ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา


“ โรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา ”

136 ม.11 ตำบลคลองลานพัฒนา อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร

หัวหน้าโครงการ
นายพิภพ เสวกวรรณ์

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา

ที่อยู่ 136 ม.11 ตำบลคลองลานพัฒนา อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัด กำแพงเพชร

รหัสโครงการ ศรร.1112-028 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.28

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา จังหวัดกำแพงเพชร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 136 ม.11 ตำบลคลองลานพัฒนา อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา " ดำเนินการในพื้นที่ 136 ม.11 ตำบลคลองลานพัฒนา อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร รหัสโครงการ ศรร.1112-028 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 327 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการ สำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น สถานการณ์ปัญหาการบริโภคอาหารและโภชนาการภายในโรงเรียน บ้านโชคชัยพัฒนา โดยภาพรวม มีดังนี้มีการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำเฉลี่ยวันละ 70 กรัม และเป็นผักที่ไม่ปลอดสารพิษ เนื่องจากเป็นผักที่ซื้อมาจากตลาด อีกทั้งยังกินขนมและเครื่องดื่มที่มีรสหวานทุกวัน ปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลโดยเฉลี่ยมากกว่า 6 ช้อนชา/วัน นอกจากนี้ยังบริโภคผลไม้น้อยกว่า 70 กรัม/ วัน ด้วยเหตุนี้โรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนาได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาภาวะโภชนาการทั้งขาดและเกินของนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการเด็กไทยแก้มใสในโรงเรียนขึ้น เพื่อลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของนักเรียน และมีความรู้และแนวทางในการจัดการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนและชุมชนให้มีความรู้ความสามารถด้านการจัดการอาหารโภชนาการและสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจร
  2. เพื่อพัฒนาศูนย์เรียนรู้ให้เป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชนและโรงเรียนเครือข่าย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กนักเรียนมีสุขภาพดี เจริญเติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิตสามารถนำไปใช้ได้จริง
    2. โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน
    3. พ่อแม่/ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
    4. เกิดประแสตื่นตัวในชุมชน/สังคม ให้ความสำคัญกับอาหารโภชนาการ และสุขภาพเด็กวัยเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. บันทึกสถานการณ์ติดตามภาวะโชนาการ

    วันที่ 27 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงนักเรียน และมีการประมลด้วยโปรแกรมของกรมโภชนาการ
      บันทึกลงในคอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้ทราบว่านักเรียนของโรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนามีภาวะอ้วน ผอม สูง เตี้ย และสมส่วน

     

    213 209

    2. ประชุมคณะกรรมการบริหารโครงการเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 31 พฤษภาคม 2016 เวลา 15.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุม แจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการ และการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน กิจกรรม และมอบหมายผู้รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะครูเข้าร่วมประชุมชี้แจงแนวทางการทำงานโครงการเด็กไทยแก้มใส

     

    17 17

    3. อบรมความรู้ด้านอาหาร โภชนาการ และสุขอนามัย (เด็กโชคชัยแก้มใส ใส่ใจสุขภาพ)

    วันที่ 13 กันยายน 2016 เวลา 08:30-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดทำโครงการเสนอผู้บริหารเพื่อขออนุมัติโครงการ
    2. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    3. ประสารงานกับ รพ.สต.โชคชัยเพื่อขออนุเคราะห์วิทยากร
    4. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ บุคลากรและสถานที่
    5. ดำเนินการฝึกอบรมตามโครงการฯ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้รับความรู้ด้านอาหารหลัก และโทษของอาหารที่เรารับประทานอย่างไม่ถูกวิธี ได้ทราบถึงโรคที่เกิดจากการรับประทานอาหารที่มีน้ำตาล แป้งสูง ได้รับการแนะนำ การปฏิบัติตนตามหลักสุขบัญญัติ 10 ประการและโรคที่กำลังระบาดในขณะนี้ รวมถึงการออกกำลังกายที่ถูกวิธีและสามารถนำไปปฏิบัติที่บ้าน และแนะนำผู้ปกครองในการสร้างสุขภาพ พัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี อันจะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีของชุมชน

     

    199 196

    4. อบรมเชิงปฏิบัติการของบุคลากรในโรงเรียนและชุมชนในด้านเกษตรและการสหกรณ์ (ครอบครัวใส่ใจ เด็กโชคชัยแข็งแรง)

    วันที่ 21 กันยายน 2016 เวลา 08:30-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. วางแผนการดำเนินการโดยการประชุมคณะกรรมการจัดการอบรมฯ และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ทุกฝ่ายดำเนินการตามกำหนด
    2. เชิญเจ้าหน้าที่จากสำนักงานสหกรณ์จังหวัด สำนักตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวัด และเกษตรอำเภอ มาให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง
    3. ทางสำนักงานสหกรณ์จังหวัดได้ให้ความร่มมือกับทางโรงเรียนเป็นอย่างยิ่ง โดยการเชิญ สหกรณ์ที่อยู่ใกล้เคียงมาร่วมอบรมและนำสิ่งของมาให้กับนักเรียน ผู้ปกครองที่เข้ารับการอบรม
    4. ในการจัดกิจกรรม ทางสำนักงานหกรณ์จังหวัดได้ให้ความรู้เกียวกับการสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนอย่างละเอียด ส่วนสำนักงานบัญชี ได้สอนนักเรียนจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย และ สอนเจ้าหน้าที่สหกรณ์บันทึกบัญชี สต๊อกสินค้า และการรับจ่ายเงิน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน ผู้ปกครอง บุคลากรในโรงเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการสหกรณืนักเรียนเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะนักเรียนสามารถเรียนรู้บทเรียนต่าง ๆ และสนใจในการทำกิจกรมที่ทางสำนักงานสหกรณ์จังหวัดกำแพงเพชรนำมาเป็นอย่างดี มีการเล่นเกมส์ตอบคำถามชิงรางวัล เป็นการกระตุ้นให้นักเรยนได้เรียนรู้อีกทางหนึ่ง

     

    100 167

    5. กิจกรรมปลูกพืชระบบน้ำหยด

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำบ่อปลูกพืชระบบน้ำหยด โดยการปลูกมะนาว ฝรั่ง กล้วย บริเวณรอบ ๆ โรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ให้นักเรียนทำการปลูกพืชระบบน้ำหยด โดยการให้รับผิดชอบในแต่ละบ่อลงตนเอง โดยมีการดูแลการเจริญเติบโตของพืชที่ตนเองรับผิดชอบ

     

    22 22

    6. ตลาดนัดสุขภาพ

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้นักเรียนนำผักที่ได้จากการประกวดแปลงผักมาจัดร้านออกจำหน่าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เนื่องจากกิจกรรมนี้ผลผลิตที่จัดทำให้ไม่พอกับการนำมาจัดกิจกรรมตลาดนัด

     

    104 0

    7. การปลูกผักกางมุ้ง

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ขออนุมัติการจัดซื้ออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในกิจกรรม
    2. ดำเนินการปรับปรุงโรงผักกางมุ้ง เพื่อให้มั่นคง ทนทานแข็งแรงมากยิ่งขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ดำเนินการปรับปรุงโรงผักกางมุ้งจำนวน 2 หลัง และบ่อปลูกมะนาวน้ำหยด แปลง ปลูกฝรั่งน้ำหยด โดยความร่วมมือของบุคลากรในโรงเรียน ส่วนการปลูกผักกางุม้ง ได้รับปรุงรอบ ๆ บริเวณโรงผักกางมุ้งให้สะอาด ให้นักเรียนทำการปลูกผักโดยใช้กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้มาทำกิจกรรม การปลูกผักจะให้นักเรียนสำรวจความต้องการการใช้ผักของโครงการอาหารกลางวัน ว่าจะใช้ผักชนิดไหนบ้าง และทำการปลูกผักโดยการแบ่งกลุ่มนักเรียนปลูกผัก เช่น ผักกาดขาว ผักคะน้า ผักบุ้ง ผักกวางตุ้งดอก/ใบ ผักกวางตุ้งจีน และผักสลัด โดยผลผลิตที่ได้ทั้งหมด จะส่งให้กับโครงการอาหารกลางวัน ส่วนที่เหลือเล็กน้อยจะแบ่งให้กับนักเรียนที่ดูแลนำไปรับประทานที่บ้าน ผลที่เกิดขึ้นทำให้นักเรียนรู้ว่าปัญหาในการปลูกผักเกิดจากอะไร เช่น ปลูกชิดหรือแน่นเกินไปผักจะไม่โต การรดน้ำต้องรดน้ำเช้าเย็น วัชพืชหรือการใส่ปุ๋ยคอก ต้องใส่ตอนไหน เพื่อให้ผักเจริยเติบโตได้ดี เพื่อให้ในครั้งต่อไปจะได้มีประสบการณ์

     

    17 73

    8. ประกวดแปลงผัก

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ให้นักเรียนจับกลุ่มและเสนอกันภายในกลุ่มว่าจะปลูกผักอะไร
    2. ในแต่ละกลุ่มเสนอให้ครูทราบและครูจัดซื้อเมล็ดพันธ์ตามที่นักเรียนเสนอโดยให้นักเรียนปลูกผักกางมุ้งทั้ง 2 หลัง
    3. นักเรียนดำเนินการปรับปรุงดิน ปลูกและดูแลผักที่ตัวเองปลูก
    4. ครูให้คำแนะนำ ปรึกษา แลประเมินผลแต่ละกลุ่มเป็นระยะ
    5. แจ้งผลการดำเนินการให้นักเรียนทราบ
    6. สรุปผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารทราบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้ร่วมมือกันทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่กันทำงาน เริ่มต้นตั้งแต่ การเตรียมดิน การปลูกผักตามหลักวิธีการ การดูแลแปลงที่รับผิดชอบเป็นระยะๆ มีการรายงานปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการปลูกผักให้ครูทราบ ช่วงดำเนินการครูจะเป็นผู้คอยประเมินผลตามสภาพจริง และแจ้งให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทราบ

     

    46 27

    9. ศึกษาดูงานโรงเรียนที่มีผลสำเร็จในการใช้โปรแกรม Thai School lunch

    วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เขียนโครงการนำเสนอเพื่อขอศึกษาดูงานและประสารไปยังโรงเรียนที่ขอศึกษาดูงาน
    2. ทำบันทึกขออนุญาตไปศึกษาดูงานจากโรงเรียนและสำนักงานเขตพื้นที่
    3. ศึกษาดูงานตามโครงการที่วางไว้
    4. รายงานผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เข้าศึกษาดูงาน ณ โรงเรียนบ้านกาดฮาวในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 โดยมีคณะครูจำนวน 8 ท่านและแม่ครัวในโรงเรียนจำนวน 1 คน เข้าศึกษาดูงาน
    ได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นและเป็นกัลยาณมิตรที่ดีจากผู้อำนวยการโรงเรียนและคณะครู ศึกษาดูงานโดยการแบ่งกลุ่มครูที่รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรมเข้าศึกษาเอกสาร
    ผลการปฏิบัติจริงของโรงเรียนบ้านกาดฮาว ในการศึกษาดูงานในครั้งนี้ ได้รับการความรู้และความคิดใหม่ ๆ โดยมีวิทยากรตัวน้อย ๆ คอยตอบข้อซักถาม และอธิบายกระบวณการทำงานในแต่ละกิจกรรมของโรงเรียน ทำให้ได้รับเกิดการจุดประกายด้านความคิดใหม่จากต่างโรงเรียนได้เป็นอย่างดี

     

    9 9

    10. การประกวดทำอาหารและป้ายกิจกรรม

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดทำป้ายกิจกรรมและป้ายโครงการติดในแต่และกิจกรรม
    2. จัดทำอาหารเพื่อสุขภาพเพื่อให้นักเรียนได้ประยุกต์ไปใช้ที่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมต่าง ๆ ที่โครงการเด็กไทยแก้มใสได้จัดทำขึ้น โดยในป้ายกิจกรรมจะมีความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมด้วย
    2. มีการจัดทำอาหารเพื่อให้นักเรียนได้ทดลองทำ และสาธิตให้น้อง ๆ ในโรงเรียนได้ดู ให้นักเรียนได้ชิมอาหารจากฝีมือของพี่ๆ ที่ทำให้ทาน

     

    80 71

    11. กิจกรรม 3 อ.

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.  จัดทำโครงการเสนอผู้บริหารเพื่อขออนุมัติโครงการ 2.  ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3.  ประสานงานกับ รพ.สต โชคชัยพัฒนา เพื่อขออนุเคราะห์วิทยากร
    4.  จัดเตรียมวัสดุ  อุปกรณ์  บุคลากรและสถานที่ 5.  ดำเนินงานฝึกอบรมตามโครงการฯ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพแบบบูรณาการในการให้เด็กไทยดูดี มีพลานามัย โดยให้เด็กมีวินัย มีการเรียนรู้ด้านอาหารและโภชนาการ รู้จักกิน ฉลาดซื้อ รู้คุณค่าของเงิน และรักการออกกำลังกาย โดยมีกลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นอนุบาล 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ในโรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา ที่มีภาวะโภชนาการเริ่มอ้วน และอ้วน  จำนวน  44  คน เข้ารับการอบรมจากวิทยากรที่ได้รับการการสนับสนุนจาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโชคชัย จำนวน 1 ท่าน โดยมาให้ความรู้ ในด้านดังต่อไปนี้
    ๑. การพัฒนาศักยภาพของนักเรียน ด้านการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ที่นำมาซึ่งการดูแลตนเอง ครอบครัว อย่างเหมาะสมและยั่งยืน ๒. เด็กไทยมีวินัยในการรับประทาน การใช้เวลา และการใช้เงินอย่างคุ้มค่า ๓. ลดปัญหาโรคที่เกี่ยวข้องกับภาวะโภชนาการเกิน : โรคอ้วน, เบาหวาน, หัวใจ, ความดันโลหิตสูง ฯลฯ

     

    50 53

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนและชุมชนให้มีความรู้ความสามารถด้านการจัดการอาหารโภชนาการและสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจร
    ตัวชี้วัด : บุคลากรในโรงเรียนและชุมชนมีความรู้ความสามารถด้านการจัดการอาหารโภชนาการและสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจร โดยมีผู้เข้าร่วมอบรมจำนวน 196 คน

    คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ชุมชน มีความรู้ในเรื่องการจัดการอาหาร และโภชนาการสู่คุณภาพชีวิตที่ดี และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี

    2 เพื่อพัฒนาศูนย์เรียนรู้ให้เป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชนและโรงเรียนเครือข่าย
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนเป็นแบบอย่างศูนย์กลางแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชนและโรงเรียนเครือข่าย

    โรงเรียนในเครือข่ายเข้ามาศึกษาดูงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำไปพัฒนาต่อยอดให้ยั่งยืนยิ่งขึ้น

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนและชุมชนให้มีความรู้ความสามารถด้านการจัดการอาหารโภชนาการและสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจร (2) เพื่อพัฒนาศูนย์เรียนรู้ให้เป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชนและโรงเรียนเครือข่าย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา

    รหัสโครงการ ศรร.1112-028 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.28 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    เกษตรอินทรีย์แบบผสมผสาน

    ลักษณะ ใช้หลักการอยู่ร่วมกันระหว่างพืช สัตว์และสิ่งแวดล้อม ขั้นตอน ๑. ประชุมการวางแผนการดำเนินงานร่วมกับชุมชนร่วมกัน ๒. กำหนดพื้นที่ทำเหษตรเป็น ๘ ส่วน ๓. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ ๔. รับสมัครนักเรียนตามกลุ่มที่สนใจ เช่นเลี้ยงปลา ๕. อบรมองค์ความรู้การทำเกษตรผสมผสาน ๖. ดำเนินงานตามแผน ๗. ครูผู้รับผิดชอบประเมินผลความรู้ ทักษะนักเรียน ๘.จัดเวทีนำเสนอความก้าวหน้าต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง

    ใช้ระบบน้ำหยดแบบเปิดปิดอัตโนมัติ

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

    กิจกรรมสหกรณ์ร้านค้า กิจกรรมออมทรัพย์นักเรียน

    จัดจำหน่ายของอุปโภคและบริโภค อีกทั้งมีการรับซื้อผลผลิตทางการเกษตรในโรงเรียน ขายต่อกับกิจกรรมอาหารกลางวัน หรือชุมชน จัดทำบัญชี รายรับ รายจ่าย ผลกำไร- ขาดทุน รายงานผลการดำเนินในรอบปีให้กับสมาชิกรับทราบ กิจกรรมออมทรัพย์ มีการรับฝากเพื่อเป็นเงินออมสำหรับสมาชิกอย่างสม่ำเสมอจัดทำสมุดออมเงินประจำตัว

    ใช้ระบบโปรแกรมรับฝากเงิน โปรแกรมสหกรณ์

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

    Thai School lunch

    มาตรฐานอาหารกลางวันและอาหารว่างโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch มาจัดการอาหารให้กับนักเรียน มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหารสำหรับโรงอาหารเน้นการจัดเก็บอาหารสด การปกปิดอาหารปรุงสำเร็จแล้วและการล้างภาชนะ

    กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    การเฝ้าระวังภาวะทางทุพภาวะโภชนาการ

    การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง แปลผล แจ้งให้ผู้ปกครองทราบ และมีการเฝ้าระวังโดยครอบครัวมีส่วนร่วม

    การออกกำลังกาย และควบคุมการรับประทานอาหารสำหรับนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    การพัฒนาสุขนิสัยนักเรียน

    ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร การดูแลความสะอาดของร่างกายโดยการสร้างเสริมพฤติกรรมตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติ และมีการเฝ้าระวังติดตามประเมินผล สอดแทรกในการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระ

    คู่หูสุขภาพ จัดประกวดสุขภาพ เข้าร่วม/หกเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติ

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

    กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพนักเรียน

    มีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและเพียงพอกับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน - น้ำดื่มที่สะอาด - ที่ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร - ห้องส้วมถูกสุขลักษณะ - การจัดการขยะ แมลง สัตว์นำโรค - จัดสนามเด็กเล่นให้เหมาะสมตามช่วงวัย - กิจกรรมออกกำลังกายตอนเช้าก่อนเข้าเรียน

    ใช้กิจกรรม BBl ตามช่วงวัย

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

    ตรวจสุขภาพประจำปี

    การตรวจสุขภาพของนักเรียนโดยความร่วมมือของโรงพยาบาลคลองลานที่มาทำการตรวจฟัน รักษาฟัน และให้คำแนะนำในการรับประทานอาหารเพื่อไม่ให้ฟันผุ การฉีดวัคซีนประจำปีโดย รพ.สต.โชคชัย การอบรมให้ความรู้สำหรับนักเรียนที่มีทุพภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

    มีมุมสุขภาพโดยให้นักเรียนแกนนำสามารถตรวจสุขภาพ ให้คำแนะนำได้

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    โรงเรือนผักกางมุ้ง โรงเรือนปลูกผักไฮโดรโปรนิคส์ บ่อเลี้ยงปลา โรงเรือนเพาะเห็ด

    ครูทุกคนนำเรื่องของเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัยเข้าไปบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน

    โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ในการให้นักเรียนไปศึกษาในสภาพจริง

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    • เทศบาลตำบลคลองลานพัฒนา จัดสนับสนุนงบประมาณในกิจกรรมอาหารกลางวันและอาหารกเสริมนม
    • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมาตรวจสุขภาพประจำปี การกำจัดยุงลาย และมาให้ความรู้กับนักเรียนในด้านสุขภาพ
    • โรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนคลองลานพัฒนา ร่วมมือกันในการดูแลสุขภาพ ศึกษาดูงานตามแหล่งเรียนรู้นำมาพัฒนา ปรับปรุงและต่อยอด
    • บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ สนับสนุนการเลี้ยงไก่ไข่
    • กรมประมง ให้ความรู้ในการเลี้ยงปลาเพิ่มเติม
    • สหกรณ์จังหวัดอบรมให้ความรู้นักเรียนในเรื่องของสหกรณ์นักเรียน

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    ภายในบริเวณโรงเรียนมีพื้นที่การบริหารจัดการเพียงพอ มีแหล่งน้ำที่พอเพียง และบุคลากรในการจัดกิจกรรมได้รับการอบรมเพิ่มเติม

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    ผู้รับผิดชอบดำเนินงานตามแผนที่กำหนด
    ทีมงานเพียงพอและมุ่งมั่น หน่วยงาน
    ผู้ปกครองให้การสนับสนุน

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    การฝึกอบรม การศึกษาดูงานนำมาพัฒนาและปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น การนิเทศจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทำให้รู้ถึงข้อควรพัฒนา และนำมาปรัปบรุงแก้ไขไปในทางที่ดีขึ้น

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    • การเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผน ดำเนินงานและแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
    • มีการจัดทำ และจัดหาทรัพยากรจากหน่วยงานภายนอกมาพัฒนาสภาพแวดล้อมทั้งในโรงเรียนและชุมชน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    ปลูกผักกางมุ้ง พืชน้ำหยด ปลูกกล้วย

    มีโรงผักกางมุ้งจำนวน 2 หลังเพื่อปลูกผักหมุนเวียน

    เพื่อโรงปลูกพืชไฮโดรโปรนิคส์ เพาะเห็ด ปลูกกล้วย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

    เลี้ยงไก่ไข่

    มีไข่ไก่จากโรงเลี้ยงไข่ไก่ของโรงเรียนมาสู่โครงการอาหารกลางวัน

    การเลี้ยงหมูหลุม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    เลี้ยงปลาในบ่อซีเมนต์

    มีโรงเลี้ยงปลา และบ่อเลี้ยงปลา

    มีการเลี้ยงกบ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

     

     

    นำผลผลิตที่โรงเรียนมีมาจัดบริหารอาหารเช้า

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

    ใช้โปรแกรม Thai School Lunch มาช่วยในการจัดการ

    จัดบริการในอาหารกลางวัน

    ให้ผู้ปกครอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    ใช้โปรแกรม Thai School Lunch มาช่วยในการจัดการ

    จัดบริการในอาหารกลางวัน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    ใช้โปรแกรม Thai School Lunch มาช่วยในการจัดการ

    จัดบริการในอาหารกลางวัน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

    เฝ้าระวังการระบาดของอาหารเป็นพิษในโรงเรียน ทำอาหารที่ปรุงสุกใหม่ ๆ ให้นักเรียนรับประทาน

    เอกสารที่ไม่มีการแพร่ระบาดของอาหารเป็นพิษในโรงเรียน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

    มีการใช้โปรแกรมทุก ๆ เดือน

    เอกสารการจัดการอาหารตามโปรแกรม

    นักเรียน ผู้ปกครองครู เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการอาหารกลางวันเพิ่มมากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

    ทำการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงพร้อมทั้งแปลผล

    เอกสารการแปลผล และการบันทึกน้ำหนัก ส่วนสูงของนักเรียน

    ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วม

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 1/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/1
    เตี้ย 23.67 23.67% 1.00 1.00% 9.22 9.22% 3.33 3.33% 2.40 2.40% 1.92 1.92% 6.19 6.19% 5.71 5.71% 1.44 1.44% 1.45 1.45% 6.34 6.34% 2.91 2.91% 2.48 2.48%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 26.57 26.57% 6.50 6.50% 20.39 20.39% 9.52 9.52% 8.65 8.65% 4.33 4.33% 6.19 6.19% 5.71 5.71% 4.31 4.31% 4.35 4.35% 13.66 13.66% 9.22 9.22% 7.92 7.92%
    ผอม 19.32 19.32% 10.00 10.00% 8.25 8.25% 8.10 8.10% 6.25 6.25% 2.02 2.02% 10.00 10.00% 8.57 8.57% 5.29 5.29% 4.35 4.35% 7.35 7.35% 4.88 4.88% 2.99 2.99%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 23.19 23.19% 19.00 19.00% 13.11 13.11% 14.29 14.29% 13.94 13.94% 4.55 4.55% 10.00 10.00% 8.57 8.57% 14.42 14.42% 13.53 13.53% 18.14 18.14% 12.68 12.68% 13.43 13.43%
    อ้วน 6.28 6.28% 3.50 3.50% 6.80 6.80% 3.81 3.81% 0.96 0.96% 4.04 4.04% 15.24 15.24% 11.90 11.90% 5.77 5.77% 5.31 5.31% 3.43 3.43% 4.39 4.39% 4.48 4.48%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 6.28% 6.28% 7.50% 7.50% 11.65% 11.65% 8.10% 8.10% 4.81% 4.81% 6.57% 6.57% 17.14% 17.14% 11.90% 11.90% 10.58% 10.58% 10.14% 10.14% 9.31% 9.31% 10.24% 10.24% 9.95% 9.95%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

    มีการใช้โปรแกรม Thai School Lunch มาบริการจัดการทำให้ได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพิ่มมากขึ้น

    เอกสารบันทึกภาวะโภชนาการ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

    มีการใช้โปรแกรม Thai School Lunch มาบริการจัดการทำให้ได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพิ่มมากขึ้น

    เอกสารบันทึกภาวะโภชนาการ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

    มีการจัดการออกกำลังกาย และรับประทานอาหารเสริม นม พร้อมกัน

    อาหารเสริมนม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

    อบรมให้ความรู้ถึงโรคที่จะเกิดขึ้น การออกกำลังกาย

    ภาวะโภชนาการดีขึ้นตามลำดับ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

    ไม่ส่งเสริมการรับประทานอาหารที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย

    ภาวะโภชนาการดีขึ้นตามลำดับ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

    บ่อหมักแก๊สชีวภาพ นำเศษผักที่ไม่ได้ใช้ ขี้ไก่ มาใส่ในบ่อหมักแก๊ส และสามารถนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงทำกิจกรรมอาหารกลางวันช่วยลดต้นทุนเชื้อเพลิง

    บ่อหมักแก๊สชีวภาพ

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    • เทศบาลตำบลคลองลานพัฒนา จัดสนับสนุนงบประมาณในกิจกรรมอาหารกลางวันและอาหารกเสริมนม
    • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมาตรวจสุขภาพประจำปี การกำจัดยุงลาย และมาให้ความรู้กับนักเรียนในด้านสุขภาพ
    • โรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนคลองลานพัฒนา ร่วมมือกันในการดูแลสุขภาพ ศึกษาดูงานตามแหล่งเรียนรู้นำมาพัฒนา ปรับปรุงและต่อยอด
    • บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ สนับสนุนการเลี้ยงไก่ไข่
    • กรมประมง ให้ความรู้ในการเลี้ยงปลาเพิ่มเติม
    • สหกรณ์จังหวัดอบรมให้ความรู้นักเรียนในเรื่องของสหกรณ์นักเรียน

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา จังหวัด กำแพงเพชร

    รหัสโครงการ ศรร.1112-028

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายพิภพ เสวกวรรณ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด