แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านทุ่งหลวง


“ โรงเรียนบ้านทุ่งหลวง ”

147 ม.14 ตำบลแม่ยาว อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

หัวหน้าโครงการ
นายดำเนิน บาลสุข

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านทุ่งหลวง

ที่อยู่ 147 ม.14 ตำบลแม่ยาว อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย จังหวัด เชียงราย

รหัสโครงการ ศรร.1112-010 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.10

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านทุ่งหลวง จังหวัดเชียงราย" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 147 ม.14 ตำบลแม่ยาว อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านทุ่งหลวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านทุ่งหลวง



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านทุ่งหลวง " ดำเนินการในพื้นที่ 147 ม.14 ตำบลแม่ยาว อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย รหัสโครงการ ศรร.1112-010 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านทุ่งหลวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 273 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร

สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของโรงเรียนบ้านทุ่งหลวงจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปีในปีการศึกษา2556-2558พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน 4.37% และน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์14.59%อยู่ในภาวะน่าเป็นห่วงทางโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการโภชนาการสมวัยใส่ใจสุขภาพ ขึ้นเพื่อให้นักเรียนมีความตระหนักรู้ด้านการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย นักเรียนสามารถปรับการรับประทานอาหาร งดอาหารที่มีรสหวาน เค็ม มันขนมขบเคี้ยว ฝึกให้นักเรียนดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องโรงเรียน บ้านทุ่งหลวงจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ ในการพัฒนาโรงเรียน เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรงโครงการเด็กไทยแก้มใส ได้พัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการสร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนการในโรงเรียน
  2. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อพฤติกรรมในการบริโภคอาหารปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการ
  3. เพื่อสร้างนักเรียนแกนนำด้านการพัฒนาอนามัยและส่งเสริมชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมด้านการบริหารถูกต้องปลอดภัยตามหลักโภชนการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคผักผลไม้มากขึ้นรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการลดการรับประทานอาหารหวาน เค็ม มัน
    2. โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมในการบริโภคอาหารปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการของนักเรียนด้วยกิจกรรมการเลี้ยงปลาในบ่อดินการปลูกพืชผักสวนครัวตามฤดูกาล การปลูกกล้วยน้ำว้าและ การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่การเพาะเห็ดนางฟ้า เห็ดนางรมฯลฯ
    3. มีนักเรียนแกนนำด้านการส่งเสริมสุขภาพอนามัย และส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมด้านการบริการอาหารถูกต้องปลอดภัยตามหลักโภชนาการ
    4. นักเรียนได้ฝึกทักษะอาชีพที่ถูกต้อง สามารถขยายผลสู่ชุมชนมีภาคีเครือข่าย เป็นแบบอย่างที่ดี มีความตระหนักรู้ในการดำเนินชีวิตตามแนวพระราชดำริของเศรษฐกิจพอเพียง
    5. นักเรียนมีภาวะความเป็นผู้นำรู้จักการบริหารจัดการตามรูปแบบของสหกรณ์ร้านค้า และสหกรณ์ออมทรัพย์ 6.เป็นโรงเรียนแกนนำด้านการส่งเสริมสุขภาพ โดยมีส่วนร่วมภาคีเครือข่าย

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมครูนักเรียนผู้ปกครอง

    วันที่ 25 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะทำงาน ครู ผู้ปกครองนักเรียน เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
    2. ให้ความรู้เรื่องการปลูกผักเกษตรอินทรีย์ การปลูกผักปลอดสารพิษ การปลูกผักพื้นบ้าน
    3. แบ่งกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้  เพื่อให้ได้ทดลองในปฏิบัติจริง
    4. สรุปผลการจัดกิจกรรมร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้คณะทำงานซึ่งมีความเข้าใจในการดำเนินงานและแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงาน
    2. คณะทำงานสามารถเข้าใจงานที่ได้รับมอบหมาย
    3. สามารถทำงานบรรลุตามจัดประสงค์

     

    143 250

    2. การซื้อพันธุ์ปลาดุก

    วันที่ 1 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมกับนักเรียนที่เกี่ยวข้อง
    2. มอบหมายหน้าที่่ความรับผิดชอบ
    3. ครูผู้รับผิดชอบจัดซื้อพันธ์ุปลา
    4. ปล่อยพันธ์ปลาดุก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ซื้อพันธุ์ปลาดุกมาจำนวน2000 ตัว ปล่อยปลาลงในบ่อดินโรงเรียนบ้านทุ่งหลวง แบ่งเวรรับผิดชอบในการให้อาหารปลา เช้าเย็นทุกวัน บันทึกกิจกรรมทุกครั้งเพื่อปรับปรุงและแก้ปัญหา

     

    12 12

    3. สหกรณ์พอเพียง

    วันที่ 1 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. คณะครูและนักเรียนวางแผนการทำงานร่วมกัน
    2. รับสมัครเจ้าหน้าที่และสมาชิกสหกรณ์
    3. ประชุมเจ้าหน้าที่สหกรณ์เพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
    4. จัดซื้อสินค้าที่จำเป็นและพืชผักต่างๆ
    5. เจ้าหน้าที่จำหน่ายสินค้า
    6. จัดทำบัญชี
    7. ทำป้ายโครงสร้างคณะทำงานกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การจัดการสหกรณ์นักเรียนเป็นระบบดีขึ้นมีการแต่งตั้งประธาน  รองประธาน เหรัญญิก และคณะกรรมการดำเนินการ ทำให้นักเรียนมีความรับผิดชอบในการดำเนินงานสหกรณ์ดีขึ้น มีคณะครู  นักเรียน และแม่ครัวสมัครเป็นสมาชิกและอุดหนุนสินค้าของสหกรณ์นักเรียน มีการจำหน่ายอุปกรณ์เครื่องเขียน  อุปกรณ์แปรงฟัน  เครื่องปรุงในการประกอบอาหารของแม่ครัว ผัก  เห็ด ผลิตผลของโรงเรียนไว้จำหน่าย มีการจัดการเรียนรู้เรื่องสหกรณ์ให้กับนักเรียนทุกชั้น เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยกับสหกรณ์นักเรียน และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวัน

     

    153 143

    4. การเพาะเห็ดนางฟ้า

    วันที่ 30 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สร้างองค์ความรู้ เกี่ยวกับการเพาะเห็ด
    2. ปรัับปรุงโรงเพาะชำ
    3. ลงก้อนเห็ดนางฟ้าในโรงเรือน
    4. แปรรูปอาหาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้รูจักการเพาะเห็ดและนำมาประกอบอาหารกลางวัน นักเรียนรู้จักวิธีการเก็บเห็ด

     

    143 163

    5. การปลูกผักปลอดสารพิษตามฤดูกาลของนักเรียนและครอบครัว

    วันที่ 30 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สร้างองค์ความรู้การปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้ เตรียมพื้นที่เพาะปลูก จัดการเพาะปลูกผักสวนครัว
    2. ขยายการปลูกผักปลอดสารพิษสู่ชุมชน
    3. จัดการประชุมเสนอโครงการต่อผู้ปกครองรับสมัตรสมาชิกที่สนใจ
    4. อบรมให้ความรู้แก่สมาชิกที่สนใจในการปลูกผักพร้อมทั้งแจกเมล็ดพันธุ์พืชเพื่อนำไปขยายผลต่อไป
    5. ผู้ปกครองนำความรู้ที่ได้มาปลูกผักสารพิษในบริเวณบ้านที่อยู่อาศัยของตนเอง
    6. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรงเรียนและชุมชนเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ปกครองและนักเรียนได้ความรู้และนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการปลูกผักปลอดสารพิษกินเองในบ้านและเผยแพร่สู่ชุมชน ผู้ปกครองปลูกผักปลอดสารพิษ บริโภคผักปลอดสารพิษที่ตนเองปลูกตามฤดูกาล

     

    143 253

    6. ซื้ออาหารไว้สำหรับเลี้ยงปลาดุก

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. คำนวณสัดส่วนการให้อาหารปลา
    2. นำข้อมูลที่ได้เสนอต่อผู้บริหารเพื่อทำการจัดซื้ออาหารปลา
    3. จัดซื้ออาหารปลา
    4. นำอาหารปลาเข้าสู่ระบบการเบิกจ่ายของโรงเรียนเพื่อให้ครูที่เกี่ยวข้องเบิกมาให้นักเรียนดำเนินการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. คำนวณสัดส่วนการให้อาหารปลา
    2. จัดซื้ออาหารปลา
    3. นำอาหารปลาเข้าสู่ระบบการเบิกจ่ายของโรงเรียนเพื่อให้ครูที่เกี่ยวข้องเบิกมาให้นักเรียนดำเนินการ 4.นักเรียนแบ่งหน้าที่กันทำหน้าที่ในการเอาอาหารให้ปลาตามที่ได้รับผิดชอบ

     

    47 47

    7. การเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่โรงเรียน

    วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมผู้ปกครองนักเรียนที่สนใจจะรับไก่ไปเลี้ยงที่บ้าน เพื่อสร้างข้อตกลงร่วมกัน
    2. แจกไก่พันธุ์พื้นเมืองไปเลี้ยงที่บ้าน ตามความจำนงของผู้ปกครอง(ครอบครัวไม่เกิน 2 ตัว) โดยนำไก่แต่ละตัวไปชั่งน้ำหนักและจดบันทึกไว้โดยมีนักเรียนเป็นผู้ดำเนินงาน
    3. นักเรียนและผู้ปกครองนำไปเลี้ยงที่บ้าน โดยนักเรียนบันทึกกิจกรรมการให้อาหารทุกวัน
    4. บันทึกปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อนำไปพัฒนากิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ประชุมผู้ปกครองนักเรียนที่สนใจจะรับไก่ไปเลี้ยงที่บ้าน เพื่อสร้างข้อตกลงร่วมกัน
    2. แจกไก่พันธุ์พื้นเมืองไปเลี้ยงที่บ้าน ตามความจำนงของผู้ปกครอง(ครอบครัวไม่เกิน 2 ตัว) โดยนำไก่แต่ละตัวไปชั่งน้ำหนักและจดบันทึกไว้โดยมีนักเรียนเป็นผู้ดำเนินงาน
    3. ผู้ปกครองนักเรียนนำไปเลี้ยงที่บ้าน โดยนักเรียนบันทึกกิจกรรมการให้อาหารทุกวันเรียนรู้และการสังเกตุการให้อาหารไก่ การเจริญเติบโตของไก่
    4. บันทึกปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อนำไปพัฒนากิจกรรม
    5. มีลูกไก่ไว้เลี้ยงให้กับนักเรียนในรุ่นต่อไป

     

    50 100

    8. การทำป้ายแปลงสาธิตปลอดสาร

    วันที่ 11 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. การทำป้ายแปลงสาธิตปลอดสารในแปลงเกษตร
    2. นำไปติดไว้พื้นที่แปลงสาธิตเกษตรปลอดสาร
    3. นักเรียน ผู้ปกครองและเครือข่ายสามารถเรียนรู้กิจกรรมต่างๆจากแปลงสาธิต

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน ผู้ปกครองช่วยกันจัดทำป้ายแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารในแปลงเกษตร  นำไปติดไว้พื้นที่แปลงสาธิตเกษตรปลอดสาร  และเครือข่ายสามารถเรียนรู้กิจกรรมต่างๆจากแปลงสาธิต

     

    72 24

    9. เมนูอาหารและตารางอาหารประจำวันที่เน้นโภชนาการตลอดปีการศึกษา

    วันที่ 11 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. รวบรวมข้อมูลทางโภชนาการ
    2. จัดเตรียมข้อมูล รูป อาหาร
    3. จัดป้ายเมนูอาหารเพื่อติดตั้งภายในโรงอาหาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ป้ายความรู้จากเมนูอาหารที่เด็กเคยรับประทาน  ให้พลังงานกี่แคลลอรี่ รวมทั้งสารอาหารต่างๆ 

     

    39 133

    10. รู้เท่าทันป้องกันโรค

    วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. การตรวจสุขภาพประจำปีจากเจ้าหน้าที่
    2. จัดทำฐานข้อมูลน้ำหนักส่วนสูง  สมรรถภาพทางกาย และภาวะดูแลสุขภาพของนักเรียนทุกคนและการแปรผลภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และนำข้อมูลไปใช้ในการแก้ไขปัญหาโดยครอบครัวมีส่วนร่วม
    3. ติดตามเด็กกลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพทุกเดือน โดยการดูข้อมูลเปรียบเทียบน้ำหนัก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพครบทุกคนโรงเรียน มีฐานข้อมูลน้ำหนักส่วนสูง สมรรถภาพทางกายและดูแลภาวะสุขภาพและมีการนำข้อมูลไปใช้ในการแก้ปัญหาโดยครอบครัวมีส่วนร่วม นักเรียนกลุ่มเสี่ยงได้รับการแก้ไขปัญหาพฤติกรรม

     

    2 141

    11. สุขภาพดี ชีวีปลอดภัย

    วันที่ 26 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. การตรวจสุขภาพนักเรียนทุกคน
    2. การฉีดวัคซีนชั้นประถมศึกษาปีที่1และ6

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำฐานข้อมูลน้ำหนักส่วนสูง  สมรรถภาพทางกาย และภาวะดูแลสุขภาพของนักเรียนทุกคนและการแปรผลภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และนำข้อมูลไปใช้ในการแก้ไขปัญหาโดยครอบครัวมีส่วนร่วม นักเรียนชั้นป.1และชั้นป.6ได้รับการฉีดวัคซีน

     

    131 42

    12. รักษ์สุขภาพ

    วันที่ 21 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • พัฒนาศักยภาพครู แม่ครัว นักเรียน ให้มีความรู้และทักษะในการจัดการอาหารและโภชนาการโดยได้มีการจัดทำเมนูอาหารรายวัน
    • มีการอบรมวันศุกร์สุดสัปดาห์เพื่อส่งเสริมสุขภาพอาหารปลอดภัยในโรงเรียน
    • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดอาหารและโภชนการ -มีรูปแบบกิจกรรมทางกายและการออกกำลังกาย -มีเครือข่ายเข้าร่วมกิจกรรม -จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพทางกายและการออกกำลังกายสำหรับเด็กนักเรียนด้วยโครงการออกกำลังกายวันละนิดจิตแจ่มใส -จัดกิจกรรมหน้าเสาธงให้เด็กได้มีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกาย -จัดชุมชุมกีฬาต่างๆในวันพุธ -จัดโครงการSportdayในทุกๆวันพฤหัสบดี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -มีนักเรียนแกนนำด้านการพัฒนาอนามัยและส่งเสริมชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมด้านการบริหารถูกต้องปลอดภัยตามหลักโภชนการ - พัฒนาศักยภาพครู แม่ครัว นักเรียน ให้มีความรู้และทักษะในการจัดการอาหารและโภชนาการโดยได้มีการจัดทำเมนูอาหารรายวัน
    - มีการอบรมวันศุกร์สุดสัปดาห์เพื่อส่งเสริมสุขภาพอาหารปลอดภัยในโรงเรียน - มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดอาหารและโภชนการ -มีรูปแบบกิจกรรมทางกายและการออกกำลังกาย -มีเครือข่ายเข้าร่วมกิจกรรม -จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพทางกายและการออกกำลังกายสำหรับเด็กนักเรียนด้วยโครงการออกกำลังกายวันละนิดจิตแจ่มใส -จัดกิจกรรมหน้าเสาธงให้เด็กได้มีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกาย -จัดชุมชุมกีฬาต่างๆในวันพุธ -จัดโครงการSportdayในทุกๆวันพฤหัสบดี

     

    150 168

    13. หนูน้อยวัยใส ใส่ใจในโภชนาการ

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนได้รับอาหารกลางวันถูกหลักโภชนาการครบทุกคน
    2. นักเรียนได้ฝึกทักษะอาชีพ
    3. จัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน
    4. ตักอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยโดยให้นักเรียนแต่ละชั้นรับผิดชอบในการตักอาหารเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้รับอาหารกลางวันถูกหลักโภชนาการครบทุกคน
    2. นักเรียนได้ฝึกทักษะอาชีพ 3.จัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน
    3. ตักอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยโดยให้นักเรียนแต่ละชั้นรับผิดชอบในการตักอาหารเอง

     

    63 60

    14. เปิดโลกกว้างสร้างความพอเพียง

    วันที่ 21 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -  จัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา  ตามนโยบายการจัดการเรื่อง  อาหาร / ขนม /  เครื่องดื่มในโรงเรียน -  จัดโครงการสุขภาพวัยใส  ใสใจโภชนาการ -  โครงการยุวเกษตรกร -  โครงการมือน้อยๆคอยพิทักษ์รักษ์สิ่งแวดล้อม -  โครงการ  อสม.น้อยคอยเตือนภัย -  จัดหานำ้ดื่มนำ้ใช้ที่ถูกสุขลักษณะที่เพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคในโรงเรียน - โครงการประหยัดนำ้ประหยัดไฟหลังเลิกใช้งาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -  จัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา  ตามนโยบายการจัดการเรื่อง  อาหาร / ขนม /  เครื่องดื่มในโรงเรียน -  จัดโครงการสุขภาพวัยใส  ใสใจโภชนาการ -  โครงการยุวเกษตรกร -  โครงการมือน้อยๆคอยพิทักษ์รักษ์สิ่งแวดล้อม -  โครงการ  อสม.น้อยคอยเตือนภัย -  จัดหานำ้ดื่มนำ้ใช้ที่ถูกสุขลักษณะที่เพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคในโรงเรียน - โครงการประหยัดนำ้ประหยัดไฟหลังเลิกใช้งาน

     

    128 150

    15. ต้นกล้าอาชีพ

    วันที่ 8 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจการเรียนรู้ด้านศิลปะการสร้างนิทานอาหารและการออกแบบเมนูอาหาร โครงงานอาชีพ รูปแบบการประชาสัมพันธ์รณรงค์เสียงตามสาย นวัตกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม สร้างเครือข่าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดกิจการเรียนรู้ด้านศิลปะการสร้างนิทานอาหารและการออกแบบเมนูอาหาร โครงงานอาชีพ รูปแบบการประชาสัมพันธ์รณรงค์เสียงตามสาย นวัตกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม สร้างเครือข่ายและเป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไยแก้มใส

     

    140 190

    16. การพัฒนาศักยภาพ

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดทำนวัตกรรมและนิทรรศการ 2. ส่งเสริมการสร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนการในโรงเรียน 3. สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อพฤติกรรมในการบริโภคอาหารปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการ 4. สร้างนักเรียนแกนนำด้านการพัฒนาอนามัยและส่งเสริมชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมด้านการบริหารถูกต้องปลอดภัยตามหลักโภชนการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ส่งเสริมการสร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนการในโรงเรียน
    2. สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อพฤติกรรมในการบริโภคอาหารปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการ
    3. สร้างนักเรียนแกนนำด้านการพัฒนาอนามัยและส่งเสริมชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมด้านการบริหารถูกต้องปลอดภัยตามหลักโภชนการ
    4. โรงเรียนได้นำจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน
    5. โรงเรียนเป็นศุูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

     

    300 291

    17. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอนเงินดอกเบี้ยจากธนาคารดำเนินงานครบตามกิจกรรม ตามโครงการ และได้นำสมุดบัญชีปรับยอด เป็น 0

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ดำเนินงานครบตามกิจกรรม ตามโครงการ และได้นำสมุดบัญชีปรับยอด เป็น 0
    คณะดำเนินงาน มีการวางแผนและ ดำเนินกิจกรรมตรงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ถอนดอกเบี้ยจำนวน13.78บาท

     

    3 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมการสร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนการในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคผักและผลไม้มากขึ้นและลดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็มสามารถนำไปปฏิบัติในครอบครัวและชุมชน ร้อยละ 90

    นักเรียนมีทุพโภชนาการที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ โดยมีการวัดส่วนสูงและช่างน้ำหนัก ทุกภาคเรียน แล้วนำมาวิเคราะห์ผล

    2 เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อพฤติกรรมในการบริโภคอาหารปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการ
    ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับอาหารที่เหมาะสมและมีคุณภาพตามช่วงวัย จากการใช้โปรแกรม Thai School Lunch

    นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับอาหารที่เหมาะสมและมีคุณภาพตามช่วงวัย จากการใช้โปรแกรม Thai School Lunch จัดทำเมนูอาหารสำหรับเด็กทุกสัปดาห์โดยร่วมมือกับเจ้าหน้าที่อาหารกลางวันและคนจัดซื้อ

    3 เพื่อสร้างนักเรียนแกนนำด้านการพัฒนาอนามัยและส่งเสริมชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมด้านการบริหารถูกต้องปลอดภัยตามหลักโภชนการ
    ตัวชี้วัด : มีนักเรียนแกนนำในโรงงเรียนอย่างน้อย30คนและกลุ่มนักเรียนที่มีส่วนร่วมจัดกิจกรรมส่งเสริมการบริโภคอาหหารที่ถูกหลักโภชนาการ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการสร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนการในโรงเรียน (2) เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อพฤติกรรมในการบริโภคอาหารปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการ (3) เพื่อสร้างนักเรียนแกนนำด้านการพัฒนาอนามัยและส่งเสริมชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมด้านการบริหารถูกต้องปลอดภัยตามหลักโภชนการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านทุ่งหลวง

    รหัสโครงการ ศรร.1112-010 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.10 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    -กิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ได้แก่ ไก่พันธุ์พื้นเมือง ปลา
    -การเพาะเห็ด นางฟ้า นำผลผลิตมาแปรรูปอาหาร จัดจำหน่าย ฯ
    -การปลูกพืชผักสวนครัว ไม้ผลต่าง ๆ กิจกรรมต่างๆ นักเรียนดำเนินการเป็นกลุ่ม ฯ จัดจำหน่ายให้อาหารกลางวัน บุคคลภายนอก และนำเงินฝากออมทรัพย์

    -ประชุมครูนักเรียน เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพและภาคีเครือข่าย-จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการปลูกผักเลี้ยงปลาเลี้ยงไก่ เพาะเห็ด-ปลูกผัก เลี้ยงปลาเลี้ยงไก่และเพาะเห็ด-บันทึกการเจริญเติบโต

    การดำเนินงานระยะต่อไป เน้นการดำเนินกิจกรรมที่ต่อเนื่อง โดยการประสานงานกับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรภาครัฐและเอกชนในพื้นที่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    1 นักเรียนมีบัญชีออมทรัพย์
    2 นักเรียนเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน
    3 นักเรียนนำผลผลิตทางการเกษตรไปขายในตลาดนัดการเกษตรโรงเรียน

    มีสหกรณ์นักเรียน มีสมาชิก สมาชิกมีหุ้น และดำเนินการโดยนักเรียนแกนนำ

    รับสมัครสมาชิกใหม่ในปีการศึกษาหน้า ขายอาหาร ผลไม้ ที่หลากหลายโดยมาจากผลผลิตทางเกษตรในโรงเรียนให้มากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    -มีการจัดทำเมนูอาหารประจำวัน -ป้ายอาหารสุขภาพ -การบริโภคข้าวกล้อง -อาหารกลางวันนักเรียนที่ลดหวานมันเค็ม -มีการจัดรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามโปรแกรมThai school lunch ที่ได้มาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน
    -มีการปรุงประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย
    -มีการจัดผลไม้ อาหารว่างให้นักเรียนสัปดาห์ละ 2 ครั้ง
    -นักเรียนแกนนำ อ.ย. น้อย มีการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจยาเป็นประจำ

    -จัดให้มีการปรุง ประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลจัดโปรแกรมอาหารหมุนเวียนรายเดือนด้วยโปรแกรม Thai School Lunch โดยนักเรียนมีส่วนร่วมในการคิดรายการอาหาร -อาหารและอาหารปลอดภัยโดยมีการจัดซื้อวัตถุดิบจากสหกรณ์โรงเรียนโดยผ่านกิจกรรมสกรณ์โรงเรียนและภายในท้องถิ่นที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน มีการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร -จัดกิจกรรมรู้ประมาณ รับประทานพออิ่ม มีการบริการตักเสิร์ฟอาหารให้นักเรียนในเวลา 11.00 – 12.00 น. โดยมีการตักในสัดส่วนที่เหมาะสมกับความต้องการและช่วงวัยของนักเรียน -ผู้ปรุงมีสุขภาพดี ไม่เป็นโรคติดต่อ ไม่เป็นโรคผิวหนัง โดยผู้ปรุงมีการตรวจสุขภาพประจำปี

    สร้างข้อตกลงกับแม่ครัวและนักเรียนในปีการศึกษาต่อไป นำผลผลิตทางเกษตรของโรงเรียนมาใช้เพิ่มชึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    -การตรวจสุขภาพประจำปีโดยเจ้าหน้าที่อนามัย -การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยที่ดี

    ประสานงานกับเจ้าหน้าที่อนามัยเพื่อวาง แผนการทำงานและระยะเวลานการตรวจสุขภาพและฉีดวัคซีน

    วางแผนการตรวจสุขภาพประจำปีและฉีดวัคซีนกับเจ้าหน้าที่ก่อนเปิดภาคเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    -จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัยอย่างสม่ำเสมอ เช่น การออกกำลังกายกายบริหารการเล่นกีฬาเป็นต้น -การทดสอบสมรรถภาพด้านร่างกาย โดยเทียบกับเกณฑ์ -การให้ความรู้ ทักษะ ในการดูแลสุขภาพและสมรรถภาพร่างกาย โดยการจัดกิจกรรมบูรณาการกับการเรียนการสอนการอบรมการจัดค่ายส่งเสริมสุขภาพ

    อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนำอบรมแม่ครัวด้านโภชนาการจัดกิจกรรมหน้าเสาธงอบรมวันสุดสัปดาฆ์

    จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัย และเฝ้าระวังด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ประสานกับผู้ปกครอง และ หน่วยงานอื่นๆ อย่างสม่ำเสมอ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    1.จัดแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มเวรสีออกเป็น 4 สี และมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบในการทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน อาคารเรียน ห้องน้ำ โรงอาหารในช่วงเช้าก่อนเคารพธงชาติ
    2.นักเรียนแกนนำ อ.ย. น้อยมีการสำรวจลูกน้ำยุงลายเดือนละ 1 ครั้ง
    3.เดินรณรงค์ให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออก , การต่อต้านยาเสพติด , โรคเอดส์ ในวันสำคัญต่างๆ 4.นักเรียนให้ความรู้แก่ชุมชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก แจกแผ่นพับ และทรายอะเบทให้แก่ชุมชน

    เป็นกิจกรรมที่ดำเนินการโดยร่วมมือกันระหว่าง คณะครู / ครูอนามัยนักเรียนผู้นำอนามัย เจ้าหน้าที่จาก รพ.สต. / เทศบาลตำบล ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมดูแลส่งเสริม พัฒนาสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมอย่างสม่ำเสมอ การจัดกิจกรรมพัฒนาตามองค์ประกอบโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง เพื่อก้าวสู่ระดับเพชร

    โรงเรียนมุ่งพัฒนาอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะ โดยนำองค์ประกอบและตัวชี้วัดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรเป็นแนวทางดำเนินงาน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนบ้านทุ่งหลวง จังหวัด เชียงราย

    รหัสโครงการ ศรร.1112-010

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายดำเนิน บาลสุข )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด