ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านทุ่งหลวง |
สังกัด | ?? |
หน่วยงานต้นสังกัด | ?? |
ที่อยู่โรงเรียน | 147 หมู่ที่ 14 ตำบลแม่ยาว อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย |
จำนวนนักเรียน | 145 คน |
ช่วงชั้น | ปฐมวัย,ประถม |
ผู้อำนวยการ | นายยุทธชัย ชมภูพิทักษ์ |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางหทัยรัตน์ ศรีสังวรณ์ |
ถอนเงินดอกเบี้ยจากธนาคารดำเนินงานครบตามกิจกรรม ตามโครงการ และได้นำสมุดบัญชีปรับยอด เป็น 0
ดำเนินงานครบตามกิจกรรม ตามโครงการ และได้นำสมุดบัญชีปรับยอด เป็น 0
คณะดำเนินงาน มีการวางแผนและ ดำเนินกิจกรรมตรงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
ถอนดอกเบี้ยจำนวน13.78บาท
1.จัดทำนวัตกรรมและนิทรรศการ 2. ส่งเสริมการสร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนการในโรงเรียน 3. สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อพฤติกรรมในการบริโภคอาหารปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการ 4. สร้างนักเรียนแกนนำด้านการพัฒนาอนามัยและส่งเสริมชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมด้านการบริหารถูกต้องปลอดภัยตามหลักโภชนการ
- ส่งเสริมการสร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนการในโรงเรียน
- สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อพฤติกรรมในการบริโภคอาหารปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการ
- สร้างนักเรียนแกนนำด้านการพัฒนาอนามัยและส่งเสริมชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมด้านการบริหารถูกต้องปลอดภัยตามหลักโภชนการ
- โรงเรียนได้นำจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน
- โรงเรียนเป็นศุูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
จัดกิจการเรียนรู้ด้านศิลปะการสร้างนิทานอาหารและการออกแบบเมนูอาหาร โครงงานอาชีพ รูปแบบการประชาสัมพันธ์รณรงค์เสียงตามสาย นวัตกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม สร้างเครือข่าย
จัดกิจการเรียนรู้ด้านศิลปะการสร้างนิทานอาหารและการออกแบบเมนูอาหาร โครงงานอาชีพ รูปแบบการประชาสัมพันธ์รณรงค์เสียงตามสาย นวัตกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม สร้างเครือข่ายและเป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไยแก้มใส
- จัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา ตามนโยบายการจัดการเรื่อง อาหาร / ขนม / เครื่องดื่มในโรงเรียน - จัดโครงการสุขภาพวัยใส ใสใจโภชนาการ - โครงการยุวเกษตรกร - โครงการมือน้อยๆคอยพิทักษ์รักษ์สิ่งแวดล้อม - โครงการ อสม.น้อยคอยเตือนภัย - จัดหานำ้ดื่มนำ้ใช้ที่ถูกสุขลักษณะที่เพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคในโรงเรียน - โครงการประหยัดนำ้ประหยัดไฟหลังเลิกใช้งาน
- จัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา ตามนโยบายการจัดการเรื่อง อาหาร / ขนม / เครื่องดื่มในโรงเรียน - จัดโครงการสุขภาพวัยใส ใสใจโภชนาการ - โครงการยุวเกษตรกร - โครงการมือน้อยๆคอยพิทักษ์รักษ์สิ่งแวดล้อม - โครงการ อสม.น้อยคอยเตือนภัย - จัดหานำ้ดื่มนำ้ใช้ที่ถูกสุขลักษณะที่เพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคในโรงเรียน - โครงการประหยัดนำ้ประหยัดไฟหลังเลิกใช้งาน
- รวบรวมข้อมูลทางโภชนาการ
- จัดเตรียมข้อมูล รูป อาหาร
- จัดป้ายเมนูอาหารเพื่อติดตั้งภายในโรงอาหาร
ได้ป้ายความรู้จากเมนูอาหารที่เด็กเคยรับประทาน ให้พลังงานกี่แคลลอรี่ รวมทั้งสารอาหารต่างๆ
- สร้างองค์ความรู้ เกี่ยวกับการเพาะเห็ด
- ปรัับปรุงโรงเพาะชำ
- ลงก้อนเห็ดนางฟ้าในโรงเรือน
- แปรรูปอาหาร
นักเรียนได้รูจักการเพาะเห็ดและนำมาประกอบอาหารกลางวัน นักเรียนรู้จักวิธีการเก็บเห็ด
- นักเรียนได้รับอาหารกลางวันถูกหลักโภชนาการครบทุกคน
- นักเรียนได้ฝึกทักษะอาชีพ
- จัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน
- ตักอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยโดยให้นักเรียนแต่ละชั้นรับผิดชอบในการตักอาหารเอง
- นักเรียนได้รับอาหารกลางวันถูกหลักโภชนาการครบทุกคน
- นักเรียนได้ฝึกทักษะอาชีพ
3.จัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน
- ตักอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยโดยให้นักเรียนแต่ละชั้นรับผิดชอบในการตักอาหารเอง
- พัฒนาศักยภาพครู แม่ครัว นักเรียน ให้มีความรู้และทักษะในการจัดการอาหารและโภชนาการโดยได้มีการจัดทำเมนูอาหารรายวัน
- มีการอบรมวันศุกร์สุดสัปดาห์เพื่อส่งเสริมสุขภาพอาหารปลอดภัยในโรงเรียน
- มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดอาหารและโภชนการ -มีรูปแบบกิจกรรมทางกายและการออกกำลังกาย -มีเครือข่ายเข้าร่วมกิจกรรม -จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพทางกายและการออกกำลังกายสำหรับเด็กนักเรียนด้วยโครงการออกกำลังกายวันละนิดจิตแจ่มใส -จัดกิจกรรมหน้าเสาธงให้เด็กได้มีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกาย -จัดชุมชุมกีฬาต่างๆในวันพุธ -จัดโครงการSportdayในทุกๆวันพฤหัสบดี
-มีนักเรียนแกนนำด้านการพัฒนาอนามัยและส่งเสริมชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมด้านการบริหารถูกต้องปลอดภัยตามหลักโภชนการ
- พัฒนาศักยภาพครู แม่ครัว นักเรียน ให้มีความรู้และทักษะในการจัดการอาหารและโภชนาการโดยได้มีการจัดทำเมนูอาหารรายวัน
- มีการอบรมวันศุกร์สุดสัปดาห์เพื่อส่งเสริมสุขภาพอาหารปลอดภัยในโรงเรียน
- มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดอาหารและโภชนการ
-มีรูปแบบกิจกรรมทางกายและการออกกำลังกาย
-มีเครือข่ายเข้าร่วมกิจกรรม
-จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพทางกายและการออกกำลังกายสำหรับเด็กนักเรียนด้วยโครงการออกกำลังกายวันละนิดจิตแจ่มใส
-จัดกิจกรรมหน้าเสาธงให้เด็กได้มีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกาย
-จัดชุมชุมกีฬาต่างๆในวันพุธ
-จัดโครงการSportdayในทุกๆวันพฤหัสบดี
- การตรวจสุขภาพนักเรียนทุกคน
- การฉีดวัคซีนชั้นประถมศึกษาปีที่1และ6
จัดทำฐานข้อมูลน้ำหนักส่วนสูง สมรรถภาพทางกาย และภาวะดูแลสุขภาพของนักเรียนทุกคนและการแปรผลภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และนำข้อมูลไปใช้ในการแก้ไขปัญหาโดยครอบครัวมีส่วนร่วม นักเรียนชั้นป.1และชั้นป.6ได้รับการฉีดวัคซีน
- การตรวจสุขภาพประจำปีจากเจ้าหน้าที่
- จัดทำฐานข้อมูลน้ำหนักส่วนสูง สมรรถภาพทางกาย และภาวะดูแลสุขภาพของนักเรียนทุกคนและการแปรผลภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และนำข้อมูลไปใช้ในการแก้ไขปัญหาโดยครอบครัวมีส่วนร่วม
- ติดตามเด็กกลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพทุกเดือน โดยการดูข้อมูลเปรียบเทียบน้ำหนัก
นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพครบทุกคนโรงเรียน มีฐานข้อมูลน้ำหนักส่วนสูง สมรรถภาพทางกายและดูแลภาวะสุขภาพและมีการนำข้อมูลไปใช้ในการแก้ปัญหาโดยครอบครัวมีส่วนร่วม นักเรียนกลุ่มเสี่ยงได้รับการแก้ไขปัญหาพฤติกรรม
- การทำป้ายแปลงสาธิตปลอดสารในแปลงเกษตร
- นำไปติดไว้พื้นที่แปลงสาธิตเกษตรปลอดสาร
- นักเรียน ผู้ปกครองและเครือข่ายสามารถเรียนรู้กิจกรรมต่างๆจากแปลงสาธิต
นักเรียน ผู้ปกครองช่วยกันจัดทำป้ายแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารในแปลงเกษตร นำไปติดไว้พื้นที่แปลงสาธิตเกษตรปลอดสาร และเครือข่ายสามารถเรียนรู้กิจกรรมต่างๆจากแปลงสาธิต
- ประชุมผู้ปกครองนักเรียนที่สนใจจะรับไก่ไปเลี้ยงที่บ้าน เพื่อสร้างข้อตกลงร่วมกัน
- แจกไก่พันธุ์พื้นเมืองไปเลี้ยงที่บ้าน ตามความจำนงของผู้ปกครอง(ครอบครัวไม่เกิน 2 ตัว) โดยนำไก่แต่ละตัวไปชั่งน้ำหนักและจดบันทึกไว้โดยมีนักเรียนเป็นผู้ดำเนินงาน
- นักเรียนและผู้ปกครองนำไปเลี้ยงที่บ้าน โดยนักเรียนบันทึกกิจกรรมการให้อาหารทุกวัน
- บันทึกปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อนำไปพัฒนากิจกรรม
- ประชุมผู้ปกครองนักเรียนที่สนใจจะรับไก่ไปเลี้ยงที่บ้าน เพื่อสร้างข้อตกลงร่วมกัน
- แจกไก่พันธุ์พื้นเมืองไปเลี้ยงที่บ้าน ตามความจำนงของผู้ปกครอง(ครอบครัวไม่เกิน 2 ตัว) โดยนำไก่แต่ละตัวไปชั่งน้ำหนักและจดบันทึกไว้โดยมีนักเรียนเป็นผู้ดำเนินงาน
- ผู้ปกครองนักเรียนนำไปเลี้ยงที่บ้าน โดยนักเรียนบันทึกกิจกรรมการให้อาหารทุกวันเรียนรู้และการสังเกตุการให้อาหารไก่ การเจริญเติบโตของไก่
- บันทึกปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อนำไปพัฒนากิจกรรม
- มีลูกไก่ไว้เลี้ยงให้กับนักเรียนในรุ่นต่อไป
- คำนวณสัดส่วนการให้อาหารปลา
- นำข้อมูลที่ได้เสนอต่อผู้บริหารเพื่อทำการจัดซื้ออาหารปลา
- จัดซื้ออาหารปลา
- นำอาหารปลาเข้าสู่ระบบการเบิกจ่ายของโรงเรียนเพื่อให้ครูที่เกี่ยวข้องเบิกมาให้นักเรียนดำเนินการ
- คำนวณสัดส่วนการให้อาหารปลา
- จัดซื้ออาหารปลา
- นำอาหารปลาเข้าสู่ระบบการเบิกจ่ายของโรงเรียนเพื่อให้ครูที่เกี่ยวข้องเบิกมาให้นักเรียนดำเนินการ 4.นักเรียนแบ่งหน้าที่กันทำหน้าที่ในการเอาอาหารให้ปลาตามที่ได้รับผิดชอบ
- สร้างองค์ความรู้การปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้ เตรียมพื้นที่เพาะปลูก จัดการเพาะปลูกผักสวนครัว
- ขยายการปลูกผักปลอดสารพิษสู่ชุมชน
- จัดการประชุมเสนอโครงการต่อผู้ปกครองรับสมัตรสมาชิกที่สนใจ
- อบรมให้ความรู้แก่สมาชิกที่สนใจในการปลูกผักพร้อมทั้งแจกเมล็ดพันธุ์พืชเพื่อนำไปขยายผลต่อไป
- ผู้ปกครองนำความรู้ที่ได้มาปลูกผักสารพิษในบริเวณบ้านที่อยู่อาศัยของตนเอง
- จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรงเรียนและชุมชนเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ
ผู้ปกครองและนักเรียนได้ความรู้และนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการปลูกผักปลอดสารพิษกินเองในบ้านและเผยแพร่สู่ชุมชน ผู้ปกครองปลูกผักปลอดสารพิษ บริโภคผักปลอดสารพิษที่ตนเองปลูกตามฤดูกาล
- คณะครูและนักเรียนวางแผนการทำงานร่วมกัน
- รับสมัครเจ้าหน้าที่และสมาชิกสหกรณ์
- ประชุมเจ้าหน้าที่สหกรณ์เพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
- จัดซื้อสินค้าที่จำเป็นและพืชผักต่างๆ
- เจ้าหน้าที่จำหน่ายสินค้า
- จัดทำบัญชี
- ทำป้ายโครงสร้างคณะทำงานกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
การจัดการสหกรณ์นักเรียนเป็นระบบดีขึ้นมีการแต่งตั้งประธาน รองประธาน เหรัญญิก และคณะกรรมการดำเนินการ ทำให้นักเรียนมีความรับผิดชอบในการดำเนินงานสหกรณ์ดีขึ้น มีคณะครู นักเรียน และแม่ครัวสมัครเป็นสมาชิกและอุดหนุนสินค้าของสหกรณ์นักเรียน มีการจำหน่ายอุปกรณ์เครื่องเขียน อุปกรณ์แปรงฟัน เครื่องปรุงในการประกอบอาหารของแม่ครัว ผัก เห็ด ผลิตผลของโรงเรียนไว้จำหน่าย มีการจัดการเรียนรู้เรื่องสหกรณ์ให้กับนักเรียนทุกชั้น เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยกับสหกรณ์นักเรียน และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวัน
- ประชุมกับนักเรียนที่เกี่ยวข้อง
- มอบหมายหน้าที่่ความรับผิดชอบ
- ครูผู้รับผิดชอบจัดซื้อพันธ์ุปลา
- ปล่อยพันธ์ปลาดุก
ซื้อพันธุ์ปลาดุกมาจำนวน2000 ตัว ปล่อยปลาลงในบ่อดินโรงเรียนบ้านทุ่งหลวง แบ่งเวรรับผิดชอบในการให้อาหารปลา เช้าเย็นทุกวัน บันทึกกิจกรรมทุกครั้งเพื่อปรับปรุงและแก้ปัญหา
- ประชุมคณะทำงาน ครู ผู้ปกครองนักเรียน เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
- ให้ความรู้เรื่องการปลูกผักเกษตรอินทรีย์ การปลูกผักปลอดสารพิษ การปลูกผักพื้นบ้าน
- แบ่งกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อให้ได้ทดลองในปฏิบัติจริง
- สรุปผลการจัดกิจกรรมร่วมกัน
- ได้คณะทำงานซึ่งมีความเข้าใจในการดำเนินงานและแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงาน
- คณะทำงานสามารถเข้าใจงานที่ได้รับมอบหมาย
- สามารถทำงานบรรลุตามจัดประสงค์