ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านห้วยระหงส์ |
สังกัด | ?? |
หน่วยงานต้นสังกัด | ?? |
ที่อยู่โรงเรียน | เลขที่ 238 หมู่ที่ 7 ตำบลปากช่อง อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ |
จำนวนนักเรียน | 205 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม,มัธยมต้น |
ผู้อำนวยการ | นายไสว จันอุดร |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางสาวชนิภรณ์ สันเบ้า |
คืนดอกเบี้ยในบัญชี จำนวน 25.57 บาท เพื่อปิดโครงการ
คืนดอกเบี้ยในบัญชี จำนวน 25.57 บาท เพื่อปิดโครงการ
- เก็บเกี่ยวผลผลิตที่ได้จากการปลูกข้าว
- นำผลผลิตที่ได้ไปประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียน
- ผลการอภิปรายความคุ้มค่าของการปลูกข้าว มีความคุ้มค่ามากที่สุดในแง่การเป็นแบบอย่างให้ชุมชนได้ผลิตข้าวรับประทานเองได้ในพื้นที่ในหมู่บ้าน มีความคุ้มค่ามากในการทดลองปลูกให้เห็นปัญหา เพื่อเป็นแนวทางการป้องกันในการปลูกครั้งต่อไปในหมู่บ้าน มีความคุ้มค่าน้อย ในด้านปริมาณของผลผลิตที่ได้
ได้ข้าวเหนียวพญาลืมแกง 25 ถังจากการปลูกในพื้นที่ 3 ไร่ ได้ข้าวจ้าว 30 ถัง จากการปลูกในพื้นที่ 3 ไร่
จัดตารางการมาทำอาหาร เพื่อให้ผู้ปกครองสะดวกต่อการวางแผนเข้าร่วมกิจกรรม และครูผู้ดูแลด้านโภชนาการร่วมกันวางแผน การปรุงอาหารให้สอดคล้องกับโปรแกรม Thai school lunch จัดหา ปรับปรุง และแก้ไขอุปกรณ์และสถานที่ ให้ถูกต้องตามสุขลักษณะ
- ประชุมขอความร่วมมือจากผู้ปกครองให้เสียสละเวลามาช่วยประกอบอาหารกลางวัน
- จัดตารางการมาทำอาหาร เพื่อให้ผู้ปกครองสะดวกต่อการวางแผนเข้าร่วมกิจกรรม โดยจัดผู้ปกครองเป็นชุด ชุดละ 3-4 คน ทั้งหมด 16 ชุด
- ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลด้านโภชนาการร่วมกันวางแผน การปรุงอาหารให้สอดคล้องกับโปรแกรม Thai school lunch ล่วงหน้า 1 ภาคเรียน
- จัดหา ปรับปรุง และแก้ไขอุปกรณ์และสถานที่ ให้ถูกต้องตามสุขลักษณะ
- พบพี่เลี้ยงเพื่อแนะนำการจัดการเอกสารประกอบการใช้เงินที่ถูกต้องตามระเบียบ
- จัดการเอกสาร การเบิกจ่ายให้ถูกต้องตามระเบียบ
- จัดส่งเอกสารให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบ
มีการเบิกจ่ายถูกต้องตามระเบียบ
นักเรียน ครู และชุมชนช่วยกันเก็บเกี่ยวผลผลิตส่งสหกรณ์ และครัวอาหารกลางวัน
ได้ผลผลิตส่งสหกรณ์ และครัวอาหารกลางวัน
- ประชุมมอบหมาย กลุ่มนักเรียนที่รับผิดชอบแปลงปลูกแต่ละแปลงให้ดูแลกำจัด ควบคุมศัตรูพืชในแปลงที่รับผิดชอบ
- จัดหาอุปกรณ์ดูแลบำรุงพืช และช่วยกำจัดวัชพืช เช่น จอบ เสียบ ให้มีปริมาณที่เพียงพอ
พืชผัก ผลไม้ และข้าว ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง
นักเรียน ครูและผู้ปกครองนักเรียนช่วยกันหยอดเมล็ดข้าวไร่ และเมล็ดข้าวพญาลืมแกง
-ได้ข้าวไว้จำหน่ายและไว้รับประทานเป็นอาหารกลางวัน
การปลูกข้าวไร่
(พื้นที่ดำเนินการ 6 ไร่) แบ่งเป็น 2 แปลง
แปลง 1 ปลูกข้าวพญาลืมแกง
แปลง 2 ปลูกข้าวจ้าวนิล
แปลง 1 ปลูกข้าวพญาลืมแกง 3 ไร่ ได้ผลผลิต 25 ถัง แปลง 2 ปลูกข้าวจ้าวนิล 3 ไร่ ได้ผลผลิต 33 ถัง
-นักเรียนรับผิดชอบดูแลให้อาหารปลา
-นักเรียนมีความรับผิดชอบ -ได้ผลผลิตเป็นอาหารกลางวัน
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 80 คน
-ได้ผลผลิตส่งสหกรณ์โรงเรียนและเป็นอาหารกลางวันนักเรียนต่อไป
- นักเรียนช่วยกันปล่อยปลา
- ให้อาหารปลา
ผลผลิต
- ปล่อยปลายี่สก 300 ตัว
- ปล่อยปลาตะเพียน 300 ตัว
- ปล่อยปลานิล 300 ตัว
- ปล่อยปลาดุก 300 ตัว
ผลลัพธ์
- ปลาใช้เวลาเลี้ยงประมาณ 3 เดือน จะสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตเป็นอาหารกลางวันต่อไป
- ประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้เกี่ยวกับระบบสหกรณ์ ชี้ผลดีต่อการเป็นสมาชิก และการดำเนินการในระบบสหกรณ์
- ประชุม คัดเลือก และแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินกิจการสหกรณ์
- ดำเนินกิจกรรมตามแผนงานที่วางไว้
มีนักเรียน และครู เข้าร่วมกิจกรรม ให้ความสำคัญต่อการดำเนินงาน เกินเป้าหมายที่คาดไว้
-ผลผลิต ผักเห็ด และผลไม้ จัดส่งสหกรณ์และจัดเป็นอาหารกลางวัน
-
-นักเรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียนได้ช่วยกันเก็บผลผลิตและได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ
-ได้ผักจำหน่ายสหกรณ์และเป็นอาหารกลางวันและได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ
จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 80คน รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
-นักเรียนมีความรับผิดชอบดูแลรดน้ำผัก -ได้ผักและผลผลิต
-ปลูกมะนาวในท่อซีเม็นต์ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 94 คนจริง
ได้ลูกมะนาวในการจัดทำอาหารกลางวันและจำหน่าย
ปลูกมัลเบอร์รี่ (หม่อนรับประทานผล)
-ได้มัลเบอรรี่ไว้รับประทาน
ไถ่ดะ ไถ่พรวน ผสมดินให้เหมาะสมกับแปลงผัก (ดินปรุง+ดินพื้นที่+ปุ๋ยคอก)
-ได้แปลงผักและดินที่เหมาะสมกับการปลูกผัก
- ซื้อพันธุ์ไส้เดือน 4 กิโลกรัม
- นำมาเลี้ยงในบ่อปูน 5 บ่อ
- ในบ่อใส่ดิน ใบไม้แห้ง กากน้ำตาล สัดส่วน 2:1:1 คลุกให้เข้ากัน
- ปล่อยไส้เดือนในบ่อ ทิ้งไว้ 1 สัปดาห์
- นำดินจากการปรุงไปผสมกับดินที่ใช้ปลูกพืชต่อไป
- ได้ดินปรุงที่มีธาตุอาหารสำหรับพืช 5 บ่อ นำไปใช้กับแปลงพืชทุกชนิด
-นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมและได้เรียนรู้กิจกรรมเกษตร โภชนาการและสุขภาพอนามัย
-นักเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมเกษตร โภชนาการและสุขภาพอนามัยและได้เรียนรู้กิจกรรมเกษตร โภชนาการและสุขภาพอนามัย
นักเรียนได้เรียนรู้การปลูกพืชผักปลอดสารพิษ เพื่อเป็นอาหารเพื่อจำหน่าย ตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงจึงจัดทำกิจกรรมปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ให้นักเรียนได้ปฏิบัติในสถานศึกษา
โรงเรียนดำเนินการซื้อเมล็ดพันธุ์พืชผักสวนครัว
โรงเรียนและนักเรียน ร่วมกันเตรียมวัสดุการเพาะปลูก และพื้นที่การเพาะปลูก
นักเรียนได้เริ่มปฏิบติจริง และรับผิดชอบแปลงผักของตนเอง
ผลผลิต:จำนวนปริมาณผักที่ได้จำหน่ายให้สหกรณ์นักเรียน(คิด กิโลกรัม) ผลลัพธ์:นักเรียนทุกคนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ ได้วิตามินจากพืชผัก นักเรียนพร้อมกับผู้ปกครองและบุคลากรในโรงเรียนช่วยกันปลูกผัก ผลไม้ ในโรงเรียนบ้านห้วยระหงส์
นักเรียนได้เรียนรู้การเพาะเห็เพื่อเป็นอาหารเพื่อจำหน่าย
โรงเรียนและนักเรียน ร่วมกันเตรียมวัสดุการเพาะเห็ด และพื้นที่การเพาะเห็ด
นักเรียนได้เริ่มปฏิบติจริง และมีความรับผิดชอบ
จำนวนปริมาณเห็ดที่ได้จำหน่ายให้สหกรณ์นักเรียน(คิด กิโลกรัม) นักเรียนพร้อมกับผู้ปกครองและบุคลากรในโรงเรียนช่วยกันเพาะเห็ดในโรงเรียนบ้านห้วยระหงส์
จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 23 คน รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ร่วมกันประชุมวางแผน ร่วมกันวางแผนโครงการกิจกรรม ทั้ง 8 องค์ประกอบ จัดปฏิทินการปฏิบัติงาน ตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร และสนับสนุนตามแผนปฏิบัติการโรงเรียน จัดแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อฝึกปฏิบัติจริง
บุคลากรแกนนำ ได้รับทราบนโยบาย ร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน และร่วมกันจัดทำกิจกรรมตามข้อตกลง ทั้ง 8 องค์ประกอบ ได้กำหนดปฏิทินการดำเนินงาน ตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรรในแต่ละงวด ร่วมกันวางแผนกิจกรรมการให้ความรู้ การฝึกปฏิบัติให้กับนักเรียนชุมชน เพื่อการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องและยั่งยืน
เตรียมบ่อเลี้ยงปลาบ่อปูนซีเมนต์และบ่อดิน(ปลากินพืช)
1. ซ่อมแซมรอยรั่วของบ่อเดิม
2. เปลี่ยนปั้มน้ำออกซิเจน
ผลผลิต
- ได้บ่อปูนซีเม็นต์ จำนวน 20 บ่อ สำหรับเลี้ยงปลาดุก 1 บ่อสามารถเลี้ยงปลาดุกได้ 300 ตัว
- ได้บ่อดิน จำนวน 2 บ่อ สำหรับปลานิล ปลาตะเพียนปลายี่สก สามารถเลี้ยงได้บ่อละ 600 ตัว
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 2 คน อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร
- โปรแกรม Thai School Lunch
- ระบบเฝ้าระวังโภชนาการ ระหว่างวันที่ 20-22 เมษายน 2559 ที่โรงแรมดิเอ็มเพลท จ.เชียงใหม่
ผู้เข้าอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร ได้ความรู้เกี่ยวกับ
- โปรแกรม Thai School Lunch
- ระบบเฝ้าระวังโภชนาการและ บุคลากรสามารถใช้โปรแกรม TSLในการวางแผนจัดบริการอาหารกลางวันได้อย่างถูกต้อง