แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)
เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator) | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต (Output) | ผลลัพธ์ (Outcome) | ผลกระทบ (Impact) | อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เด็กนักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิตสามารถนำไปใช้ได้จริง ตัวชี้วัด : 1. เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น 40% โดยสังเกตุการณ์ร่วมกับผู้ปกครอง 2. นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดีขึ้น ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง 3. ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ) 4. นักเรียนประมาณ 80 % ของจำนวนเด็กในโรงเรียน ให้ความร่วมมือทำกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส |
||||||
2 | เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ในการดูแลสุขภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียนมีระดับความสำเร็จของการดำเนินงานใน 8 กิจกรรม อยู่ในระดับ 4 2. พ่อแม่ ผู้ปกครอง และคนในชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน 3. ชุมชน มีความตระหนักรู้ และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน |
||||||
3 | เพื่อพัฒนาให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีสุขภาพสุขภาวะ พัฒนาการด้านร่างกาย เติบโตสมวัย อารมณ์ สติปัญญาดีขึ้น รวมทั้งทักษะเพื่อการดำรงชีวิต สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง - 1.1 ภาวะอ้วน ผอม ไม่เกิน ไม่เกิน 5 % - 1.2 ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 5 % - 1.3 ค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย ไม่เกิน 7% - 1.3 เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกิน โดยกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 100-200 กรัม 2.โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียนได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ - 2.1 มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน - 2.2 โรงเรียนมีสินค้าเกษตรปลอดภัยป้อนเข้าสู่อาหารกลางวันในโรงเรียน 3.พ่อแม่ ผู้ปกครอง และคนในชุชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน 4.ชุมชน มีความตระหนักรู้ และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน |