แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์


“ โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์ ”

136/1 หมู่ 4 ตำบลแม่ยวม อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน

หัวหน้าโครงการ
นายอินสอน อินตาวงษ์

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์

ที่อยู่ 136/1 หมู่ 4 ตำบลแม่ยวม อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัด แม่ฮ่องสอน

รหัสโครงการ ศรร.1113-012 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.12

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 136/1 หมู่ 4 ตำบลแม่ยวม อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์ " ดำเนินการในพื้นที่ 136/1 หมู่ 4 ตำบลแม่ยวม อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน รหัสโครงการ ศรร.1113-012 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 404 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านห้วยสิงห์ จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. สร้างโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสและพัฒนาเข้าสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ขยายผลสู่โรงเรียนอื่น
  2. ส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านการเกษตรให้กับนักเรียนโดยชุมชนและผู้ปกครองนักเรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตของเด็กนักเรียน
  3. เพื่อเป็นการสร้างองค์ความรู้การส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการอาหาร ให้กับ บุคลากรในโรงเรียนนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์เป็นโรงเรียนในโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
    2. ส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านการเกษตรให้กับนักเรียน สามารถนำไปประกอบอาชีพในอนาคตได้
    3. สร้างองค์ความรู้และตระหนักในการส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการอาหารสมวัย ให้กับ บุคลากรในโรงเรียน นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนได้
    4. เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกินผักและผลไม้
    5. มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน
    6. มีกระบวนการติดตาม ประเมินสุขภาวะของนักเรียน โดยเด็กและเยาวชน ครู และผู้ปกครอง ร่วมกัน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 15.00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมวางแผนงานการดำเนินกิจกรรมต่างๆทั้ง 6 กิจกรรม
    2. สร้างความเข้าใจร่วมกันในการดำเนินกิจกรรม
    3. มอบหมายหน้าที่ให้กับครูผู้รับผิดชอบและมอบหมายให้นักเรียนดำเนินงานโดยมีครูเป็นที่ปรึกษา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครูและนักเรียนได้รับมอบหมายในการดำเนินงานตามกิจกรรมโครงการศูนย์เรียนรู้ต้อนแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

     

    15 24

    2. ประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษา

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2559 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมวางแผนงานการดำเนินกิจกรรมต่างๆทั้ง 6 กิจกรรม
    2. สร้างความเข้าใจร่วมกันในการดำเนินกิจกรรม
    3. มอบหมายหน้าที่ให้กับครูผู้รับผิดชอบและมอบหมายให้นักเรียนดำเนินงานโดยมีครูเป็นที่ปรึกษา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบได้ชัดเจน ผู้เข้าร่วมประชุมตามกลุ่มเป้าหมายมาครบทุกคน

     

    27 27

    3. กิจกรรมเลี้ยงไก่พันธ์ไข่บนบ่อปลา

    วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เตรียมการโดยการ ประชุมวางแผนร่วมกันระหว่าง ครูผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 3 คน และนักเรียนแกนนำโครงการจำนวน20คนถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการ กิจกรรมตามโครงการเพื่อเตรียมจัดทำแผนปฏิบัติการ
    2. จัดทำแผนปฏิบัติการโครงการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่บนบ่อปลา
    3. ดำเนินงานตามโครงการ
    4. รวบรวมข้อมูลและประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ
    5. ปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
    6. สรุปและรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
    7. ประเมินผลและเผยแพร่ผลการดำเนินงานสู่สาธารณชน ในลักษณะกิจกรรมต่างๆ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. นักเรียนแกนนำโครงการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่บนบ่อปลาจำนวน 20คนครูผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 3 คน ร่วมกิจกรรมตางโครงการได้เป็นอย่างดีและต่อเนื่อง
    2. นักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์จำนวน374คน ร่วมเรียนรู้ตามกิจกรรมโครงการ
    3. คณะครู และบุคลากรในโรงเรียน จำนวน27คนให้ความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการ
    4. ชุมชน องค์กรและหน่วยงานในชุมชน ให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการ

    ผลลัพธ์

    1. สนับสนุนโครงการอาหารของนักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์ เพิ่มแหล่งอาหารโปรตีนให้กับนักเรียน
    2. ส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านการเกษตรให้กับนักเรียน โดยเฉพาะการเลี้ยงไก่ไข่ เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต
    3. ผสานความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะเป็น นักเรียนชุมชน องค์กรและหน่วยงานในชุมชน ในการส่งเสริมการเรียนรู้ระหว่างกัน
    4. ส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้จากสภาพจริงสามารถบูรณาการการเรียนรู้ได้หลายหลาย และเรียนรู้ได้รอบด้าน

     

    23 28

    4. กิจกรรมเลี้ยงปลาน้ำจืด

    วันที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะครู โรงเรียน นักเรียน และชุมชนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงร่วมกับผู้อื่นสามารถนำความรู้ที่ได้จากโครงการมาประยุกต์และปรับปรุงให้เหมาะกับสภาพพื้นที่ที่แตกต่างกันสามารถแปรรูปอาหารจากปลา เป็นการสร้างรายได้เสริมเกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบร่วมกันทั้งโรงเรียนและชุมชน โดยโรงเรียนได้จัดซื้อพันธ์ปลา จำนวน 6000 ตัว เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาและเรียนรู้จากประสบการณ์จริงเรื่องการเลี้ยงปลาน้ำจืด เป็นการใช้พื้นที่ในโรงเรียนให้ได้ประโยชน์ทางการเกษตรอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุดและเป็นอาหารเสริมโครงการอาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะครู โรงเรียน และชุมชน ร้อยละ80 ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงร่วมกับผู้อื่นสามารถนำความรู้ที่ได้จากโครงการมาประยุกต์และปรับปรุงให้เหมาะกับสภาพพื้นที่ที่แตกต่างกันสามารถแปรรูปอาหารจากปลา เป็นการสร้างรายได้เสริมเกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบร่วมกันทั้งโรงเรียนและชุมชนและสามารถเลี้ยงปลาเพื่อเสริมสร้างรายได้และรู้จักอนุรักษ์พันธ์ปลาจากการลงมือปฏิบัติ

     

    391 404

    5. กิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษ

    วันที่ 13 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดการเรียนรู้ด้านการเกษตรในโรงเรียนโดยการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ เช่น ผักบุ้ง ผักกาด มะเขือและถั่วฝักยาว โดยใช้วิธีตามธรรมชาติในการเพาะปลูกและใช้ปุ๋ยคอกในการบำรุงพืชผักให้สมบูรณ์และไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ทำให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค มีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากไม่มีการฉีดพ่นสารเคมี ส่งเสริมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน และนำผลผลิตขายต่อให้สหกรณ์โรงเรียนและสหกรณ์โรงเรียนก็จะนำผลผลิตของโรงเรียนนำเข้าสู่โครงการอาหารกลางวันซึ่งกิจกรรมการปลูกผักปลอดสารพิษของโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์นั้นมีผักไว้ประกอบอาหารและพืชผักมีจำหน่ายตลอดทั้งปี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต (Output) โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์มีผักไว้ประกอบอาหารและพืชผักมีจำหน่ายตลอดทั้งปี
    ผลลัพธ์ (Outcome) นักเรียนได้ทำการเกษตรและนำความรู้ที่ได้ไปประกอบเป็นอาชีพเสริมระหว่างเรียนและช่วง ปิดภาคเรียนได้ และไม่ใช้ปุ๋ยเคมี

     

    165 170

    6. นัดตรวจโครงการฯ ทำรายงานการเงินและรายงานกิจกรรม งวดที่ 1

    วันที่ 18 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเตรียมข้อมูล เอกสาร ภาพถ่าย ภาพกิจกรรม และหลักฐานด้านการเงิน มาจัดทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงิดงวดที่ 2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรียนได้ดำเนินกิจกรรมตามโครงการและจัดทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงิดงวดที่ 2 เป็นที่เรียบร้อย

     

    2 2

    7. กิจกรรมเลี้ยงหมูหลุมคู่ภูมิปัญญาท้องถิ่น

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.  จัดตั้งคณะกรรมการการดำเนินงาน 2.  ประชุมวางแผนร่วมกันระหว่างผู้ดำเนินการโครงการ  ที่ปรึกษาโครงการ  ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง  เพื่อจัดทำโครงการ  วางแผนการดำเนินงานและขออนุมัติโครงการ 3.  ดำเนินโครงการตามแผนการที่วางไว้ 4.  รวบรวมข้อมูลและสรุปผลการดำเนินโครงการ 5.  รายงานผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1. เพื่อให้ได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริง  เกี่ยวกับการเลี้ยงหมู 2. เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ถึงทักษะการเลี้ยงหมูและมีความเข้าใจได้อย่างแท้จริง 3. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด 4. เพื่อเป็นที่สนองต่อโครงการ  อาหารกลางวัน  ของโรงเรียนและนักเรียนหอพัก 5. เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและกับชุมชน 6. เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ  ให้เกิดความสุข  ความสามัคคี  กับงานที่ได้รับผิดชอบ สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ให้กับผู้อื่นได้ ผลลัพธ์ 1.นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2.นักเรียนเกิดทักษะการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง 3.นักเรียนสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ให้กับผู้อื่นได้ 4.นักเรียนเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและมีความสุขกับการปฏิบัติจริง 5.สามารถใช้เป็นอาหารกลางวันของโรงเรียนได้ 6.นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์และรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

     

    31 31

    8. กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้าให้ผลคุ้มค่า ส่งผลคุ้มทุน

    วันที่ 23 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ศึกษาสภาพปัจจุบันในการเพาะเห็ดนางฟ้า
    2. ประชุมวางแผนดำเนินการ
    3. เสนอโครงการ
    4. จัดทำโครงการ
    5. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
      5.1 รับสมัครสมาชิก/สั่งก้อนเห็ดนางฟ้า 5.2 ทำโรงเรือนเพาะเห็ด
              5.3  จัดการเรียนการสอนบูรณาการ 5.4  ศึกษาการเพาะเห็ดนางฟ้าจากวิทยากรภายนอก         5.5  ศึกษาดูแลเห็ดนางฟ้า         5.6  ประชุมชี้แจงปัญหา         5.7  การจัดการผลผลิต (บัญชีรายรับ - รายจ่าย)
    6. ประเมินผลการดำเนินงานแต่ละกิจกรรม
    7. สรุปโครงการ


    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.นักเรียนร้อยละ  95  ได้รับประทานอาหารที่ปรุงด้วยเห็ดนางฟ้า 2.นักเรียนที่รับผิดชอบโครงการ จำนวน 20 คน มีความรู้  มีคุณนิสัยที่ดีในการทำงานและสามารถนำไปประกอบอาชีพได้ ผลลัพธ์ 1.นักเรียนร้อยละ  75  มีความรู้เกี่ยวกับการเพาะเห็ด 2.นักเรียนกลุ่มสนใจร้อยละ 95 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 3.นักเรียน มีความรู้  มีคุณนิสัยที่ดีในการทำงานและสามารถนำไปประกอบอาชีพได้

     

    23 26

    9. กิจกรรมอบรมส่งเสริมโภชนาการด้านอาหารและสุขภาพครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน

    วันที่ 27 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน 2.วิเคราะห์ข้อมูลภาวะโภชนาการนักเรียนเพื่อหากลุ่มเป้าหมาย 3.จัดทำรายละเอียดกิจกรรมโครงการ 4.ทำหนังสือเชิญวิทยากร ผู้ปกครอง 5.ดำเนินการจัดอบรมกลุ่มเป้าหมายในหัวข้อดังนี้ -โภชนาการสำหรับเด็กวัยเรียน -อาหารและสารอาหาร 6.ประเมินผลการดำเนินโครงการ 7.รายงานผลการดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการอบรม ร้อยละ 100 - นักเรียน 50 คน - ครู 10 คน - ผู้ปกครอง 20 คน - ชุมชน/อื่นๆ 20 คน ผลลัพธ์ 1.นักเรียน ครู ผู้ปกครองร้อยละ 80  มีความรู้เรื่องโภชนาการด้านอาหาร 2. นักเรียน  ครู ผู้ปกครองร้อยละ 80 สามารถเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ได้


     

    100 90

    10. นัดตรวจโครงการฯ ทำรายงานการเงินและรายงานกิจกรรม งวดที่ 2

    วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปการเงินปิดโครงการงวด 2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปการเงินปิดโครงการงวด 2 สำเร็จ

     

    2 2

    11. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนดอกเบี้ย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนดอกเบี้ย

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 สร้างโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสและพัฒนาเข้าสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ขยายผลสู่โรงเรียนอื่น
    ตัวชี้วัด : ขยายผลการเรียนรู้โครงการเด็กไทยแก้มใสในโรงเรียนในเครือข่ายจำนวน 3 แห่ง

    สร้างโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสและพัฒนาเข้าสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ขยายผลสู่โรงเรียนอื่น

    2 ส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านการเกษตรให้กับนักเรียนโดยชุมชนและผู้ปกครองนักเรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตของเด็กนักเรียน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถนำความรู้ทางด้านการเกษตรไปประกอบอาชีพในอนาคตได้

    ส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านการเกษตรให้กับนักเรียนโดยชุมชนและผู้ปกครองนักเรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตของเด็กนักเรียน

    3 เพื่อเป็นการสร้างองค์ความรู้การส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการอาหาร ให้กับ บุคลากรในโรงเรียนนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน
    ตัวชี้วัด : บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน เกิดความตื่นตัวในการส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการอาหารสมวัยและสุขภาพมากขึ้นร้อยละ 80

    เพื่อเป็นการสร้างองค์ความรู้การส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการอาหาร ให้กับ บุคลากรในโรงเรียนนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสและพัฒนาเข้าสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ขยายผลสู่โรงเรียนอื่น (2) ส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านการเกษตรให้กับนักเรียนโดยชุมชนและผู้ปกครองนักเรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตของเด็กนักเรียน (3) เพื่อเป็นการสร้างองค์ความรู้การส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการอาหาร ให้กับ บุคลากรในโรงเรียนนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์

    รหัสโครงการ ศรร.1113-012 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.12 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    การเลี้ยงหมูในหลุมคู่ภูมิปัญญาท้องถิ่น

    -ประชุมครูนักเรียน เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพและภาคีเครือข่าย
    -จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการทำการเกษตร -ลักษณะการเลี้ยงหมูหลุมคู่ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตามกิจกรรมที่ 6 โดยการทำคอกหมูหลุมจะแตกต่างจากคอกหมูโดยทั่วไป คือ นอกจากมีผนังกั้นคอกแล้ว ยังขุดหลุมให้ลึกลงไปประมาณ 70 เซนติเมตร แล้วนำวัสดุที่ย่อยสลายได้ใส่ลงไปทดแทนดินที่ขุดออกเช่นแกลบ และใส่จุลินทรีย์ลงไปเพื่อไม่ให้มีกลิ่นเหม็นจากมูลของหมู ผนังกั้นคอกขึ้นอยู่กับเงินทุนที่ดำเนินการอาจจะใช้ไม้ไผ่ ไม้ระแนงารขุดหลุมขนาดของหลุมขึ้นอยู่กับจำนวนสุกรที่จะเลี้ยง โดยกำหนดให้สุกร 1 ตัวใช้พื้นที่เลี้ยงตั้งแต่เริ่มจนถึงขาย 1.2-1.5 ตารางเมตร การขุดหลุมจะขุดหลุมก่อนหรือหลังการสร้างโรงเรือนก็ได้ ขึ้นอยู่กับความสะดวกในการทำงาน

    ขยายกิจกรรม หรือเพิ่มเติมกิจกรรมให้หลากหลายขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรลงสู่อาหารกลางวันให้มีจำนวนเพียงพอกับจำนวนนักเรียนในโรงเรียน ขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย และชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    การสะสมหุ้นสหกรณ์ในโรงเรียน โดยให้นักเรียนและบุคลากรได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมออมทรัพย์ โดยให้สะสมหุ้นตั้งแต่ 1 หุ้น จนถึง 100 หุ้น

    -ระดมทุน หุ้นสหกรณ์ ของนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนให้มากขึ้นโดยให้นักเรียนและบุคลากรได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมออมทรัพย์ โดยให้สะสมหุ้นตั้งแต่ 1 หุ้น จนถึง 100 หุ้น -จัดคณะกรรมการสหกรณ์โรงเรียน ทั้งระดับประถมและมัธยม -นำสินค้ามาจำหน่ายในสหกรณ์โรงเรียนและลงรายการทุกครั้งที่จำหน่ายของ

    ทำสหกรณ์ร้านค้าในโรงเรียนให้เป็นสหกรณ์ร้านค้าของนักเรียน ให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมสหกรณ์ให้มากที่สุด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    การนำเมนูอาหารในท้องถิ่นตามเทศกาลต่างๆเข้ามาบูรณาการกับเมนูอาหารในโปรแกรม Thai school louch เช่น การแกงแปจีซึ่งมีอยู่ในชุมชน แกงผักหวานใส่ไข่มดส้มซึ่งมีอยู่ในชุมชน

    จัดการอาหารตามรายการอาหาร และใช้วัตถุดิบที่มีในโรงเรียนและท้องถิ่น -อบรมนักเรียนแกนนำในการตักอาหารตามปริมารและสัดส่วนที่เหมาะสมตามหลักโภชนาการ มีการอบรมแม่ครัวครูและนักเรียนแกนนำจัดทำเมนูอาหารสุขภาพ จัดทำป้ายอาหารสุขภาพ ประเมินภาวะโภชนาการนักเรียน

    อยากให้ทุกโรงเรียนในเครือข่ายใช้โรแกรม Thai school louchและนำวัตถุดิบอาหารที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้ ในการทำอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทาน เพื่อจะได้รับสารอาหารที่ถูกต้องและมีประโยชน์ต่อสุขภาพ อีกทั้งยังเป็นการประหยัดงบประมาณด้วย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    สร้างแกนนำนักเรียน และส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะและส่งเสริมการสร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการในโรงเรียน

    อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนำอบรมแม่ครัวด้านโภชนาการและให้นักเรียนแกนนำนำความรู้ไปขยายผลต่อไป

    วางแผนดำเนินการต่อในปีการศึกษาและดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    กิจกรรมทำเวรกลุ่มสีสามารถทำให้นักเรียนพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ถุกสุขลักษณะได้เป็นอย่างดี

    การที่นักเรียนแบ่งกลุ่มทำเวรกลุ่มสีตามจุดต่างๆและได้หมุนเวียนกันไปทุกสัปดาห์ทำให้นักเรียนฝึกนิสัยและวินัยและมีจิตสาธาณะในกลุ่มทำให้โรงเรียนของเราน่าอยู่ และสะอาด

    จะพัฒนาโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนที่สะอาด มีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ต่อไปและฝึกฝนให้นักเรียนช่วยกันอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ถุกสุขลักษณะต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์ จังหวัด แม่ฮ่องสอน

    รหัสโครงการ ศรร.1113-012

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอินสอน อินตาวงษ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด