ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์ |
สังกัด | ?? |
หน่วยงานต้นสังกัด | ?? |
ที่อยู่โรงเรียน | 136/1 หมู่ที่ 4 ตำบลแม่ยวม อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน |
จำนวนนักเรียน | 357 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม,มัธยมต้น |
ผู้อำนวยการ | นายอินสอน อินตาวงษ์ |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางสาวน้อมจิต ก้อนเขื่อน |
คืนดอกเบี้ย
คืนดอกเบี้ย
สรุปการเงินปิดโครงการงวด 2
สรุปการเงินปิดโครงการงวด 2 สำเร็จ
1.ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/วางแผนการปฏิบัติงาน 2.วิเคราะห์ข้อมูลภาวะโภชนาการนักเรียนเพื่อหากลุ่มเป้าหมาย 3.จัดทำรายละเอียดกิจกรรมโครงการ 4.ทำหนังสือเชิญวิทยากร ผู้ปกครอง 5.ดำเนินการจัดอบรมกลุ่มเป้าหมายในหัวข้อดังนี้ -โภชนาการสำหรับเด็กวัยเรียน -อาหารและสารอาหาร 6.ประเมินผลการดำเนินโครงการ 7.รายงานผลการดำเนินโครงการ
ผลผลิต
1.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการอบรม ร้อยละ 100
- นักเรียน 50 คน
- ครู 10 คน
- ผู้ปกครอง 20 คน
- ชุมชน/อื่นๆ 20 คน
ผลลัพธ์
1.นักเรียน ครู ผู้ปกครองร้อยละ 80 มีความรู้เรื่องโภชนาการด้านอาหาร
2. นักเรียน ครู ผู้ปกครองร้อยละ 80 สามารถเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ได้
- ศึกษาสภาพปัจจุบันในการเพาะเห็ดนางฟ้า
- ประชุมวางแผนดำเนินการ
- เสนอโครงการ
- จัดทำโครงการ
- ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
5.1 รับสมัครสมาชิก/สั่งก้อนเห็ดนางฟ้า 5.2 ทำโรงเรือนเพาะเห็ด
5.3 จัดการเรียนการสอนบูรณาการ 5.4 ศึกษาการเพาะเห็ดนางฟ้าจากวิทยากรภายนอก 5.5 ศึกษาดูแลเห็ดนางฟ้า 5.6 ประชุมชี้แจงปัญหา 5.7 การจัดการผลผลิต (บัญชีรายรับ - รายจ่าย) - ประเมินผลการดำเนินงานแต่ละกิจกรรม
- สรุปโครงการ
ผลผลิต 1.นักเรียนร้อยละ 95 ได้รับประทานอาหารที่ปรุงด้วยเห็ดนางฟ้า 2.นักเรียนที่รับผิดชอบโครงการ จำนวน 20 คน มีความรู้ มีคุณนิสัยที่ดีในการทำงานและสามารถนำไปประกอบอาชีพได้ ผลลัพธ์ 1.นักเรียนร้อยละ 75 มีความรู้เกี่ยวกับการเพาะเห็ด 2.นักเรียนกลุ่มสนใจร้อยละ 95 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 3.นักเรียน มีความรู้ มีคุณนิสัยที่ดีในการทำงานและสามารถนำไปประกอบอาชีพได้
จัดเตรียมข้อมูล เอกสาร ภาพถ่าย ภาพกิจกรรม และหลักฐานด้านการเงิน มาจัดทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงิดงวดที่ 2
โรงเรียนได้ดำเนินกิจกรรมตามโครงการและจัดทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงิดงวดที่ 2 เป็นที่เรียบร้อย
1. จัดตั้งคณะกรรมการการดำเนินงาน 2. ประชุมวางแผนร่วมกันระหว่างผู้ดำเนินการโครงการ ที่ปรึกษาโครงการ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำโครงการ วางแผนการดำเนินงานและขออนุมัติโครงการ 3. ดำเนินโครงการตามแผนการที่วางไว้ 4. รวบรวมข้อมูลและสรุปผลการดำเนินโครงการ 5. รายงานผลการดำเนินงาน
ผลผลิต 1. เพื่อให้ได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริง เกี่ยวกับการเลี้ยงหมู 2. เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ถึงทักษะการเลี้ยงหมูและมีความเข้าใจได้อย่างแท้จริง 3. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด 4. เพื่อเป็นที่สนองต่อโครงการ อาหารกลางวัน ของโรงเรียนและนักเรียนหอพัก 5. เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและกับชุมชน 6. เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ให้เกิดความสุข ความสามัคคี กับงานที่ได้รับผิดชอบ สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ให้กับผู้อื่นได้ ผลลัพธ์ 1.นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2.นักเรียนเกิดทักษะการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง 3.นักเรียนสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ให้กับผู้อื่นได้ 4.นักเรียนเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและมีความสุขกับการปฏิบัติจริง 5.สามารถใช้เป็นอาหารกลางวันของโรงเรียนได้ 6.นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์และรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
จัดการเรียนรู้ด้านการเกษตรในโรงเรียนโดยการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ เช่น ผักบุ้ง ผักกาด มะเขือและถั่วฝักยาว โดยใช้วิธีตามธรรมชาติในการเพาะปลูกและใช้ปุ๋ยคอกในการบำรุงพืชผักให้สมบูรณ์และไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ทำให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค มีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากไม่มีการฉีดพ่นสารเคมี ส่งเสริมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน และนำผลผลิตขายต่อให้สหกรณ์โรงเรียนและสหกรณ์โรงเรียนก็จะนำผลผลิตของโรงเรียนนำเข้าสู่โครงการอาหารกลางวันซึ่งกิจกรรมการปลูกผักปลอดสารพิษของโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์นั้นมีผักไว้ประกอบอาหารและพืชผักมีจำหน่ายตลอดทั้งปี
ผลผลิต (Output)
โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์มีผักไว้ประกอบอาหารและพืชผักมีจำหน่ายตลอดทั้งปี
ผลลัพธ์ (Outcome)
นักเรียนได้ทำการเกษตรและนำความรู้ที่ได้ไปประกอบเป็นอาชีพเสริมระหว่างเรียนและช่วง ปิดภาคเรียนได้ และไม่ใช้ปุ๋ยเคมี
คณะครู โรงเรียน นักเรียน และชุมชนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงร่วมกับผู้อื่นสามารถนำความรู้ที่ได้จากโครงการมาประยุกต์และปรับปรุงให้เหมาะกับสภาพพื้นที่ที่แตกต่างกันสามารถแปรรูปอาหารจากปลา เป็นการสร้างรายได้เสริมเกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบร่วมกันทั้งโรงเรียนและชุมชน โดยโรงเรียนได้จัดซื้อพันธ์ปลา จำนวน 6000 ตัว เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาและเรียนรู้จากประสบการณ์จริงเรื่องการเลี้ยงปลาน้ำจืด เป็นการใช้พื้นที่ในโรงเรียนให้ได้ประโยชน์ทางการเกษตรอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุดและเป็นอาหารเสริมโครงการอาหารกลางวัน
คณะครู โรงเรียน และชุมชน ร้อยละ80 ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงร่วมกับผู้อื่นสามารถนำความรู้ที่ได้จากโครงการมาประยุกต์และปรับปรุงให้เหมาะกับสภาพพื้นที่ที่แตกต่างกันสามารถแปรรูปอาหารจากปลา เป็นการสร้างรายได้เสริมเกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบร่วมกันทั้งโรงเรียนและชุมชนและสามารถเลี้ยงปลาเพื่อเสริมสร้างรายได้และรู้จักอนุรักษ์พันธ์ปลาจากการลงมือปฏิบัติ
- ประชุมวางแผนงานการดำเนินกิจกรรมต่างๆทั้ง 6 กิจกรรม
- สร้างความเข้าใจร่วมกันในการดำเนินกิจกรรม
- มอบหมายหน้าที่ให้กับครูผู้รับผิดชอบและมอบหมายให้นักเรียนดำเนินงานโดยมีครูเป็นที่ปรึกษา
แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบได้ชัดเจน ผู้เข้าร่วมประชุมตามกลุ่มเป้าหมายมาครบทุกคน
- ประชุมวางแผนงานการดำเนินกิจกรรมต่างๆทั้ง 6 กิจกรรม
- สร้างความเข้าใจร่วมกันในการดำเนินกิจกรรม
- มอบหมายหน้าที่ให้กับครูผู้รับผิดชอบและมอบหมายให้นักเรียนดำเนินงานโดยมีครูเป็นที่ปรึกษา
ครูและนักเรียนได้รับมอบหมายในการดำเนินงานตามกิจกรรมโครงการศูนย์เรียนรู้ต้อนแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
- เตรียมการโดยการ ประชุมวางแผนร่วมกันระหว่าง ครูผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 3 คน และนักเรียนแกนนำโครงการจำนวน20คนถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการ กิจกรรมตามโครงการเพื่อเตรียมจัดทำแผนปฏิบัติการ
- จัดทำแผนปฏิบัติการโครงการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่บนบ่อปลา
- ดำเนินงานตามโครงการ
- รวบรวมข้อมูลและประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ
- ปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
- สรุปและรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
- ประเมินผลและเผยแพร่ผลการดำเนินงานสู่สาธารณชน ในลักษณะกิจกรรมต่างๆ
ผลผลิต
- นักเรียนแกนนำโครงการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่บนบ่อปลาจำนวน 20คนครูผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 3 คน ร่วมกิจกรรมตางโครงการได้เป็นอย่างดีและต่อเนื่อง
- นักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์จำนวน374คน ร่วมเรียนรู้ตามกิจกรรมโครงการ
- คณะครู และบุคลากรในโรงเรียน จำนวน27คนให้ความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการ
- ชุมชน องค์กรและหน่วยงานในชุมชน ให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการ
ผลลัพธ์
- สนับสนุนโครงการอาหารของนักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์ เพิ่มแหล่งอาหารโปรตีนให้กับนักเรียน
- ส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านการเกษตรให้กับนักเรียน โดยเฉพาะการเลี้ยงไก่ไข่ เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต
- ผสานความร่วมมือจากทุกๆฝ่าย ไม่ว่าจะเป็น นักเรียนชุมชน องค์กรและหน่วยงานในชุมชน ในการส่งเสริมการเรียนรู้ระหว่างกัน
- ส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้จากสภาพจริงสามารถบูรณาการการเรียนรู้ได้หลายหลาย และเรียนรู้ได้รอบด้าน