลานวลจันทร์ 2,500 ตัว,ปลาสวาย2,500 ตัว,ปลายี่สกเทศ5,000ตัว
- ให้นักเรียนเข้ามามีส่วนรามในการดูแล และรับผิดชอบ ในการเลี้ยงปลา และการให้อาหาร
โรงเรียนได้พฒนาพื้นที่ว่างในโรงเรียนเป็นแหล่งผลิตเกษตรพอเพียงเพื่อโครงการอาหารกลางวัน โดยให้คณะครูนักเรียนและชุมชนมีส่วนร่วมเป็นศูนย์เรียนรู้แบบบูรณาการ และพัฒนาให้ความรู้ครู นักเรียนผู้ปกครองและบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ส่งเสริมสนับสนุนและเห็นความสำคัญด้านอาหารและโภชนาการอย่างยั่งยืน เนื่องจากทางโรงเรียนบ้านสะเดา ได้มีการเลี้ยงปลากินพืชในบ่อกิน สู่สหกรณ์ และนำไปประกอบอาหารกลางวัน แก่นักเรียนในโรงเรียนบ้านสะเดา ซึ่งการจัดทำกิจกรรมนี้ได้ความร่วมมือกับชุมชนและองค์กร กิจกรรมนั้ จะก่อให้เกืดความรู้แก่ชมชนและนักเรียน ในการเลี้ยงปลาดุก การดูแล การให้อาหาร เพระเป็นกิจกรรมต่อเนื่อง จะต้องดูแล ให้อาหาร นักเรียนจะเข้ามามีส่วนร่วมตรงนี้มากที่สุด นักเรียนจะต้องมีความรับผิดชอบในการดูแล ทำให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ตนเองได้รับและสามารถทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
- นักเรียนได้เรียนรู้การปลูกพืชผักปลอดสารพิษ เพื่อเป็นอาหารเพื่อจำหน่าย ตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงจึงจัดทำกิจกรรมปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ให้นักเรียนได้ปฏิบัติในสถานศึกษา
- โรงเรียนดำเนินการซื้อเมล็ดพันธุ์พืชผักสวนครัว จำนวน100 กระป๋อง.
- โรงเรียนและนักเรียน ร่วมกันเตรียมวัสดุการเพาะปลูก และพื้นที่การเพาะปลูก
- นักเรียนได้เริ่มปฏิบติจริง และรับผิดชอบแปลงผักของตนเอง
- สามารถสร้างผลผลิตเกษตร สนับสนุนกิจกรรมโครงการอาหารกลางวัน จำนวน50 %ของความต้องการ
- นักเรียนได้ร่วมผลิตและรับประทานพืชเกษตรปลอดภัยของตนเอง
- นักเรียนได้ความรู้เรื่องการรู้จักปลูกพืชผักปลอดสารพิษ เพื่อเป็นอาหารเพื่อจำหน่ายและเพื่อการเรียนรู้ ตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
- ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
- จัดทำสื่อและแบบฝึกต่าง ๆ เพื่อการเรียนรู้
- เตรียมอาหารและอาหารว่าง
- ดำเนินการอบรม
- สรุปผลการดำเนินงาน
1 นักเรียน ครู อาจารย์และบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ 2.นักเรียน ได้เรียนรู้ เช้าใจและสามารถปฎิบัติตน ในการดูแล และป้องกัน รักษาสุขภาพของตนเองให้ดีอยู่เสมอ 3.นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและนำไปปฏิบัติจนเกิดผลดีต่อตนเองและครอบครัว
- ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
- ทำหนังสือเชิญประชุมผู้ปกครองพร้อมประเด็น
- จัดทำสื่อ
- เตรียมอาหารและอาหารว่าง
- ดำเนินการอบรม
- สรุปผลการดำเนินงาน
- ครูโภชนาการ ครูอนามัยรวมทั้งครูและบุคลากรอื่นในโรงเรียน ตระหนักและให้ความสำคัญร่วมมือพัฒนาสุขภาวะนักเรียน
- พัฒนาให้ความรู้ครู นักเรียนผู้ปกครองและบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ส่งเสริมสนับสนุนและเห็นความสำคัญด้านอาหารและโภชนาการอย่างยั่งยืน
- คณะครู ผู้ปกครองและนักเรียน มีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบเฝ้าระวังโภชนาการและโปรแกรมThai School Lunch
เริ่มการเลี้ยงปลาดุก โดยการซื้่อลุกปลาดุก จำนวน 4,000 ตัว และอาหารปลาดุก จำนวน 8 กระสอบ
โรงเรียนได้พฒนาพื้นที่ว่างในโรงเรียนเป็นแหล่งผลิตเกษตรพอเพียงเพื่อโครงการอาหารกลางวัน โดยให้คณะครูนักเรียนและชุมชนมีส่วนร่วมเป็นศูนย์เรียนรู้แบบบูรณาการ และพัฒนาให้ความรู้ครู นักเรียนผู้ปกครองและบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ส่งเสริมสนับสนุนและเห็นความสำคัญด้านอาหารและโภชนาการอย่างยั่งยืน เนื่องจากทางโรงเรียนบ้านสะเดา ได้มีการเลี้ยงปลาดุกนำสู่สหกรณ์ และนำไปประกอบอาหารกลางวัน แก่นักเรียนในโรงเรียนบ้านสะเดา ซึ่งการจัดทำกิจกรรมนี้ได้ความร่วมมือกับชุมชนและองค์กร กิจกรรมนั้ จะก่อให้เกืดความรู้แก่ชมชนและนักเรียน ในการเลี้ยงปลาดุก การดูแล การให้อาหาร เพระเป็นกิจกรรมต่อเนื่อง จะต้องดูแล ให้อาหาร นักเรียนจะเข้ามามีส่วนร่วมตรงนี้มากที่สุด นักเรียนจะต้องมีความรับผิดชอบในการดูแล ทำให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ตนเองได้รับและสามารถทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม