แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์พัฒนาคาร)


“ โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์พัฒนาคาร) ”

400หมู่2 ตำบลบ้านดู่ อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

หัวหน้าโครงการ
นายผจญ กุณา

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์พัฒนาคาร)

ที่อยู่ 400หมู่2 ตำบลบ้านดู่ อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย จังหวัด เชียงราย

รหัสโครงการ ศรร.1113-008 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.08

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์พัฒนาคาร) จังหวัดเชียงราย" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 400หมู่2 ตำบลบ้านดู่ อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์พัฒนาคาร) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์พัฒนาคาร)



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์พัฒนาคาร) " ดำเนินการในพื้นที่ 400หมู่2 ตำบลบ้านดู่ อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย รหัสโครงการ ศรร.1113-008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์พัฒนาคาร) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 1347 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ

สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านดู่ (สหราษฎร์พัฒนาคาร) จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 659 คน ชาย 56 คน หญิง 70คน มีภาวะโภชนาการ ภาวะสมส่วนร้อยละ 73.14ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนร้อยละ 14.11 ภาวะค่อนข้างผอมและผอมร้อยละ 9.41 และภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยร้อยละ 10.08 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาทุพโภชนาการนักเรียนให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
  2. เพื่อพัฒนาเตรียมพร้อม เป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสในกลุ่มโรงเรียนบ้านดู่
  3. เพื่อสร้างเครือข่าย และสร้างความตระหนัก ขยายผลสู่ชุมชนให้มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมโครงการเด็กไทยแก้มใสให้ยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐานไม่ต่ำกว่า 80%
    2. โรงเรียนเป็นศูนย์เครือข่ายจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตรให้แก่นักเรียนและบุคคลในชุมชน
    3. ผลผลิตที่ได้จากโครงการเกษตรในโรงเรียน มาสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน
    4. นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณภาพทางโภชนาการและได้รับประทานอาหารกลางวันที่เป็นมังสวิรัติ มื้อกลางวัน 1 วันในหนึ่งสัปดาห์
    5. นักเรียน 80% มีสุขภาพกายแข็งแรงทุกคนได้การส่งเสริมให้ออกกำลังกาย มีสุขภาพกายที่แข็งแรง
    6. โรงเรียนในเครือข่าย 4 โรงเรียนได้รับการถ่ายทอดความรู้
    7. ผู้ปกครองจำนวน 658 คน ร่วมทำกิจกรรมการเกษตรในโรงเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมวางแผนการการดำเนินงาน เพื่อปฎิบัติให้ครอบคลุม ทั้ง 8องค์ประกอบ
    2. มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบแต่ละกิจกรรมอย่างชัดเจน ดังนี้
      1. กิจกรรมเกษตร มอบหมายครูศรีทนนุกาศครูเรวดี โรจน์ประโคน
      2. สหกรณ์นักเรียน มอบหมายครูเทียนรัตน์ธนาคำ และครูสายมัธยม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการประชุม พบว่า มีการแบ่งงานที่รับผิดชอบชัดเจน ร้อยละ 80  ครูทั้งโรงเรียน มีความรู้ความเข้าใจในการจัดกิจกรรม

     

    15 15

    2. ประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษา

    วันที่ 12 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดทำวาระการประชุมที่ชัดเจน  โดยมอบหมายให้ครูทั้งโรงเรียนมีส่วนร่วมในการจัดทำกิจกรรม เพื่อให้เกิดผลสำเร็จ ต่อ นักเรียน ชุมชน และโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการเสนอแนวจัดทำฐานการเรียนรู้แก้มใสโดยขยายฐานไปยัง ผู้ปกครอง และชุมชนในการดำเนินกิจกรรม

     

    39 39

    3. เลี้ยงหมูป่า

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ปรับปรุงคอกหมูป่าให้มีความเหมาะสมสำหรับการเลี้ยง
    2. จัดทำที่สำหรับให้อาหาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการจัดตั้งกลุ่มหมูน้อย โดยใช้กระบวนการพี่สอนน้อง
    นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100

     

    216 218

    4. สหกรณ์ออมทรัพย์

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.  นักเรียนมีรูปแบบการดำเนินงานออมทรัพย์นักเรียนที่ชัดเจน เน้นการมีส่วนร่วม 2.  มีการออมทรัพย์นักเรียนทุกวันที่ 15  ของเดือน ๆ 1  ครั้งโดยธนาคารออมสินสาขาบ้านดู่ มารับฝากในโรงเรียน 3.  นักเรียนมีการตรวจสอบออมทรัพย์ โดยครูผู้รับผิดชอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นักเรียนร้อยละร้อย มีสมุดออมทรัพย์และมีการออมทรัพย์กับธนาคารออมสิน 2.  นักเรียนและคณะครู ผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม

     

    700 953

    5. ส่งเสริมและพัฒนา ควบคุมคุณภาพอาหาร โดยใช้โปรแกรม thai school lunch

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เพื่อให้ครูที่รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน และการใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในการจัดเมนูอาหารกลางวัน และสามารถนำเมนูอาหารกลางวันไปประกอบอาหารให้นักเรียนได้รับประทานอย่างมีคุณภาพ ถูกสุขลักษณะ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อนักเรียนในการแก้ปัญญาภาวะทุพโภชนาการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  นักเรียนร้อยละ 80  ได้รับประทานอาหารจากเมนูที่จัดโดยการใช้โปรแกรมThai School Lunch 2.  นักเรียนและคณะครู ผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม

     

    698 1,318

    6. ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง นักเรียนประจำเดือน

    วันที่ 17 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เสนอกิจกรรมเพื่อขออนุมัติ
    2. ประชุมชี้แจง วางแผนการดำเนินกิจกรรม
    3. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน และร่วมกันวางแผน 4.  จัดการวัดส่วนสูงชั่งน้ำหนักในทุกๆ ภาคเรียน เพื่อได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน 5.  มีการทดสอบสมรรถนะของนักเรียนทุกภาคเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  ร้อยละ 80  ครูทั้งโรงเรียน มีความรู้ความเข้าใจในการจัดกิจกรรม 2.  ร้อยละ 80  ได้รับข้อมูลภาวะโภชนาการของนักเรียน 3.  2.  นักเรียนและคณะครู ผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม

     

    1,367 1,054

    7. เพาะเห็ดนางฟ้า

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สร้างองค์ความรู้ เกี่ยวกับการเพาะเห็ด
    2. ให้ความรู้แก่นักเรียนกลุ่มเป้าหมายโดยผ่านวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ
    3. ลงก้อนเห็ดนางฟ้าในโรงเรือน
    4. แปรรูปอาหาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้คณะทำงานซึ่งมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานและแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงาน
    2. คณะทำงานสามารถเข้าใจงานที่ได้รับมอบหมาย
    3. นีกเรียนได้องค์ความรู้ในเรื่องการเพาะเห็ดนางฟ้า ร้อยละ 80
    4. มีการวัดผลประเมินผลอย่างเป็นรูปธรรม

     

    105 115

    8. ประชุมผู้ปกครองนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 1 - 6

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดเตรียมข้อมูลนำเสนอ การจัดการประชุมสร้างความเข้าใจผู้ปกครอง
    2. ดำเนินการประชุมผู้ปกครอง
    3. แยกผู้ปกครองตามชั้นเรียน
    4. ประเมินความเข้าใจของผู้ปกครองต่อกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้ปกครองเข้าร่วมรับฟังแนวปฏิบัติ ร้อยละ 100
    2. ผู้ปกครองมีความเข้าใจและสนับสนุนในการดำเนินกิจกรรม
    3. ผู้ปกครองมีเจตคติที่ดี และ มีแนวทางในการปฏิบัติ เห็นความสำคัญของการจัดกิจกรรม

     

    476 450

    9. ประชุมผู้ปกครองระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3

    วันที่ 24 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เตรียมเอกสารประชุม
    2. ดำเนินการสร้างความเข้าใจและเห็นความสำคัญของการจัดกิจกรรม
    3. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  ได้คณะทำงานซึ่งมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินกิจกรรม และ รู้ เข้าใจ บทบาทการทำงาน
    2.  คณะทำงานสามารถเข้าใจงานที่ได้รับมอบหมาย
    3.  สามารถทำงานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
    4.  ผู้เข้าร่วมกิจกรรม  ร้อยละ 80  ได้รับความรู้ และพึงพอใจในการจัดกิจกรรม

     

    214 370

    10. สหกรณ์ร้านค้านักเรียน

    วันที่ 25 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับระเบียบ การจัดทำสหกรณ์นักเรียน
    2. จัดทำระบบสหกรณ์โรงเรียนให้เป็นรูปธรรม
    3. ระดมหุ้น โดยนักเรียน และครูในโรงเรียน หุ้นละ 20 บาท
    4. จัดตั้งเจ้าหน้าที่สหกรณ์ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
    5. ดำเนินตามกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้คณะทำงานซึ่งมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานและแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงาน
    2. คณะทำงานสามารถเข้าใจงานที่ได้รับมอบหมาย
    3. มีการวัดผลประเมินผล กิจกรรม
    4. มีการสรุปองค์ความรู้ร่วมกัน

     

    187 688

    11. บันทึกสุขภาพและสุขบัญญัตินักเรียนรายบุคล

    วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    บันทึกสุขภาพและสุขบัญญัตินักเรียนรายบุคล  โดยครูประจำชั้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  ได้คณะทำงานซึ่งมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินกิจกรรม และ รู้ เข้าใจ บทบาทการทำงาน
    2.  คณะทำงานสามารถเข้าใจงานที่ได้รับมอบหมาย
    3.  สามารถทำงานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
    4.  ผู้เข้าร่วมกิจกรรม  ร้อยละ 80  ได้รับความรู้ และพึงพอใจในการจัดกิจกรรม

     

    693 0

    12. ปลูกไม้ผล

    วันที่ 1 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ให้องค์ความรู้ เกี่ยวกับ การปลูกไม้ผล
    2. เตรียมพื้นที่ในการปลูกไม้ผล
    3. ดำเนินการปลูกไม้ผล 2ชนิด คือ กล้วยน้ำว้า มะละกอ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้คณะทำงานซึ่งมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินกิจกรรม และ รู้ เข้าใจ บทบาทการทำงาน
    2. คณะทำงานสามารถเข้าใจงานที่ได้รับมอบหมาย
    3. สามารถทำงานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
    4. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80ได้รับความรู้ และพึงพอใจในการจัดกิจกรรม

     

    240 0

    13. ปรับภูมิทัศน์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม รอบบริเวณโรงเรียน

    วันที่ 1 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมวางแผนคณะดำเนินงาน 2.จัดทำคำสั่ง เพื่อรับผิดชอบปรับปรุงอาคารสถานที่ให้เหมาะและเอื้อต่อการเรียนรู้ 3.ดำเนินกิจกรรม ให้ครบทุกองค์ประกอบ
    4.สรุปองค์ความรู้ 5. วัดผลประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ร้อยละ 80  โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่สะอาด ร่มรื่น เหมาะสม และเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ 2.  นักเรียน ชุมชน ผู้ปกครอง และ คณะครูบุคลากรมีความพึงพอใจในการจัดสภาพแวดล้อม

     

    688 709

    14. ค่ายเด็กไทยแก้มใส และฐานการเรียนรู้สู่ศูนย์ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 4 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมวางแผนคณะดำเนินงาน
    2. จัดทำคำสั่ง เพื่อรับผิดชอบตามฐานการเรียนรู้
    3. ดำเนินกิจกรรม ให้ครบทุกองค์ประกอบ โดยได้แบ่งฐานการเรียนรู้ 4 ฐาน
    4. สรุปองค์ความรู้
    5. วัดผลประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละร้อย
    2. คณะดำเนินงาน มีการวางแผนและ ดำเนินกิจกรรมตรงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

     

    254 234

    15. เลี้ยงปลา

    วันที่ 6 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะทำงานครูผู้ปกครองนักเรียนเจ้าหน้าที่ ทั้งภาครัฐ และเอกชนภาคีเครือข่าย เจ้าหน้าที่จากปศุสัตว์ เชียงราย
    2. ให้ความรู้เรื่อง การเลี้ยงปลาในกระชัง โดยวิทยากรภายใน และ ภายนอก
    3. แบ่งกลุ่มนักเรียน รับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรม
    4. สรุปองค์รวม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องการเลี้ยงปลาในกระชัง
    5. ติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรม
    6. สรุปผลที่ได้จากการจัดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้คณะทำงานซึ่งมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานและแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงาน
    2. คณะทำงานสามารถเข้าใจงานที่ได้รับมอบหมาย

     

    256 253

    16. กิจกรรมนาข้าวในโรงเรียน

    วันที่ 22 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะทำงานครูผู้ปกครองนักเรียนเจ้าหน้าที่ ทั้งภาครัฐ และเอกชนภาคีเครือข่าย
    2. ให้ความรู้เรื่อง การทำนา โดยวิทยากรภายใน และ ภายนอก
    3. แบ่งกลุ่มนักเรียน รับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรม
    4. สรุปองค์รวม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
    5. ติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรม
    6. สรุปผลที่ได้จากการจัดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้รับองค์ความรู้ พร้อมฝึกปฏิบัติในการดำเนินกิจกรรม
    2. ได้คณะทำงานมีความเข้าใจในการดำเนินงานและบทบาทหน้าที่ในการทำงาน
    3. บรรลุวัตถุประสงค์ในการดำเนินกิจกรรม

     

    350 0

    17. ปลูกสิ่งที่กิน กินสิ่งที่ปลูก (ผักสวนครัว)

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สร้างองค์ความรู้การปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้โดย วิทยากรท้องถิ่น
    2. เตรียมพื้นที่เพาะปลูก
    3. จัดการเพาะปลูกผักสวนครัว
    4. เก็บเกี่ยวผลผลิต จัดจำหน่าย สหกรณ์โรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้คณะทำงานซึ่งมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานและแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงาน
    2. คณะทำงานสามารถเข้าใจงานที่ได้รับมอบหมาย
    3. นีกเรียนได้องค์ความรู้ในเรื่องการปลูกพืชผักสวนครัวร้อยละ 80
    4. มีการวัดผลประเมินผลอย่างเป็นรูปธรรม

     

    82 0

    18. เฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    วันที่ 15 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เฝ้าระวังสุขภาพนักเรียน โดยการบันทึกสุขภาพประจำภาคเรียน
    2. จัดตั้ง ชมรม อย.น้อยเพื่อ ช่วย อำนวยความสะดวกในการจัดกิจกรรม
    3. ดำเนินการตรวจสุขภาพโดย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดู่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้คณะทำงานซึ่งมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานและแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงาน
    2. คณะทำงานสามารถเข้าใจงานที่ได้รับมอบหมาย
    3. มีการวัดผลประเมินผล กิจกรรม
    4. มีการสรุปองค์ความรู้ร่วมกัน

     

    1,347 1,347

    19. เลี้ยงไก่พันธุ์ไข่

    วันที่ 8 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะทำงานครูผู้ปกครองนักเรียนเจ้าหน้าที่ ทั้งภาครัฐ และเอกชนภาคีเครือข่าย เจ้าหน้าที่จากปศุสัตว์ เชียงราย
    2. ให้ความรู้เรื่อง การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ โดยวิทยากรภายใน และ ภายนอก
    3. แบ่งกลุ่มนักเรียน รับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรม
    4. สรุปองค์รวม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่
    5. ติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรม
    6. สรุปผลที่ได้จากการจัดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้คณะทำงานซึ่งมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานและแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงาน
    2. คณะทำงานสามารถเข้าใจงานที่ได้รับมอบหมาย
    3. นีกเรียนได้องค์ความรู้ในเรื่องการเลี้ยงไก่ร้อยละ 80
    4. มีการวัดผลประเมินผลอย่างเป็นรูปธรรม

     

    294 139

    20. ตรวจสุขภาพนักเรียนประจำปี ภาคเรียนละ 1 ครั้ง

    วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นัดวันเวลาจากเจ้าหน้าที่ รพ ส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบ้านดู่
    2. วางแผนการจัดการทำงานในโรงเรียน
    3. ครูอนามัยวางแผน จัดนัดหมายให้นักเรียนได้รับการตรวจทุกห้อง
    4. ดำเนินการตรวจสุขภาพประจำปี
    5. บันทึกผลการตรวจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้คณะทำงานซึ่งมีความเข้าใจในการดำเนินงานและแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงาน
    2. คณะทำงานสามารถเข้าใจงานที่ได้รับมอบหมาย
    3. นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี ครบ 100 เปอร์เซ็นต์

     

    703 693

    21. ทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    วันที่ 4 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดทำเครื่องมือวัดสมรรถภาพทางกายนักเรียน
    2. ทำการทดสมรรถภาพทางกายนักเรียน
    3. บันทึกผลการทดสอบสมรรถภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้คณะทำงานซึ่งมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินกิจกรรม และ รู้ เข้าใจ บทบาทการทำงาน
    2. คณะทำงานสามารถเข้าใจงานที่ได้รับมอบหมาย
    3. สามารถทำงานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
    4. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80ได้รับความรู้ และพึงพอใจในการจัดกิจกรรม

     

    657 657

    22. พัฒนาฐานเรียนรู้ บูรณาการกิจกรรมเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัยในโรงเรียน

    วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมวางแผนคณะดำเนินงาน 2.จัดทำคำสั่ง เพื่อรับผิดชอบตามฐานการเรียนรู้  โดยการจัดป้ายไวนิล ป้ายนิเทศ ให้ความรู้ 3.ดำเนินกิจกรรม ให้ครบทุกองค์ประกอบ 4.สรุปองค์ความรู้ 5. วัดผลประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละร้อย คณะดำเนินงาน มีการวางแผนและ ดำเนินกิจกรรมตรงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

     

    1,379 371

    23. สร้างเครือข่ายการจัดการเรียนรู้ ร่วมกับผู้ปกครอง และ ชุมชน

    วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมวางแผนคณะดำเนินงาน 2.จัดทำคำสั่ง เพื่อรับผิดชอบตามฐานการเรียนรู้ 3.ดำเนินกิจกรรม ให้ครบทุกองค์ประกอบ โดยได้ประชุมวางแผน สร้างเครือข่าย 4.สรุปองค์ความรู้ 5. วัดผลประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  ร้อยละ 80  ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และความเข้าใจในการอบรม ทั้งฝึกปฏิบัติ 2. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความพึงพอใจในการทำกิจกรรม 3. คณะดำเนินงาน มีการวางแผนและ ดำเนินกิจกรรมตรงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

     

    743 30

    24. จัดอบรมสร้างความตระหนักและความเข้าใจให้บุคลากร และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการดำเนินงานโครงการอาหารกลางวัน

    วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุมวางแผนคณะดำเนินงาน 2.จัดทำคำสั่ง เพื่อรับผิดชอบตามฐานการเรียนรู้ 3.ดำเนินกิจกรรม ให้ครบทุกองค์ประกอบ โดยได้อบรมเชิงปฏิบัติการจำนวน 1  วัน 4.สรุปองค์ความรู้ 5. วัดผลประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ความเข้าใจ ร้อยละแปดสิบ
    2. คณะดำเนินงาน มีการวางแผนและ ดำเนินกิจกรรมตรงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ 3.  ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจในการอบรมเชิงปฏิบัติการ

     

    30 30

    25. สหกรณ์ร้านค้ารับซื้อขายผลผลิต จาก โรงเรียน และ ชุมชน

    วันที่ 11 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมวางแผนคณะดำเนินงาน
    2. จัดทำคำสั่ง เพื่อรับผิดชอบตามฐานการเรียนรู้
    3. ดำเนินกิจกรรม ให้ครบทุกองค์ประกอบ โดยได้แบ่งฐานการเรียนรู้ 4 ฐาน
    4. สรุปองค์ความรู้
    5. วัดผลประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละร้อย
    2. คณะดำเนินงาน มีการวางแผนและ ดำเนินกิจกรรมตรงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

     

    882 140

    26. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอนเงินค่าดอกเบี้ยจากบัญชี ศรร.ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส (โรงเรียนบ้านดู่ สหราษฎร์พัฒนาคาร  จังหวัดเชียงราย)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการทำกิจกรรม

     

    3 3

    27. ถอนเงินเปิดบัญชี

    วันที่ 28 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดำเนินงานครบตามกิจกรรม ตามโครงการ และได้นำสมุดบัญชีปรับยอด เป็น 0

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. คณะดำเนินงาน มีการวางแผนและ ดำเนินกิจกรรมตรงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

     

    0 698

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อแก้ปัญหาทุพโภชนาการนักเรียนให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : ปัญหาทุพโภชนาการนักเรียนให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 80

    นักเรียนมีทุพโภชนาการที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ โดยมีการวัดส่วนสูงและช่างน้ำหนัก ทุกภาคเรียน แล้วนำมาวิเคราะห์ผล

    2 เพื่อพัฒนาเตรียมพร้อม เป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสในกลุ่มโรงเรียนบ้านดู่
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนได้รับการพัฒนาครบทั้ง 8องค์ประกอบ เพื่อเตรียมเป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ในกลุ่มโรงเรียนบ้านดู่ ครบ 4 โรงเรียน

    โรงเรียนได้ดำเนินกิจกรรมครบทั้ง 8องค์ประกอบ โดย ได้สรุปองค์ความรู้รวมทุกกิจกรรม มีการวัดผลประเมินผลของโครงการ และ แบบสำรวจความพึงพอใจ

    3 เพื่อสร้างเครือข่าย และสร้างความตระหนัก ขยายผลสู่ชุมชนให้มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมโครงการเด็กไทยแก้มใสให้ยั่งยืน
    ตัวชี้วัด : สร้างเครือข่าย และสร้างความตระหนัก ขยายผลสู่ชุมชนให้มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมโครงการเด็กไทยแก้มใสให้ยั่งยืน

    มีการจัดแสดงผลการดำเนินงาน โดยให้ทุกภาคส่วนเข้ามาศึกษาดูงาน ในวัน เปิดเฮือน เยือนโรงเรียนบ้านดู่ และ ได้ให้เครือข่ายทั้ง 4โรงเรียน นำองค์ความรู้ที่ได้มาจัดแสดง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาทุพโภชนาการนักเรียนให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) เพื่อพัฒนาเตรียมพร้อม เป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสในกลุ่มโรงเรียนบ้านดู่ (3) เพื่อสร้างเครือข่าย และสร้างความตระหนัก ขยายผลสู่ชุมชนให้มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมโครงการเด็กไทยแก้มใสให้ยั่งยืน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์พัฒนาคาร)

    รหัสโครงการ ศรร.1113-008 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.08 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
    • กิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ได้แก่ ไก่ไข่ กบ ปลา หมู ฯ
    • การเพาะเห็ด (นางฟ้าแปลงกาย) นำผลผลิตมาแปรรูปอาหาร จัดจำหน่าย ฯ
    • การทำนาข้าวการปลูกพืชผักสวนครัว ไม้ผลต่าง ๆ

    กิจกรรมต่างๆ นักเรียนดำเนินการเป็นกลุ่ม ฯ จัดจำหน่ายให้อาหารกลางวัน บุคคลภายนอก และนำเงินฝากออมทรัพย์

    เป็นกิจกรรมที่โรงเรียนดำเนินการบูรณาการกับการเรียนการสอนในทะระดับชั้นโดยเน้นการทำงานเป็นกลุ่มกิจกรรมนำผลผลิตจำหน่ายสหกรณ์นักเรียนตลาดภายนอกและนำเงินออมทรัพย์ เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนต่อไป - ผลผลิตจากการเกษตร เช่น เห็นนางฟ้า นำมาแปรรูปเป็นอาหารที่หลากหลาย ทำให้มีมูลค่าสูงขึ้น เกิดองค์ความรู้ใหม่แก่นักเรียนได้

    การดำเนินงานระยะต่อไป เน้นการดำเนินกิจกรรมที่ต่อเนื่อง โดยการประสานงานกับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรภาครัฐและเอกชนในพื้นที่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
    • กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน จัด ๓ รูปแบบ คือ สหกรณ์ร้านค้าสหกรณ์การผลิต และสหกรณ์ออมทรัพย์
    • การดำเนินงานสหกรณ์โดยกรรมการนักเรียนแต่ละกลุ่ม มีครูเป็นที่ปรึกษา
    • กิจกรรมที่นำผลผลิตทั้งด้านการเกษตร และงานอาชีพนักเรียน มาจำหน่ายสหกรณ์ เช่น ไข่ไก่พืชสวนครัว ขนมไทย น้ำสมุนไพร เป็นต้น
    • นักเรียนทุกคนออมทรัพย์ ผ่านกรรมการห้องเรียน กับธนาคารออมสิน
    • การดำเนินงานระะยะต่อไป ทางโรงเรียนเน้นการขยายเครือข่ายร่วมกับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรภายนอก
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    อาหารกลางวันครบวงจร

    • เป็นกิจกรรมที่นำผลผลิตด้านการเกษตรส่วนหนึ่งมาประกอบเป็นวัตถุดิบป้อนโครงการอาหารกลางวัน เช่น ผลผลิตจากเห็ดนางฟ้าไข่ไก่ผักสวนครัว เป็นต้น
    • นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวัน และมีส่วนช่วยในการประกอบอาหาร จัดล้าง/เก็บวัสดุอุปกรณ์ เป็นต้น
    • จัดกิจกรรมด้านการเกษตรที่หลากหลาย เพื่อนำผลผลิตมาสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันต่อ โดยร่วมมือกับผู้ปกครอง องค์กรภาครัฐ/เอกชน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
    • จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัยอย่างสม่ำเสมอ เช่น การออกกำลังกายกายบริหารการเล่นกีฬาเป็นต้น
    • การทดสอบสมรรถภาพด้านร่างกาย โดยเทียบกับเกณฑ์
    • การให้ความรู้ ทักษะ ในการดูแลสุขภาพและสมรรถภาพร่างกาย โดยการจัดกิจกรรมบูรณาการกับการเรียนการสอนการอบรมการจัดค่ายส่งเสริมสุขภาพ เป็นต้น
    • โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาพลศึกษา โดยนำหลักการ FIFA 11 For Health มาจัดกิจกรรมให้นักเรียน
    • การจัดกิจกรรมการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกาย นั้น ได้ดำเนินการโดยปลูกฝังสร้างความตระหนัก ให้นักเรียนเห็นความสำคัญด้านสุขภาพโดยจัดกิจกรรมการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม เช่น การเล่นกีฬา กายบริหารการจัดค่ายสุขภาพ การทดสอบสมรรถภาพทางกายการควบคุมน้ำหนัก-ส่วนสูง ให้สมส่วน/สมวัยโดยควบคุู่ไปกับการจัดบริการอาหารกลางวันที่ถูกหลักโภชนาการการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การแปรงฟันหลังอาหารเป็นต้น
    • เน้นการดำเนินการที่เกิดจากการเห็นคุณค่า และลงมือปฏิบัติจริง
    • ประสานกับผู้ปกครองหน่วยงาน / องค์กร ภายนอก ร่วมมือกันเพื่อเฝ้าระวัง ฯ
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
    • จัดกิจกรรมเน้นการส่งเสริมสุขภาพอนามัย โดยบูรณาการกับทุกกลุ่มสาระและ กิจกรรมเสริมหลักสูตรในโรงเรียน
    • สร้างความตระหนักด้านการดูแลรักษาสุขภาพให้นักเรียน โดยจัดกิจกรรมการปฏิบัติที่ถูกต้อง เช่น การรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ หลีกเลี่ยงอาหารที่เผ็ด หวาน มัน และเค็มจัด ไม่มีสารปรุงแต่งแปรงฟันหลัง อาหารเป็นต้น
    • จัดบริการอาหารกลางวันที่ สะอาดปลอดภัยถูกหลักโภชนาการ
    • เน้นการแปรงฟันที่ถูกต้องหลังอาหารทุกครั้ง
    • เฝ้าระวัง ทดสอบสมรรถภาพร่างกาย อยู่เสมอ
    • จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัย และเฝ้าระวังด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ประสานกับผู้ปกครอง และ หน่วยงานอื่นๆ อย่างสม่ำเสมอ
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
    • โรงเรียนได้จัดกิจกรรมการดูแล รักษาสิ่งแวดล้อม โดยแบ่งเขตรับผิดชอบให้บุคลากรในโรงเรียน ทั้งครู / นักเรียน เพื่อดูแลรักษาร่วมกัน -เน้นความสะอาด ร่มรื่น สวยงาม และปลอดภัย ที่เอื้อต่อการเรียนการสอนและการเรียนรู้นักเรียน -จัดให้มีน้ำดื่มที่สะอาด ปลอดภัย ไว้บริการนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน อย่างเพียงพอ
    • จัดห้องน้ำห้องส้วมที่เพียงพอ ถูกสุขลักษณะ
    • มีเรือนพยาบาลที่เป็นเอกเทศ มีเวชภัณฑ์ยา และมีเจ้าหน้าที่ รพ.สต.มาช่วยเหลือโรงเรียนอยู่สม่ำเสมอ
    • เป็นกิจกรรมที่ดำเนินการโดยร่วมมือกันระหว่าง คณะครู / ครูอนามัยนักเรียนผู้นำอนามัย เจ้าหน้าที่จาก รพ.สต. / เทศบาลตำบล ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมดูแลส่งเสริม พัฒนาสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมอย่างสม่ำเสมอ
    • การจัดกิจกรรมพัฒนาตามองค์ประกอบโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง เพื่อก้าวสู่ระดับเพชร
    • โรงเรียนมุ่งพัฒนาอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะ โดยนำองค์ประกอบและตัวชี้วัดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรเป็นแนวทางดำเนินงาน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์พัฒนาคาร) จังหวัด เชียงราย

    รหัสโครงการ ศรร.1113-008

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายผจญ กุณา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด