ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านห้วยระหงส์


“ โรงเรียนบ้านห้วยระหงส์ ”

เลขที่ 238 ม.7 ตำบลปากช่อง อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์

หัวหน้าโครงการ
นายไสว จันอุดร

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านห้วยระหงส์

ที่อยู่ เลขที่ 238 ม.7 ตำบลปากช่อง อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัด เพชรบูรณ์

รหัสโครงการ ศรร.1112-019 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.19

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านห้วยระหงส์ จังหวัดเพชรบูรณ์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เลขที่ 238 ม.7 ตำบลปากช่อง อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านห้วยระหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านห้วยระหงส์



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านห้วยระหงส์ " ดำเนินการในพื้นที่ เลขที่ 238 ม.7 ตำบลปากช่อง อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ รหัสโครงการ ศรร.1112-019 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านห้วยระหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 375 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ปัญหาการบริโภคอาหารและโภชนาการภายในโรงเรียนบ้านห้วยระหงส์ โดยภาพรวมตัวอย่างเช่นอัตราการบริโภคผักผลไม้ปัญหาต่างๆที่เกิดจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกหลักโภชนาการเป็นต้น) มีดังนี้

  1. นักเรียนส่วนใหญ่มีปัญหาการบริโภคอาหาร เนื่องจากขาดสารอาหาร นักเรียนมีพฤติกรรม

  2. การรับประทานอาหารไม่ถูกต้อง ตามใจปากเช่นการไม่กินผัก ,ผลไม้ ไม่ชอบออกกำลังกายประกอบกับ

  3. ความไม่เอาใจใส่ของผู้ปกครอง เนื่องจากผู้ปกครองขาดความรู้ด้านโภชนาการ จัดการอาหารให้นักเรียนในปกครองแบบง่ายๆเช่น การซื้ออาหารสำเร็จ ได้แก่ ปิ้งไก่แหนม หมูยอเพราะเห็นว่า สะดวกทำให้เด็กเกิดความเคยชินในการบริโภค

จากการสำรวจพบว่า นักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยระหงส์ มีปัญหา ด้านทุพโภชนาการคือ มีเด็กต่ำกว่าเกณฑ์24รายคิดเป็นร้อยละ 10.44 นักเรียนอ้วน มีน้ำหนักไม่
สมดุลกับส่วนสูง10ราย คิดเป็นร้อยละ4.35และนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้7คนทั้งนี้สืบเนื่องมาจากปัญหาทางโภชนาการที่มีมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน* ด้วยเหตุนี้โรงเรียนบ้านห้วยระหงส์ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาภาวะโภชนาการทั้งขาดและเกินของนักเรียนจึงได้จัดทำโครงการการเด็กไทยแก้มใสในโรงเรียนขึ้นเพื่อลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนและมีความรู้และแนวทางในการจัดการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

จากสถาณการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านห้ววยระหงส์ จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการปีที่1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี มาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียนเพื่อให้เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆกับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อน้อมนำแนวทางการดาเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียนเพื่อการแก้ไขปัญหาการขาดสารอาหารและการพัฒนาภาวะโภชนาการและสุขภาพนักเรียนในระยะยาว
  2. 2. เพื่อสร้างกระบวนการประเมินติดตามและเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
  3. 3.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชุมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดาเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. โรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนและโรงเรียนอื่นๆ โดยน้อมนำเอารูปแบบการบริหารจัดการที่ดี ด้านอาหารโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนอย่างครบวงจรในโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดา
      สยามบรมราชกมารีมาเป็นแนวปฏิบัติ
    2. นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเจริญเติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาดีขึ้น
    3. นักเรียนมีทักษะในการทำงาน มีความมุ่งมั่นในการทำงานให้สำเร็จและรู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    4. ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการและสุขภาพของเด็กในปกครอง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร

    วันที่ 20 เมษายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 2 คน อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร
    - โปรแกรม Thai School Lunch
    - ระบบเฝ้าระวังโภชนาการ  ระหว่างวันที่ 20-22  เมษายน 2559  ที่โรงแรมดิเอ็มเพลท จ.เชียงใหม่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร ได้ความรู้เกี่ยวกับ - โปรแกรม Thai School Lunch
    - ระบบเฝ้าระวังโภชนาการและ บุคลากรสามารถใช้โปรแกรม TSLในการวางแผนจัดบริการอาหารกลางวันได้อย่างถูกต้อง

     

    2 0

    2. เตรียมบ่อเลี้ยงปลาบ่อซีเมนต์และบ่อดิน(ปลากินพืช)

    วันที่ 15 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      เตรียมบ่อเลี้ยงปลาบ่อปูนซีเมนต์และบ่อดิน(ปลากินพืช) 1. ซ่อมแซมรอยรั่วของบ่อเดิม
    2. เปลี่ยนปั้มน้ำออกซิเจน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต
    - ได้บ่อปูนซีเม็นต์ จำนวน 20 บ่อ สำหรับเลี้ยงปลาดุก 1 บ่อสามารถเลี้ยงปลาดุกได้ 300 ตัว
    - ได้บ่อดิน จำนวน 2 บ่อ สำหรับปลานิล ปลาตะเพียนปลายี่สก สามารถเลี้ยงได้บ่อละ 600 ตัว

     

    90 0

    3. ประชุมคณะครูและบุคลากรในโรงเรียนชี้แจงโครงการเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 17 พฤษภาคม 2016 เวลา 14.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 23 คน รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ร่วมกันประชุมวางแผน ร่วมกันวางแผนโครงการกิจกรรม ทั้ง 8 องค์ประกอบ จัดปฏิทินการปฏิบัติงาน ตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร และสนับสนุนตามแผนปฏิบัติการโรงเรียน จัดแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อฝึกปฏิบัติจริง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    บุคลากรแกนนำ ได้รับทราบนโยบาย ร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน และร่วมกันจัดทำกิจกรรมตามข้อตกลง ทั้ง 8 องค์ประกอบ ได้กำหนดปฏิทินการดำเนินงาน ตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรรในแต่ละงวด ร่วมกันวางแผนกิจกรรมการให้ความรู้ การฝึกปฏิบัติให้กับนักเรียนชุมชน เพื่อการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องและยั่งยืน

     

    23 23

    4. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    วันที่ 17 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมและได้เรียนรู้กิจกรรมเกษตร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -นักเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมเกษตร โภชนาการและสุขภาพอนามัยและได้เรียนรู้กิจกรรมเกษตร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

     

    232 232

    5. เพาะเห็ด

    วันที่ 20 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียนได้เรียนรู้การเพาะเห็เพื่อเป็นอาหารเพื่อจำหน่าย
    โรงเรียนและนักเรียน ร่วมกันเตรียมวัสดุการเพาะเห็ด และพื้นที่การเพาะเห็ด นักเรียนได้เริ่มปฏิบติจริง และมีความรับผิดชอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จำนวนปริมาณเห็ดที่ได้จำหน่ายให้สหกรณ์นักเรียน(คิด กิโลกรัม) นักเรียนพร้อมกับผู้ปกครองและบุคลากรในโรงเรียนช่วยกันเพาะเห็ดในโรงเรียนบ้านห้วยระหงส์

     

    100 100

    6. ปลูกฝักแม้ว ผักบุ้ง/คะน้า / ผักกาดกวางตุ้ง / ข้าวโพดหวาน

    วันที่ 6 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียนได้เรียนรู้การปลูกพืชผักปลอดสารพิษ เพื่อเป็นอาหารเพื่อจำหน่าย ตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงจึงจัดทำกิจกรรมปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ให้นักเรียนได้ปฏิบัติในสถานศึกษา โรงเรียนดำเนินการซื้อเมล็ดพันธุ์พืชผักสวนครัว
    โรงเรียนและนักเรียน ร่วมกันเตรียมวัสดุการเพาะปลูก และพื้นที่การเพาะปลูก นักเรียนได้เริ่มปฏิบติจริง และรับผิดชอบแปลงผักของตนเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต:จำนวนปริมาณผักที่ได้จำหน่ายให้สหกรณ์นักเรียน(คิด กิโลกรัม) ผลลัพธ์:นักเรียนทุกคนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ ได้วิตามินจากพืชผัก นักเรียนพร้อมกับผู้ปกครองและบุคลากรในโรงเรียนช่วยกันปลูกผัก ผลไม้ ในโรงเรียนบ้านห้วยระหงส์

     

    80 80

    7. เลี้ยงไส้เดือน/ปรุงดิน/ปุ๋ยหมัก ปรับสภาพดินให้เหมาะกับพืช

    วันที่ 8 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ซื้อพันธุ์ไส้เดือน 4 กิโลกรัม
    2. นำมาเลี้ยงในบ่อปูน 5 บ่อ
    3. ในบ่อใส่ดิน ใบไม้แห้ง กากน้ำตาล สัดส่วน 2:1:1 คลุกให้เข้ากัน
    4. ปล่อยไส้เดือนในบ่อ ทิ้งไว้ 1 สัปดาห์
    5. นำดินจากการปรุงไปผสมกับดินที่ใช้ปลูกพืชต่อไป 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ดินปรุงที่มีธาตุอาหารสำหรับพืช 5 บ่อ นำไปใช้กับแปลงพืชทุกชนิด 

     

    154 154

    8. ไถ่ดะ ไถ่พรวน ผสมดินให้เหมาะสมกับแปลงผัก (ดินปรุง+ดินพื้นที่+ปุ๋ยคอก)

    วันที่ 8 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ไถ่ดะ ไถ่พรวน ผสมดินให้เหมาะสมกับแปลงผัก (ดินปรุง+ดินพื้นที่+ปุ๋ยคอก)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ได้แปลงผักและดินที่เหมาะสมกับการปลูกผัก

     

    125 125

    9. ปลูกมัลเบอร์รี่

    วันที่ 9 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปลูกมัลเบอร์รี่  (หม่อนรับประทานผล)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ได้มัลเบอรรี่ไว้รับประทาน

     

    228 228

    10. ปลูกมะนาวในท่อซีเม็นต์

    วันที่ 9 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ปลูกมะนาวในท่อซีเม็นต์ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 94 คนจริง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ลูกมะนาวในการจัดทำอาหารกลางวันและจำหน่าย

     

    104 104

    11. แบ่งห้องเด็กดูแลรดน้ำผัก

    วันที่ 9 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 80คน รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -นักเรียนมีความรับผิดชอบดูแลรดน้ำผัก -ได้ผักและผลผลิต

     

    80 80

    12. เก็บเกี่ยวผลผลิตผัก

    วันที่ 9 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -นักเรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียนได้ช่วยกันเก็บผลผลิตและได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ได้ผักจำหน่ายสหกรณ์และเป็นอาหารกลางวันและได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ

     

    90 90

    13. การจัดการผลผลิต

    วันที่ 10 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ผลผลิต ผักเห็ด และผลไม้ จัดส่งสหกรณ์และจัดเป็นอาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    70 70

    14. การจัดการผลผลิต

    วันที่ 10 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 80 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ได้ผลผลิตส่งสหกรณ์โรงเรียนและเป็นอาหารกลางวันนักเรียนต่อไป

     

    80 80

    15. การจัดการ ในระบบสหกรณ์

    วันที่ 10 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้เกี่ยวกับระบบสหกรณ์ ชี้ผลดีต่อการเป็นสมาชิก และการดำเนินการในระบบสหกรณ์
    2. ประชุม คัดเลือก และแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินกิจการสหกรณ์
    3. ดำเนินกิจกรรมตามแผนงานที่วางไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีนักเรียน และครู เข้าร่วมกิจกรรม ให้ความสำคัญต่อการดำเนินงาน เกินเป้าหมายที่คาดไว้

     

    18 233

    16. ปล่อยพันธุ์ปลาดุก (บ่อซีเมนต์) และ ปลานิล ปลาตะเตียน ปลายี่สก (บ่อดิน)

    วันที่ 29 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนช่วยกันปล่อยปลา
    2. ให้อาหารปลา 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    • ปล่อยปลายี่สก 300 ตัว
    • ปล่อยปลาตะเพียน 300 ตัว
    • ปล่อยปลานิล 300 ตัว
    • ปล่อยปลาดุก 300 ตัว

    ผลลัพธ์
    - ปลาใช้เวลาเลี้ยงประมาณ 3 เดือน จะสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตเป็นอาหารกลางวันต่อไป

     

    90 90

    17. ดูแลให้อาหารปลา

    วันที่ 29 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -นักเรียนรับผิดชอบดูแลให้อาหารปลา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -นักเรียนมีความรับผิดชอบ -ได้ผลผลิตเป็นอาหารกลางวัน

     

    55 55

    18. ไถ่ดะ ไถ่พรวน ใส่ปุ๋ยคอกไร่ข้าว

    วันที่ 25 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การปลูกข้าวไร่ (พื้นที่ดำเนินการ 6 ไร่) แบ่งเป็น 2 แปลง
    แปลง 1 ปลูกข้าวพญาลืมแกง แปลง 2 ปลูกข้าวจ้าวนิล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แปลง 1 ปลูกข้าวพญาลืมแกง 3 ไร่ ได้ผลผลิต 25 ถัง แปลง 2 ปลูกข้าวจ้าวนิล 3 ไร่ ได้ผลผลิต 33 ถัง

     

    379 353

    19. หยอดเมล็ดข้าวในหลุม

    วันที่ 9 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียน ครูและผู้ปกครองนักเรียนช่วยกันหยอดเมล็ดข้าวไร่ และเมล็ดข้าวพญาลืมแกง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ได้ข้าวไว้จำหน่ายและไว้รับประทานเป็นอาหารกลางวัน

     

    269 269

    20. บำรุง และควบคุมดูแลกำจัดศัตรูพืช

    วันที่ 11 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมมอบหมาย กลุ่มนักเรียนที่รับผิดชอบแปลงปลูกแต่ละแปลงให้ดูแลกำจัด ควบคุมศัตรูพืชในแปลงที่รับผิดชอบ
    2. จัดหาอุปกรณ์ดูแลบำรุงพืช และช่วยกำจัดวัชพืช เช่น จอบ เสียบ ให้มีปริมาณที่เพียงพอ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พืชผัก ผลไม้ และข้าว ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง

     

    110 110

    21. เก็บเกี่ยวผลผลิตส่งสหกรณ์ และครัวอาหารกลางวัน

    วันที่ 17 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียน ครู และชุมชนช่วยกันเก็บเกี่ยวผลผลิตส่งสหกรณ์ และครัวอาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ผลผลิตส่งสหกรณ์ และครัวอาหารกลางวัน

     

    153 153

    22. ประชุมระบบติดตาม ตรวจรายงานงวด 1

    วันที่ 17 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. พบพี่เลี้ยงเพื่อแนะนำการจัดการเอกสารประกอบการใช้เงินที่ถูกต้องตามระเบียบ
    2. จัดการเอกสาร การเบิกจ่ายให้ถูกต้องตามระเบียบ
    3. จัดส่งเอกสารให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการเบิกจ่ายถูกต้องตามระเบียบ

     

    1 1

    23. การจัดการ โรงครัว

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดตารางการมาทำอาหาร เพื่อให้ผู้ปกครองสะดวกต่อการวางแผนเข้าร่วมกิจกรรม และครูผู้ดูแลด้านโภชนาการร่วมกันวางแผน การปรุงอาหารให้สอดคล้องกับโปรแกรม Thai school lunch จัดหา ปรับปรุง และแก้ไขอุปกรณ์และสถานที่ ให้ถูกต้องตามสุขลักษณะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ประชุมขอความร่วมมือจากผู้ปกครองให้เสียสละเวลามาช่วยประกอบอาหารกลางวัน
    2. จัดตารางการมาทำอาหาร เพื่อให้ผู้ปกครองสะดวกต่อการวางแผนเข้าร่วมกิจกรรม โดยจัดผู้ปกครองเป็นชุด ชุดละ 3-4 คน ทั้งหมด 16 ชุด
    3. ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลด้านโภชนาการร่วมกันวางแผน การปรุงอาหารให้สอดคล้องกับโปรแกรม Thai school lunch ล่วงหน้า 1 ภาคเรียน
    4. จัดหา ปรับปรุง และแก้ไขอุปกรณ์และสถานที่ ให้ถูกต้องตามสุขลักษณะ 

     

    249 295

    24. เก็บเกี่ยวผลผลิต

    วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เก็บเกี่ยวผลผลิตที่ได้จากการปลูกข้าว
    2. นำผลผลิตที่ได้ไปประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียน
    3. ผลการอภิปรายความคุ้มค่าของการปลูกข้าว มีความคุ้มค่ามากที่สุดในแง่การเป็นแบบอย่างให้ชุมชนได้ผลิตข้าวรับประทานเองได้ในพื้นที่ในหมู่บ้าน มีความคุ้มค่ามากในการทดลองปลูกให้เห็นปัญหา เพื่อเป็นแนวทางการป้องกันในการปลูกครั้งต่อไปในหมู่บ้าน มีความคุ้มค่าน้อย ในด้านปริมาณของผลผลิตที่ได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้าวเหนียวพญาลืมแกง 25 ถังจากการปลูกในพื้นที่ 3 ไร่ ได้ข้าวจ้าว 30 ถัง จากการปลูกในพื้นที่ 3 ไร่

     

    279 279

    25. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 20 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนดอกเบี้ยในบัญชี จำนวน 25.57 บาท เพื่อปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนดอกเบี้ยในบัญชี จำนวน 25.57 บาท เพื่อปิดโครงการ

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อน้อมนำแนวทางการดาเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียนเพื่อการแก้ไขปัญหาการขาดสารอาหารและการพัฒนาภาวะโภชนาการและสุขภาพนักเรียนในระยะยาว
    ตัวชี้วัด : 1.มีการน้อมนำแนวทางการดาเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียนได้อย่างเหมาะสมกับบริบทพื้นที่และพร้อมที่จะเป็นแหล่งเรียนรู้เรื่องการจัดการอาหารและโภชนาการแบบครบวงจรสาหรับเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    โรงเรียนได้มีการน้อมนำแนวทางการดาเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียนได้อย่างเหมาะสมกับบริบทพื้นที่และพร้อมที่จะเป็นแหล่งเรียนรู้เรื่องการจัดการอาหารและโภชนาการแบบครบวงจรและได้ส่งเสริมให้ชุมชนภาคีเครือข่ายดำเนินการตามพระราชดำริ

    2 2. เพื่อสร้างกระบวนการประเมินติดตามและเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
    ตัวชี้วัด : 2.เกิดระบบการประเมินติดตามเฝ้าระวังและแนวทางการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการ

    มีการเฝ้าระวังติดตามประเมินผล ในเรื่องของโภชนาการอย่างเป็นระบบ

    3 3.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชุมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดาเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
    ตัวชี้วัด : 3.เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดาเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมาร

    โรงเรียนชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ดำเนินการด้านโภชนาการและสุขภาวะตามแนวพระราชดำริอย่างเป็นระบบครบวงจร

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อน้อมนำแนวทางการดาเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียนเพื่อการแก้ไขปัญหาการขาดสารอาหารและการพัฒนาภาวะโภชนาการและสุขภาพนักเรียนในระยะยาว (2) 2. เพื่อสร้างกระบวนการประเมินติดตามและเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน (3) 3.เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชุมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดาเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านห้วยระหงส์

    รหัสโครงการ ศรร.1112-019 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.19 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    โรงเรียนได้ดำเนินการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการทุกลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการงานอาชีพ
    ชมรมยุวเกษตร ได้ลงมือปฏิบัติจริงการปลูกข้าวไร่ การปลูกผัก ผลไม้ เลี้ยงปลา เพาะเห็ด ปุ๋ยชีวภาพ

    ขั้นตอนการดำเนินงาน จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา จัดกิจกรรมการเรียนการสอน การปลูกผัก ดำเนินการตามกิจกรรมที่กำหนดไว้ ประเมินผลกิจกรรม
    เนื่องจากผลผลิตที่ได้จะนำไปใช้ในการประกอบอาหารกลางวันกับนักเรียนดั้งนั้นการดำเนินกิจกรรมด้านต่างๆ มีคณะนักเรียนเป็นผู้ดำเนินการด้านต่างๆดังนี้ กิจกรรมย่อย
    1.) การปลูกข้าวไร่ การปลูกข้าวไร่ เนื่องสภาพปัญหาชุมชนบ้านห้วยระหงส์ ผู้ปกครองมีฐานะยากจน มีอาชีพรับจ้าง หาของป่าขาย มีรายได้น้อยต้องนำเงินมาซื้อข้าวโรงเรียนจึงได้ดำเนินการปลูกข้าวไร่ เพื่อเป็นตัวอย่างให้กับชุมชน และนำมาเป็นอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนตลอดปี นักเรียนได้มีข้าวรับประทานกลางวันทุกคน
    ขั้นตอน/วิธีการดำเนินงานปลูกข้าว ไถดะ ไถพรวน เตรียมดิน ขุดหลุ่ม ใช้เมล็ดพันธ์ุที่เลือก หยอดหลุุมละ 5-8 เม็ด
    ป้องกันกำจัดวัชพืชเมื่อข้าวเจริญเติบโต ใส่ปุ๋ย ประมาณ 4 เดือน ข้าวแก่ เก็บเกี่ยว นำข้าวที่ได้มาแปรรูป เป็นอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน 2.)การปลูกผักได้แก่ ผักบุ้ง คะน้า กวางตุ้ง กระเพา ฝักม้ง ผักกาดหอม ต้นหอม คื่นฉ่าย ตะไคร้โหระพา ขั้นตอน/วิธีการ 1.ไถดะ พรวน เตรียมแปลง ดิน เมล็ดพั่นธ์ุ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก
    2.เพาะต้นกล้า นำต้นกล้ามาปลูกในแปลงที่เตรียมไว้ รดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ยชีวภาพ 3.เก็บผลผลิต นักเรียนคิดต้นทุน ผลผลิต นำผักมาขายให้สหกรณ์ ส่งโรงอาหาร เป็นอาหารกลางงวัน 3.)การปลูกมัลเบอร์รี หม่อนรับประทานผล ขั้นตอน/วิธีการ เตรียมพันธ์ุ ต้นกล้า เตรียมดิน
    ขุดหลุ่ม 50X50นำต้นกล้าปลูก 8 เดือน ได้ผลผลิต นำผลผลิตที่ได้ขายให้สหกรณ์ ส่งโรงอาหารอาหารว่างแปรรูป 4.)ปลูกมะนาวในวงท่อซีเมนต์ ขั้นตอน/วิธีการ 1.เตรียมดิน วงท่อเส้นผ่าศูนย์กลาง 120ซม. พันธ์ุมะนาว ปลูก ใส่ปุ๋ยรดนำ้ดูแลบำรุง 5.)การเพาะเห็ด ขั้นตอน/วิธีการ เตรียมโรงเห็ด ได้ผลผลิต นำผลผลิตที่ได้ขายให้สหกรณ์ ส่งโรงอาหารแปรรูป
    ุ6.)การเลี้ยงปลา ขั้นตอน/วิธีการ เตรียมบ่อพันธุ์ปลาอาหาร เลี้ยงปลาบ่อซีเมนต์ได้ผลผลิต นำผลผลิตที่ได้ขายให้สหกรณ์ ส่งโรงอาหารแปรรูป 7.) การปลูกกล้วย ขั้นตอน/วิธีการ เตรียมพันธ์ุ ต้นกล้า เตรียมดิน
    ขุดหลุ่ม 50X50นำต้นกล้าปลูกได้ผลผลิต นำผลผลิตที่ได้ขายให้สหกรณ์ ส่งโรงอาหารอาหารว่างแปรรูป

    กิจกรรมการปลูกข้าวไร่ ขยายพื้นที่การปลูกข้าวไร่ เพื่อนักเรียนมีข้าวรับประทานตลอดปี หาพันธุ์ข้าวใหม่ๆมาปลูกเปรียบเทียบ ข้าวพันธ์ุใดได้ผลผลิตมาก เหมาะสมกับภูมิประเทศที่ปลูกอย่างไร เป้น การส่งเสริมให้นักเรีายน ผู้ปกครอง ชุมชน ได้เกิดการเรียนรู้การปลูกข้าวให้มากขึ้นและขยายผลสู่ชุมชน 2.กิจกำรรมการปลูกผัก ผลไม้ เลี้ยงปลา จะขยายพื้นที่เพิ่มมากขึ้น และหมุนเวียนตลอดปี 3.โรงเรียนจัดทำฝายชะลอน้ำเพิ่มขึ้น หรือแหล่งเก็บน้ำ ไว้ใช้การเกษตรในโรงเรียน เลี้ยงสัตวฺ เพราะในฤดูแล้งน้ำจะแห้ง ไม่เพียงพอ และขยายผลสู่ชุมชน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

    กิจกรรมสหกรณ์ เป็นกิจกรรมร้านค้าที่นักเรียนได้ประสบการณ์ตรง โรงเรียนได้ดำเนินการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการทุกลุ่มสาระการเรียนรู้

    กิจกรรมสหกรณ์ เป็นกิจกรรมที่นักเรียนได้ประสบการณ์ตรง มีการดำเนินการทางบัญชีรับ - จ่าย ตามระบบสหกรณ์ มีการนำผลผลิตเกษตรในโรงเรียน มาจำหน่ายเข้าสหกรณ์แล้วจำหน่ายเข้าโครงการอาหารกลางวัน มีการระดมทุนและปันผลเฉลี่ยคืนแก่สมาชิก ทำให้นักเรียนรู้จักการซื้อ-ขายและการเก็บออมตามระบบบัญชี

    ขยายผลให้นักเรียนทุกระดับชั้นได้เรียนรู้การลงบัญชีรายรับ - รายจ่าย รายวันเป็นและนำไปทำบัญชีรับ จ่าย รายวันของตนเองในครัวเรียนและขยายผลสู่ผู้ปกครอง ชุมชน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

    เนื่องจากผู้ปกครองมีความเป็นอยู่ฐานะอยากจนขาดแคลนด้านอาหาร ทำให้นักเรียนมีพัฒนาการทางด้านร่างกายไม่สมบูรณ์ ส่งผลให้นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการ ดังนั้นโรงเรียนจึงได้ดำเนินการจัดทำกิจกรรม ตองหนึ่ง 111เพื่อแก้ปัญหา และปัจจุบันนักเรีายนมีสุขภาพดีขึ้นตามหลักภาวะโภชนาการของกรมอนามัย โรงเรียได้ดำเนินการประกอบอาหารกลางวัน ตามโปรแกรม Thai school Lunch

    คัดแยกนักเรียนโดยการชั่ง นำ้หนัก ส่วนสูง อ้วน ผอม เตี้ย ค่อนข้างอ้วน โดยให้นักเรียนทุกคน ฝึกทดกราฟภาวะการเจริญเติบโตของตนเอง
    ครูนำข้อมูล นำ้หนัก ส่วนสูงมาลงโปรแกรมภาวะการเจริญเติบโตของนักเรียน นักเรียนผอม ภาวะทุพโภชนาการ แก้ปัญหาโดยใช้กิจกรรม ตองหนึ่ง 111 วิธีการ คือ ข้าว 1 ถ้วย กล้วย 1 ใบ ไข่ 1 ฟอง โรงเรียนจัดบริการอาหารตาม โปรแกรมThai school Lunchผู้ปกครองเปลี่ยนเวรกันมาประกอบอาหาร ส่งผล ทำให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้นตามหลักของกรมอนามัย

    โรงเรียนจัดบริการอาหารตาม โปรแกรมThai school Lunchส่งผล ทำให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้นตามหลักของกรมอนามัย

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    โรงเรียนได้ดำเนินการตรวจสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลปากช่อง สาธารณสุขอำเภอ ศูนย์อนามัยพิษณุโลก

    จัดให้มีการอบรมเพิ่มพูนความรู้แก่คณะครูและนักเรียนเกี่ยวกับการบัทึกข้อมูล การจุดกราฟ และแปรผลสุขภาพนักเรียน เพื่อนำผลไปแก้ไขปัญหาด้านโภชนาการและสุขอนามัยของนักเรียน มีการจัดทำคู่มือเพื่อให้ครู นักเรียนที่เกี่ยวข้องสามารถดำเนินการด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องครบถ้วน และได้จัดกลุ่มนักเรียนที่ขาดสารอาหารให้ได้รับการดูแลเป็นพิเศษ และแก้ปัญหานักเรียนกลุ่มที่ค่อนข้างอ้วนและอ้วน ด้วยการจัดทำโปรแกรม การออกกำลังกายทุกวัน ส่งเสริมการกินผัก เลือกรับประทานอาหาร ลดแป้ง ไขมัน

    สร้างภาคีเครือข่าย ให้ความรู้แก่นักเรียนด้านภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียนในรูปของสื่อมัลติมิเดีย แผ่นป้าย ประชาสัมพันธ์ และการอบรมให้ความรู้

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    โรงเรียนจัดให้มีข้อตกลง ในการสร้างสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียนโดยเป็นข้อตกลงของนักเรียน ครู ชุมชน

    การพัฒนาสุขนิสัย การฝึกฝนให้นักเรียนได้่รู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ฝึกมารยาทในการรับประทานอาหาร การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร การใช้ช้อนกลาง แก้วน้ำส่วนตัว การทำความสะอาดอุปกรณ์ การแปรงฟัน รวมถึงการรักษาดูแลสุขภาพของตนเองด้วยการบูรณาการ การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาสุขศึกษาของทุกชั้นเรียน ครู นักเรียนทำกิจกรรมบันทึกสุขภาพรายบุคคล และทำแบบประเมินพฤติกรรมสุขบัญญัติแห่งชาติ

    ให้ความรู้ อบรม ศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

    โรงเรียนแบ่งกลุ่มนักเรียน ดูแลตามกลุ่มที่ได้รับมอบหมายภายในและภายนอกห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้และปลอดภัย

    โรงเรียนได้ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในโรงเรียนเพื่อให้สัมพันธ์กับการดำเนินโครงการเด็กไทยแก้มใส คือจัดให้มีสนามเด็กเล่น สวนหย่อม มุมสบายๆ ให้นักเรียนได้พักผ่อนหย่อนใจ จัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อสนับสนุนโครงการ ได้แก่ กิจกรรม 5 ส. กิจกรรมส้วมสุขสีนต์ กิจกรรมกำจัดลูกน้ำยุงลาย กิจกรรมธนาคารขยะ กิจกรรมพลังใสใส่ใจสิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์หลักของแต่ละกิจกรรมเพื่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่ดีของเด็กในอนาคต

    นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสิ่งแวดล้อม นำโดยสภานักเรียน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

    โรงเรียนได้ดำเนินการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเข็มแข็งเน้นการมีส่วนร่วม

    การจัดบริการสุขภาพ จัดทำตาราง กำหนดการบริหารด้านสุขภาพไว้ชัดเจน เช่น การดื่มนม การตรวจเสื้อผ้า เล็บ ผม ความสะอาดร่างกาย โดยประสานกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากช่องบ้านห้วยระหงส์ ทำการตรวจสุขภาพนักเรียน ช่องปาก ฟัน การตรวจวัดสายตา ให้ความรู้เรื่องอาหาร โภชนาการ โรคติดต่อ ในกรณีมีอุบัติเหตุ ฉุกเฉินจะส่งต่อโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทันที่

    ให้ความรู้ ครู นักเรียน ผู้เกี่ยวข้อง ชุมชน
    ด้านการจัดบริการสุขภาพนักเรียนที่ดีโดยใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    จัดทำคู่มือ และฐานการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

    การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เกษตร โภชนาการและสุขภาพ การปรับปรุงโครงสร้างหลักสูตร เวลาเรียน และการวิเคราะห์หลักสูตรจะช่วยให้โครงการนี้ดำเนินการได้ดี สามารถที่นำมาบูรณาการทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

    ส่งเสริมให้นักเรียน ชุมชน ผู้เกี่ยวข้อง เข้าศึกษา เรียนรู้ตามฐานการเรียนรู้ ตามคู่มือการเรียนรู้ มีวิทยากรประจำฐาน แบบถอดบทเรียน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    1โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากช่องบ้านห้วยระหงส์ 2.องคฺ์การบริหารส่วนตำบลปากช่อง 3.สถานีตำรวจภูธรบ้านกลาง 4.คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยระหงส์ 5.อสม.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากช่องบ้านห้วยระหงส์ 6.ผู้ปกครอง ชุมชน 7.ปราชญ์ชาวบ้านบ้านห้วยระหงส์ 8.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์เขต 2
    9. สสส. 10.ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    แหล่งน้ำ โรงเรียนมีลำห้วยระหงส์ไหลผ่าน ทำให้สามารถนำน้ำจากลำห้วยมาใช้ประโยชน์ในการเกษตร เลี้ยงปลา นอกจากนี้ โรงเรียนยังได้จัดทำฝายชะลอน้ำ เพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้ในยามที่ขาดแคลน พร้อมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนจัดทำฝายชะลอน้ำใช้ในการเกษตรเช่นกัน ส่งผลให้ชุมชนสามารถปลูกผักผักในฤดูแล้งได้

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    การสร้างภาคีเครือข่าย การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน ที่เข็มแข็ง ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมวางแผน สร้างความตระหนักในเรื่องสุขภาพสุขภาวะของนักเรียน

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    แต่งตั้งคณะทำงาน ส่งเข้าอบรมศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาศักยภาพ พัฒนาความรู้ครู นักเรียน และแม่ครัว

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะทำงาน ร่วมวางแผน และดำเนินงานตามแผน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    นักเรียนได้รับประทานอาหาร ผลไม้ ที่ผลิตในโรงเรียนได้แก่ กล้วยมัลเบอรี่ ผัก

    โรงเรียนบ้านห้วยระหงส์ ได้ดำเนินการปลูก กล้วยจำนวน100ต้น มัลเบอรี จำนวน 100 ต้น ผักจำนวน 1 ไร่

    ขยายพื้นที่และเพิ่มจำนวนมากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    เลี้ยงปลาในบ่อซีเมนต์และบ่อดินเเ

    โรงเรียนบ้านห้วยระหงส์เลี้ยงปลาในบ่อซีเมนต์จำนวน 1,000ตัว

    เพิ่มจำนวน ขยายพื้้นที่ มากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

     

     

     

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

    นักเรียนรับประทานอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch

    โปรแกรม Thai School Lunch ของโรงเรียนบ้านห้วยระหงส์

    ให้ความรู้ครู นักเรียนทุกคน ผู้ปกครองเกี่ยวกับโปรแกรม Thai School Lunch และมีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์ของผัก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    นักเรียนรับประทานอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch

    โปรแกรม Thai School Lunch ของโรงเรียนบ้านห้วยระหงส์

    ให้ความรู้ครู นักเรียนทุกคน ผู้ปกครองเกี่ยวกับโปรแกรม Thai School Lunch และมีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์ของผัก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    นักเรียนรับประทานอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch

    โปรแกรม Thai School Lunch ของโรงเรียนบ้านห้วยระหงส์

    ห้ความรู้ครู นักเรียนทุกคน ผู้ปกครองเกี่ยวกับโปรแกรม Thai School Lunch และมีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์ของผัก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

    ส่งเสริมให้ชุมชน ภาคีเครือข่ายมีความรู้ความเข้าใจ ในการปลูกพืชปลอดสารพิษ

    กลุ่ม และภาคีเครือข่ายดำเนินการปลูกพืชปลอดสารพิษโดยใช้สารชีวภาพ

    ให้ความรู้ และส่งเสริมให้ชุมชนปลูกพืชปลอดสารพิษจำนวนมากขึ้นโดยการขยายเครือข่าย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

    โรงเรียนได้จัดทำอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch ทั้งระดับชั้นอนุบาล และประถม ทุกวัน

    โปรแกรม รายการอาหารแต่ละวัน

    ส่งเสริมให้ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้และนำโปรแกรม Thai School Lunch

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

    การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ทดสอบสมรรถภาพทางกายทุกภาคเรียน

    แบบบันทึกการชั่งนำ้หนัก วัดส่วนสูง ของกรมอนามัย

    มีการใช้โปรแกรมในการตรวจสอบภาวะโภชนาการตามโปรแกรมของกรมอนามัย

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/22560 2/12560 2/2
    เตี้ย 1.12 1.12% 0.56 0.56% 1.67 1.67% 1.67 1.67% 2.70 2.70% 2.70 2.70% 2.17 2.17% 1.60 1.60% 1.14 1.14% 1.17 1.17% 1.17 1.17%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 9.55 9.55% 8.99 8.99% 7.22 7.22% 8.33 8.33% 10.81 10.81% 9.19 9.19% 10.33 10.33% 9.09 9.09% 7.39 7.39% 8.19 8.19% 7.02 7.02%
    ผอม 3.37 3.37% 2.25 2.25% 4.44 4.44% 4.44 4.44% 2.70 2.70% 3.24 3.24% 1.09 1.09% 1.61 1.61% 1.70 1.70% 0.58 0.58% 0.58 0.58%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 15.17 15.17% 11.80 11.80% 12.22 12.22% 12.22 12.22% 5.41 5.41% 9.73 9.73% 8.15 8.15% 7.53 7.53% 5.11 5.11% 5.26 5.26% 5.85 5.85%
    อ้วน 0.56 0.56% 0.56 0.56% 2.22 2.22% 3.33 3.33% 2.70 2.70% 2.70 2.70% 2.72 2.72% 2.69 2.69% 3.41 3.41% 4.09 4.09% 3.51 3.51%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 4.49% 4.49% 3.93% 3.93% 5.56% 5.56% 7.78% 7.78% 7.03% 7.03% 5.95% 5.95% 5.43% 5.43% 5.91% 5.91% 6.82% 6.82% 7.02% 7.02% 6.43% 6.43%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

    นักเรียนที่มีภาวะอ้วน ได้รับการดูแล ควบคุมอาหาร ตามโปรแกรมThai School Lunch และการออกกำลังกาบอย่างสมำ่เสมอ

    แบบบันทึกนำ้หนักส่วนสูงของนักเรียนตามเกณฑ์ของกรมอนามัย

    ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ปัญหาสุขภาพที่มักเกิดกับผู้มีภาวะอ้วนและส่งเสริมการออกกำลังกาย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

    นักเรียนที่มีภาวะผอม ได้รับการดูแล ควบคุมอาหาร ตามโปรแกรมThai School Lunch และการออกกำลังกาบอย่างสมำ่เสมอ

    แบบบันทึกนำ้หนักส่วนสูงของนักเรียนตามเกณฑ์ของกรมอนามัย

    ส่งเสริมให้นักเรียนรับประทานอาหารให้ครบถ้วนตามหลักโภชนาการทั้งที่โรงเรียนและที่บ้านและส่งเสริมการออกกำลังกาย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

    นักเรียนที่มีภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง ได้รับการดูแล ควบคุมอาหาร ตามโปรแกรมThai School Lunch และการออกกำลังกาบอย่างสมำ่เสมอ

    แบบบันทึกนำ้หนักส่วนสูงของนักเรียนตามเกณฑ์ของกรมอนามัย

    ส่งเสริมให้นักเรียนรับประทานอาหารให้ครบถ้วนตามหลักโภชนาการทั้งที่โรงเรียนและที่บ้านและส่งเสริมการออกกำลังกาย การดื่มนม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

    นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ได้รับการดูแล ควบคุมอาหารตามโปรแกรมThai School Lunch และใช้กิจกรรมตองหนึ่ง 111 คือข้าว 1ถ้วย กล้วย1 ใบ ไข่1 ฟอง

    แบบบันทึกนำ้หนักส่วนสูงของนักเรียนตามเกณฑ์ของกรมอนามัย

    ส่งเสริมให้นักเรียนรับประทานอาหารให้ครบถ้วนตามหลักโภชนาการทั้งที่โรงเรียนและที่บ้านและส่งเสริมการออกกำลังกาย การดื่มนม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

    ผู้ปกครองได้รับความรู้โปรแกรมThai School Lunch และร่วมประกอบอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทุกวัน

    แต่งตั้งผู้ปกครองนักเรียนประกอบอาหารกลางวันทุกวันวันละ 5 คน โดยสับเปลี่ยนหมุนเวียนกัน

    ส่งเสริมให้ผู้ปกครองนำปรแกรมThai School Lunch ไปใช้ที่บ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    1โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากช่องบ้านห้วยระหงส์ 2.องคฺ์การบริหารส่วนตำบลปากช่อง 3.สถานีตำรวจภูธรบ้านกลาง 4.คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยระหงส์ 5.อสม.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากช่องบ้านห้วยระหงส์ 6.ผู้ปกครอง ชุมชน 7.ปราชญ์ชาวบ้านบ้านห้วยระหงส์ 8.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์เขต 2
    9. สสส. 10.ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนบ้านห้วยระหงส์ จังหวัด เพชรบูรณ์

    รหัสโครงการ ศรร.1112-019

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายไสว จันอุดร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด