แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านสะเดา


“ โรงเรียนบ้านสะเดา ”

โรงเรียนบ้านสะเดา ม.1 ตำบลหนองพระ อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก

หัวหน้าโครงการ
นายสมจิตร นาคผู้

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านสะเดา

ที่อยู่ โรงเรียนบ้านสะเดา ม.1 ตำบลหนองพระ อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก จังหวัด พิษณุโลก

รหัสโครงการ ศรร.1112-024 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.24

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านสะเดา จังหวัดพิษณุโลก" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านสะเดา ม.1 ตำบลหนองพระ อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านสะเดา



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านสะเดา " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านสะเดา ม.1 ตำบลหนองพระ อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก รหัสโครงการ ศรร.1112-024 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 264 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544 พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านสะเดาจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พระชนมายุครบ 5 รอบและดำเนินงานตามรอยพระยุคลบาท เจ้าฟ้านักโภชนา ด้านการจัดอาหารโภชนาการและสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจร
  2. พัฒนาให้ความรู้ครู นักเรียนผู้ปกครองและบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ส่งเสริมสนับสนุนและเห็นความสำคัญด้านอาหารและโภชนาการอย่างยั่งยืน
  3. พัฒนาพื้นที่ว่างในโรงเรียนเป็นแหล่งผลิตเกษตรพอเพียงเพื่อโครงการอาหารกลางวัน โดยให้คณะครูนักเรียนและชุมชนมีส่วนร่วมเป็นศูนย์เรียนรู้แบบบูรณาการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ครูโภชนาการครูอนามัยรวมทั้งครูและบุคลากรอื่นในโรงเรียนตระหนักและให้ความสำคัญร่วมมือพัฒนาสุขภาวะนักเรียน
    2. นักเรียนทุกคนได้รับการใส่ใจดูแลด้านอาหารและโภชนาจากผู้เกี่ยวข้องในโรงเรียนและทางบ้านอย่างถูกต้องเพื่อมีพัฒนาการด้านสุขภาวะสมวัยพร้อมที่จะรับการเรียนรู้เป็นผู้ใหญ่อย่างมีคุณภาพ
    3. นักเรียนสามารถดูแลปฏิบัติตนอย่างถูกสุขลักษณะในด้านอาหารโภชนาการด้วยตนเองและสามารถแนะนำผู้อื่นได้
    4. โรงเรียนมีแหล่งผลิตอาหารปลอดภัยเพียงพอกับความต้องการการบริโภคของนักเรียนตลอดปี
    5. โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ขยายผลการดำเนินกิจกรรมเด็กไทยแก้มใสอย่างยั่งยืน
    6. โรงเรียนเป็นศูนย์สร้างเครือข่ายขยายผลสู่โรงเรียนอื่น ๆและชุมชนตำบลอำเภอจังหวัด

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก

    วันที่ 18 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เริ่มการเลี้ยงปลาดุก โดยการซื้่อลุกปลาดุก จำนวน 4,000 ตัว และอาหารปลาดุก จำนวน 8 กระสอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรียนได้พฒนาพื้นที่ว่างในโรงเรียนเป็นแหล่งผลิตเกษตรพอเพียงเพื่อโครงการอาหารกลางวัน โดยให้คณะครูนักเรียนและชุมชนมีส่วนร่วมเป็นศูนย์เรียนรู้แบบบูรณาการ และพัฒนาให้ความรู้ครู นักเรียนผู้ปกครองและบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ส่งเสริมสนับสนุนและเห็นความสำคัญด้านอาหารและโภชนาการอย่างยั่งยืน เนื่องจากทางโรงเรียนบ้านสะเดา ได้มีการเลี้ยงปลาดุกนำสู่สหกรณ์ และนำไปประกอบอาหารกลางวัน แก่นักเรียนในโรงเรียนบ้านสะเดา ซึ่งการจัดทำกิจกรรมนี้ได้ความร่วมมือกับชุมชนและองค์กร กิจกรรมนั้ จะก่อให้เกืดความรู้แก่ชมชนและนักเรียน ในการเลี้ยงปลาดุก การดูแล การให้อาหาร เพระเป็นกิจกรรมต่อเนื่อง จะต้องดูแล ให้อาหาร นักเรียนจะเข้ามามีส่วนร่วมตรงนี้มากที่สุด นักเรียนจะต้องมีความรับผิดชอบในการดูแล ทำให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ตนเองได้รับและสามารถทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม

     

    37 52

    2. อบรมระบบเฝ้าระวังโภชนาการและโปรแกรมThai School Lunch ณ โรงเรียนบ้านสะเดา

    วันที่ 22 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
    2. ทำหนังสือเชิญประชุมผู้ปกครองพร้อมประเด็น
    3. จัดทำสื่อ
    4. เตรียมอาหารและอาหารว่าง
    5. ดำเนินการอบรม
    6. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ครูโภชนาการ ครูอนามัยรวมทั้งครูและบุคลากรอื่นในโรงเรียน ตระหนักและให้ความสำคัญร่วมมือพัฒนาสุขภาวะนักเรียน
    2. พัฒนาให้ความรู้ครู นักเรียนผู้ปกครองและบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ส่งเสริมสนับสนุนและเห็นความสำคัญด้านอาหารและโภชนาการอย่างยั่งยืน
    3. คณะครู ผู้ปกครองและนักเรียน มีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบเฝ้าระวังโภชนาการและโปรแกรมThai School Lunch

     

    40 40

    3. อบรมความรู้ขยายผลสู่นักเรียนด้านโภชนาการที่ดีและการดูแลรักษาสุขภาพสมกับวัย

    วันที่ 5 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
    2. จัดทำสื่อและแบบฝึกต่าง ๆ เพื่อการเรียนรู้
    3. เตรียมอาหารและอาหารว่าง
    4. ดำเนินการอบรม
    5. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1 นักเรียน  ครู  อาจารย์และบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้  ความเข้าใจ  เกี่ยวกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ  การป้องกันโรค  และนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ 2.นักเรียน ได้เรียนรู้ เช้าใจและสามารถปฎิบัติตน ในการดูแล และป้องกัน รักษาสุขภาพของตนเองให้ดีอยู่เสมอ 3.นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและนำไปปฏิบัติจนเกิดผลดีต่อตนเองและครอบครัว

     

    140 140

    4. การปลูกพืชสวนครัว

    วันที่ 13 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนได้เรียนรู้การปลูกพืชผักปลอดสารพิษ เพื่อเป็นอาหารเพื่อจำหน่าย ตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงจึงจัดทำกิจกรรมปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ให้นักเรียนได้ปฏิบัติในสถานศึกษา
    2. โรงเรียนดำเนินการซื้อเมล็ดพันธุ์พืชผักสวนครัว จำนวน100 กระป๋อง.
    3. โรงเรียนและนักเรียน ร่วมกันเตรียมวัสดุการเพาะปลูก และพื้นที่การเพาะปลูก
    4. นักเรียนได้เริ่มปฏิบติจริง และรับผิดชอบแปลงผักของตนเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. สามารถสร้างผลผลิตเกษตร สนับสนุนกิจกรรมโครงการอาหารกลางวัน จำนวน50 %ของความต้องการ
    2. นักเรียนได้ร่วมผลิตและรับประทานพืชเกษตรปลอดภัยของตนเอง
    3. นักเรียนได้ความรู้เรื่องการรู้จักปลูกพืชผักปลอดสารพิษ เพื่อเป็นอาหารเพื่อจำหน่ายและเพื่อการเรียนรู้ ตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

     

    101 105

    5. การเลี้ยงปลากินพืชในบ่อดิน

    วันที่ 20 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เริ่มการเลี้ยงปลากินพืชในบ่อดิน โดยการซื้่อลูกปลากินพืช ได้แก่ ปลานิล 5,000 ตัว,ปลานวลจันทร์ 2,500 ตัว,ปลาสวาย2,500 ตัว,ปลายี่สกเทศ5,000ตัว
    2. ให้นักเรียนเข้ามามีส่วนรามในการดูแล และรับผิดชอบ ในการเลี้ยงปลา และการให้อาหาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรียนได้พฒนาพื้นที่ว่างในโรงเรียนเป็นแหล่งผลิตเกษตรพอเพียงเพื่อโครงการอาหารกลางวัน โดยให้คณะครูนักเรียนและชุมชนมีส่วนร่วมเป็นศูนย์เรียนรู้แบบบูรณาการ และพัฒนาให้ความรู้ครู นักเรียนผู้ปกครองและบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ส่งเสริมสนับสนุนและเห็นความสำคัญด้านอาหารและโภชนาการอย่างยั่งยืน เนื่องจากทางโรงเรียนบ้านสะเดา ได้มีการเลี้ยงปลากินพืชในบ่อกิน สู่สหกรณ์ และนำไปประกอบอาหารกลางวัน แก่นักเรียนในโรงเรียนบ้านสะเดา ซึ่งการจัดทำกิจกรรมนี้ได้ความร่วมมือกับชุมชนและองค์กร กิจกรรมนั้ จะก่อให้เกืดความรู้แก่ชมชนและนักเรียน ในการเลี้ยงปลาดุก การดูแล การให้อาหาร เพระเป็นกิจกรรมต่อเนื่อง จะต้องดูแล ให้อาหาร นักเรียนจะเข้ามามีส่วนร่วมตรงนี้มากที่สุด นักเรียนจะต้องมีความรับผิดชอบในการดูแล ทำให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ตนเองได้รับและสามารถทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม

     

    101 105

    6. กิจกรรมการเลี้ยงกบ

    วันที่ 1 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 วางแผนการทำงาน
    2 ดำเนินกิจกรรมตามแผน 3 ตรวจสอบประเมินผลการดำเนินงานและสภาพจริง
    4 สรุปรายงานผลการดำเนินงาน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถสร้างผลผลิตเกษตรด้านพืชและสัตว์ สนับสนุนกิจกรรมโครงการอาหารกลางวัน เพียงพอกับความต้องการกับจำนวนนักเรียน

     

    180 180

    7. อบรมเสริมศักยภาพการกำจัดเหา

    วันที่ 14 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียนและประสานงาน
    2. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร สื่อ ที่ใช้ในการอบรม เพื่อการเรียนรู้
    3. เตรียมอาหารและอาหารว่าง
    4. ดำเนินการอบรมความรู้เรื่อง สุขบัญญัติ ๑๐ ประการ และวงจรชีวิตของเหา การติดต่อ การควบคุมเหา ความรู้การใช้สมุนไพร กำจัดเหา และสาธิตการทำแชมพูสมุนไพร กำจัดเหา แก่ ครูผู้รับผิดชอบงานสุขภาพโรงเรียน และ ตัวแทนนักเรียน
    5. สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้ความรู้ เกี่ยวกับวงจรของเหา การควบคุมไม่ให้เกิดเหาแก่ตนเอง  นักเรียนได้ฝึกทักษะกระบวนการทำผลิคภัณฑ์ด้วยตนเอง  นักเรียนสามารถขยายผลไปสู่ครอบครัว นำไปใช้กับคนที่บ้านของตนเอง เพื่อให้เกิดสุชลักษณะที่ดี ต่อตนเองและผู้อื่น

     

    40 40

    8. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ดอกเบี้ยรับ

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พระชนมายุครบ 5 รอบและดำเนินงานตามรอยพระยุคลบาท เจ้าฟ้านักโภชนา ด้านการจัดอาหารโภชนาการและสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจร
    ตัวชี้วัด : ชุมชนโรงเรียนและองค์กรที่เกี่ยงข้องเห็นความสำคัญและร่วมดำเนินงานตามรอยพระยุคลบาท

     

    2 พัฒนาให้ความรู้ครู นักเรียนผู้ปกครองและบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ส่งเสริมสนับสนุนและเห็นความสำคัญด้านอาหารและโภชนาการอย่างยั่งยืน
    ตัวชี้วัด : ครูนักเรียน ผู้ปกครองและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเข้าใจระบบโภชนาการและร่วมสนับสนุนกิจกรรมศูนย์เรียนรู้ของโรงเรียน

     

    3 พัฒนาพื้นที่ว่างในโรงเรียนเป็นแหล่งผลิตเกษตรพอเพียงเพื่อโครงการอาหารกลางวัน โดยให้คณะครูนักเรียนและชุมชนมีส่วนร่วมเป็นศูนย์เรียนรู้แบบบูรณาการ
    ตัวชี้วัด : พื้นที่ว่างเปล่าพัฒนาเป็นแหล่งปลูกพืชเกษตรและเลี้ยงสัตว์เพื่อสนับสนุนอาหารกลางวันนักเรียนจำนวน5ไร่

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พระชนมายุครบ 5 รอบและดำเนินงานตามรอยพระยุคลบาท เจ้าฟ้านักโภชนา ด้านการจัดอาหารโภชนาการและสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจร (2) พัฒนาให้ความรู้ครู นักเรียนผู้ปกครองและบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ส่งเสริมสนับสนุนและเห็นความสำคัญด้านอาหารและโภชนาการอย่างยั่งยืน (3) พัฒนาพื้นที่ว่างในโรงเรียนเป็นแหล่งผลิตเกษตรพอเพียงเพื่อโครงการอาหารกลางวัน โดยให้คณะครูนักเรียนและชุมชนมีส่วนร่วมเป็นศูนย์เรียนรู้แบบบูรณาการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านสะเดา

    รหัสโครงการ ศรร.1112-024 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.24 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    “การเรียนรู้ระบบเปิด เกิดวิถีพอเพียง”

    การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัตินำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาผู้เรียน ให้รู้จักการพึ่งตนเอง มีมีความพอประมาณ มีเหตุมีผล พอมีพอกิน พอมีพอใช้ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง ตลอดจนสามารถใช้ความรู้ความสามารถ ความละเอียดรอบคอบ และคุณธรรมมาประกอบในการวางแผนตัดสินใจในการกระทำสิ่งต่างๆเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข โรงเรียนจึงได้ดำเนินการดังนี้

    ขั้นตอนที่ 1 การจัดกระบวนการเรียนการสอนด้วยนวัตกรรมการสอนแบบเปิด การเรียนรู้ระบบเปิด การเรียนรู้ระบบเปิด หรือวิธีการเรียนรู้แบบเปิด (Open Approach) คือการใช้สถานการณ์ เป็นแนวทางให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ โดยใช้คำถามปลายเปิด กระตุ้นให้ผู้เรียนร่วมด้วยช่วยกันระดมความคิดภายในกลุ่มของตน จนได้แนวคิดต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาตามสถานการณ์ ร่วมกันอย่างมีอิสระ และร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้นำเสนอแนวคิดของกลุ่ม เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการกลุ่ม นำไปสู่การสรุปความรู้ จากการเชื่อมโยงแนวคิดของนักเรียนในที่สุด ซึ่งทักษะกระบวนการที่เกิดขึ้นกับนักเรียนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิธีการแบบเปิด คือทักษะการแก้ไขปัญหา การคิดวิเคราะห์ การมีความคิดสร้างสรรค์การสื่อสารการแสดงออกตลอดจนการนำเสนออย่างมีเหตุมีผล ลำดับขั้นตอนการสอน 4 ขั้นคือ
    ขั้นที่ 1 การนำเสนอปัญหาปลายเปิดครูสร้างสถานการณ์ปัญหาปลายเปิดในชั้นเรียน ขั้นที่ 2 นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่านกระบวนการกลุ่ม ขั้นที่ 3 อภิปรายร่วมกันทั้งเรียน ขั้นที่ 4 การสรุปเชื่อมโยงแนวคิดของนักเรียน เพื่อหาข้อสรุปของบทเรียนนั้นๆ โรงเรียนบ้านสะเดาได้ใช้ระบบการเรียนรู้แบบเปิด (Open Approach) ในกิจกรรมการเรียนการสอนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการเรียนรู้ภายในห้องเรียน สู่การปฏิบัตินอกห้องเรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความสนใจได้อย่างลึกซึ้งการเรียนรู้ร่วมกันการเรียนรู้จากธรรมชาติการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง การเรียนรู้คู่คุณธรรม โดยครูคอยให้ความช่วยเหลือสนับสนุนและอำนวยความสะดวกให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถของตนและนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ วิถีพอเพียง เป็นการเน้นการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นที่มีอยู่อย่างประหยัด มีประโยชน์ พึ่งตนเองได้ ขยัน ประหยัดช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ร่วมคิดร่วมทำ ร่วมประสานชุมชนเข้มแข็งเสริมสร้างรักษาสิ่งแวดล้อมให้อุดมสมบูรณ์ พึ่งพาตนเองด้วยการกสิกรรมธรรมชาติไร้สารพิษ ดำเนินชีวิตเรียบง่าย มุ่งพัฒนาคุณธรรม มีจิตสาธารณะ

    ขั้นตอนที่ 2 การจัดกิจกรรมฐานการเรียนรู้ - กิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัว - กิจกรรมการเลี้ยงสัตว์น้ำ ปลา กบ - กิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ปีก ไก่ไข่ ไก่พื้นเมืองเป็ดและห่าน - กิจกรรมการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์ - ฯลฯ จัดฐานการเรียนรู้ระบบการผลิตผลผลิตการเกษตรพอเพียงการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์แบบ หมุนเวียน ส่งต่อสหกรณ์ร้านค้าโรงเรียนและสู่โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนต่อไป

    การพัฒนาผู้เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนการเรียนรู้ระบบเปิด เกิดวิถีพอเพียง เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการกลุ่มเน้นการลงมือปฏิบัติ นักเรียนครูบุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดกิจกรรม เกิดทักษะการเรียนรู้ มีวินัย ความรับผิดชอบ การทำงานร่วมกันการมีจิตสาธารณะ ซึ่งเป็นทั้งทักษะและคุณลักษณะที่เอื้อต่อคุณภาพการดำเนินชีวิตที่ดีชุมชนองค์กรเข้ามามีส่วนร่วม นำไปสุ่การพัฒนาวิถีชีวิตพอเพียงที่ยั่งยืนสืบต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    สมาชิกของสหกรณ์ สามารถนำผลผลิตที่บ้านนำมาจำหน่ายที่ โรงเรียนได้

    1. สมาชิกนำผลผลิตมาให้เจ้าหน้าที่สหกรณ์ ลบันทึกวานำอะไรมาจำหน่าย
    2. เปิดทำการขายเวลาพักกลางวันโดยเจ้าหน้าที่สหกรณ์
    3. สมาชิกมารับเงินค่าผลผลิต หลังจากเลิกเรียน

    จะนำผลผลิตที่ได้จากโรงเรียนและจากี่บ้านของสมาชิกมาทำการแปรรูป เพื่อเป็นการถนอมอาหาร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    โครงการอาหารกลางวัน

    1. เงินอุดหนุนทั่วไปที่ได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คนละ 20 บาท/ วัน จำนวน 200 วัน โดยให้นักเรียนทุกคนตั้งแต่ชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
    2. นำเงินดอกผลจากกองทุน เช่น เงินทุนหมุนเวียนเพื่ออาหารกลางวัน มาพัฒนาระบบสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียนและจัดซื้อภาชนะเครื่องใช้ต่างๆ ภายในโรงอาหาร เช่น ถาดใส่อาหาร จาน ช้อน

    แหล่งอ้างอิง - สรุปโครงการ - ภาพถ่ายกิจกรรม

    • ดำเนินโครงการอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ
    • จัดหาเงินเพื่อฌครงการอาหารกลางวันเพิ่มเติมโดยขอความร่วมมือจาก หน่วยงานภายนอก ผู้ปกครอง ชุมชน เพื่อขอสนับสนุนด้านงบประมาณ
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
    • โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
    • กิจกรรมบริการสุขภาพอนามัยโรงเรียน
    1. ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เพื่อประเมินการเจริญเติบโตของนักเรียน และแปลผลทุกๆ 6 เดือน
    2. รายงานปัญหาที่พบแก่ผู้บริหารโรงเรียน แจ้งผู้ปกครอง เพื่อหาแนวทางแก้ไข
    3. ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียน สรุปและนำข้อมูลมาประเมินพฤติกรรม
    4. ดำเนินการส่งเสริมการเจริญเติบโตและแก้ไขปัญหาเด็กที่ขาดสารอาหาร หรือเด็กที่อยู่ในภาวะค่อนข้างอ้วนและอ้วน
    5. ดำเนินการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาล 1 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนละ 1 ครั้ง นำผลที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางแก้ไข
    6. ติดตามการดำเนินงาน
    7. รายงานผล

    หลักฐานแหล่งอ้างอิง - สรุปโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ - คำสั่งแต่งตั้ง - ภาพถ่ายกิจกรรม - สรุปแบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคของนักเรียน - แบบรายงานการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียน

    • จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ พัฒนาเครื่องมือในการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงให้ทันสมัย เพื่อความแม่นยำในการแปลผล
    • ศึกษาแนวทางในการเฝ้าระวังการเจริญเติบโต ของนักเรียนอย่างละเอียด และจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
    • นำสภาพปัญหาจากการประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารไปทำงานวิจัยเพื่อหาวิธีแก้ไข
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
    • โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
    • โครงการเด็กไทยทำได้ (อาหารปลอดภัย, สุขาน่าใช้, เด็กไทยฟันดี)
    • โครงการบริการสุขภาพอนามัยนักเรียน
    • โครงการอย.น้อย
    • โครงการโรงเรียนปลอดโรค
    • โครงการโรงเรียนปลอดบุหรี่-เหล้า
    • โครงการสอนสุขบัญญัติ โภชนบัญญัติ ธงโภชนาการในชั้นเรียน
    1. จัดทำโครงการเพื่อให้สอดคล้องในการแก้ปัญหาสุขภาพและเพื่อการส่งเสริมสุขภาพให้แก่นักเรียนโดยนำเสนอผู้บริหารและคณะกรรมการ จากนั้นแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ทำงานตามแผนงานร่วมกัน เช่น

    - จัดอบรมผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ - จัดกิจกรรมล้างมือ 7 ขั้นตอน - จัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน - จัดกิจกรรมออกกำลังกาย - จัดกิจกรรมให้ความรู้งเสียงตามสาย - จัดกิจกรรมประกวดการวาดภาพ เขียนเรียงความและคำขวัญในวันสุขบัญญัติแห่งชาติ

    หลักฐานอ้างอิง - สรุปโครงการ - ภาพถ่ายกิจกรรม - ผลงานนักเรียน - ตรวจสอบสภาพจริง - สอบถามครู/ นักเรียน - เกียรติบัตร/โล่ รางวัล

    • จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง โดยนำสภาพปัญหาที่ได้ ข้อดี ข้อเสีย ที่ได้จากการสรุปแผนงาน โครงการ ไปหาแนวทางแก้ไขร่วมกันระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
    • ของบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชน
    • เผยแพร่ผลงาน จัดนิทรรรศการ
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
    • โครงการปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน
    • โครงการโรงเรียนปลอดโรค
    • โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออก
    • โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
    1. จัดทำโครงการปรับปรุงสภาพแวดล้อม
    2. สำรวจสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน อาคารเรียน ห้องน้ำห้องส้วม ห้องพยาบาล น้ำดื่ม-น้ำใช้ในโรงอาหาร การจัดการขยะมูลฝอย การกำจัดน้ำเสีย การควบคุมและกำจัดแมลง และสัตว์นำโรคอื่นๆ เช่ม ยุง แมลงวัน สนุข หนู แมลงสาบ และสำรวจสภาพแวดล้อมโดยรอบโรงเรียนเพื่อความปลอดภัย ในโรงเรียน เช่น เครื่องเล่นในสนามเด็กเล่น สระน้ำ
    3. ดำเนินการ ปรับปรุง แก้ไข ให้ถูกสุขลักษณะ อยู่ในสภาพที่เหมาะสมกับการใช้งาน ให้ความรู้แก่นักเรียนในการดูแลตนเอง เช่น การช่วยเหลือคนตกน้ำ
    4. สรุป รายงานผล

    หลักฐาน แหล่งอ้างอิง 1. สรุปโครงการต่างๆ 2. ภาพถ่ายกิจกรรม 3. ตรวจสภาพจริง

    • จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง โดยนำสภาพปัยหาที่พบ ไปวิเคราะห์เนื้อหา แนวทางแก้ไขอย่างมีประสิทธิภาพ
    • ระดมทรัพยากร เพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงแก้ไข ซ่อมแซมอาคารเรียน ห้องน้ำ ห้องส้วม สนามด็กเล่นเพื่อให้ถูกสุขลักษณะ
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนบ้านสะเดา จังหวัด พิษณุโลก

    รหัสโครงการ ศรร.1112-024

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสมจิตร นาคผู้ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด