แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนทองทิพย์วิทยา


“ โรงเรียนทองทิพย์วิทยา ”

207 ม. 3 ตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง 52100

หัวหน้าโครงการ
นายวรพันธ์ กัญญเทพ

ชื่อโครงการ โรงเรียนทองทิพย์วิทยา

ที่อยู่ 207 ม. 3 ตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง 52100 จังหวัด ลำปาง

รหัสโครงการ ศรร.1112-017 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.17

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนทองทิพย์วิทยา จังหวัดลำปาง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 207 ม. 3 ตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง 52100

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนทองทิพย์วิทยา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนทองทิพย์วิทยา



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนทองทิพย์วิทยา " ดำเนินการในพื้นที่ 207 ม. 3 ตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง 52100 รหัสโครงการ ศรร.1112-017 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนทองทิพย์วิทยา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 275 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณ์สำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนทองทิพย์วิทยา จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้ จากการร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสปีที่ ๑โรงเรียนทองทิพย์วิทยาได้ดำเนินกิจกรรมที่ประสบความสำเร็จที่เห็นผลผลิต ผลลัพธ์ หรือนวัตกรรม อย่างเป็นรูปธรรมจากการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานด้าน การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดังนี้ กิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์/นวัตกรรม 3.1 การเกษตรในโรงเรียน ๑. ไข่ไก่
๒. พืชผักสวนครัวตามฤดูกาล
๓. ปลาดุก ๔. เห็ดนางฟ้า ๕. กบ
3.2 สหกรณ์นักเรียน ๑. มีกิจกรรมสหกรณ์ออมทรัพย์ มีสมาชิกทั้งหมด ๕๑ คน ยอดเงินออมทรัพย์ณ วันที่ ๓๐ ต.ค. ๒๕๕๘ นักเรียนมีเงินฝากรวมทั้งหมด๔๒๗,๙๓๙.๙๘บาท
๒. สหกรณ์ร้านค้าจำหน่ายเครื่องเขียน และ ผลผลิตการเกษตร 3.3 การจัดบริการอาหารของโรงเรียน ๑. จ้างเหมาผู้ประกอบการ แต่มาทำที่โรงเรียน
3.4 การติดตามภาวะโภชนาการ ๑. มีการวัดส่วนสูง และชั่งน้ำหนัก โดยครูอนามัย โรงเรียนและจากการติดตามของ รพ.สต.บ้านหนอง
3.5 การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน ๑. ให้นักเรียนตักอาหารเองตามความต้องการของตนเองพออิ่ม
3.6 การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ ๑. ด้านอนามัยนักเรียน มีน้ำดื่ม น้ำใช้ ห้องน้ำ ห้องส้วม ที่สะอาดไว้บริการนักเรียน
๒. มีสถานที่สำหรับแปรงฟัน ล้างอุปกรณ์ครัว ถ้วยชาม ที่สะอาด และพอเพียงสำหรับนักเรียน
๓. จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพอนามัยของนักเรียนโดยเน้นด้านความสะอาด และอากาศปลอดโปร่ง
๔. มีการคัดแยกขยะ จากธนาคารขยะ ของโรงเรียน
3.7 การจัดบริการสุขภาพ ๑. มีการตรวจสุขภาพอนามัย จากโรงพยาบาลแม่ทะ และ สุขภาพปาก และฟัน
๒.การตรวจสุขภาพอนามัยจาก รพสต. บ้านหนอง
๓. รับการตรวจรักษาในการเจ็บป่วยจากโรงพยาบาลแม่ทะ
สาขาน้ำโจ้
3.8 การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย ๑. มีการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการในสาระ กอท.และ
สาระสุขศึกษา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส และแนวทางแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน
  2. เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน และส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพกาย ใจ แข็งแรง
  3. เพื่อปรังปรุงพัฒนาระบบสุขาภิบาล / สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ให้เหมาะสม
  4. เพื่อสร้างและขยายเครือข่ายโครงการเด็กไทยแก้มใส และเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชน และโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. โรงเรียนมีระบบสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมเหมาะสมถูกสุขลักษณะ
    2. นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการลดลงอย่างน้อย 50 %
    3. นักเรียนมีสุขภาพกาย ใจ แข็งรง และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
    4. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้อย่างครบวงจรสำหรับชุมชนและเครือข่าย

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การอบรมแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน

    วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมวางแผนการดำเนินงานร่วม
    2. ดำเนินการอบรมตามแผน อบรม เรื่อง การแก้ปัญหาทุพโภชนาการการของนักเรียน โดยมีคณะครู นักเรียนและผู้ปกครองเข้าร่วมและมีเจ้าอาวาสวัด เจ้าหน้าที่รพสต.และผ็้แนะนำการปลูกผักHydroponicsเป็นวิทยากร
    3. สรุปผล 4.ประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ปกครองและนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพ การเลือกรับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วนเหมาะสมตามวัย ประโยชน์ของการรับประทานผักที่ปลอดสารพิษและแนวทางในการดำเนินชีวิตที่มีความพอเพียง

     

    58 58

    2. พืชผักสวนครัวรั้วกินได้ ระยะที่1

    วันที่ 11 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดประชุมคณะครูและตัวแทนผู้ปกครอง
    2. ดำเนินกิจกรรมตามแผนโดยจัดซื้อเมล็ดพันธุ์พืชผักและต้นกล้าแจกจ่ายให้กับผู้ปกครอง
    3. ติดตามผล 4.  ประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนและผู้ปกครองจำนวน  100  ครอบครัว มีการทำกิจกรรมร่วมกัน
    นักเรียนและผู้ปกครองมีผักสวนครัวที่สะอาด ปลอดสารพิษรับประทาน โรงเรียนมีผักสวนครัวที่ปลอดสารพิษให้โคงการอาหารกลางวัน

     

    275 246

    3. ศึกษาดูงานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 5 สิงหาคม 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดทำโครงการศึกษาดูงานโรงเรียนบ้านกาดฮาว อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ และกำหนดการศึกษาดูงาน
    2. จัดทำหนังสือสัญญายืมเงินโครงการ
    3. จัดทำหนังสือเชิญคณะกรรมการ ตัวแทนผู้ปกครอง ตัวแทนชุมชน และหนังสือขออนุญาติผู้ปกครอง
    4. เดินทางไปศึกษาดูงานและประเมินความพึงพอใจของผู้ร่วมกิจกรรม เรื่อง .................ดูอะไรบ้าง................... 5.จัดทำเอกสารหลักฐานต่าง ๆ พร้อมสรุปโครงการ ุ6. ประเมินผลโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สิ่งที่ได้จากการไปศึกษาดูงานคือผู้ร่วมศึกษาดูงาน จำนวน  60  คน ได้ความรู้และแนวทางในการจัดกิจกรรมของศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ทั้งด้านการจัดฐานกิจกรรมต่าง ๆ การนำเสนอของนักเรียน การจัดอาหารกลางวันของนักเรียน และแนวทางในการจัดทำเอกสารการเงินต่าง ๆ สิ่งที่โรงเรียนนำมาใช้หลังจากการไปศึกษาดูงาน คือ การจัดทำป้ายกิจกรรมต่าง ๆ โครงการ ปรับปรุงการจัดทำเมนูอาหารกลางวันให้เหมาะสม เพิ่มเมนูอาหารพื่นเมืองสัปดาห์ละ 1 วัน ฝึกการนำเสนอของนักเรียน

     

    60 54

    4. ปลูกผักไร้ดิน (hydroponics)

    วันที่ 11 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. วันที่ 11  สิงหาคม 2559 เตรียมอุปกรณ์ ดำเนินการติดตั้งชุดปลูกผัก Hydroponics
    2. วันที่ 12  สิงหาคมปลูกผัก และจัดทำปุ๋ย และเพาะเมล็ดพันธุ์เพิ่ม
    3. เก็บผักและนำส่งสหกรณ์ร้านค้าของโรงเรียนและจำหน่าย
    4. ปลูกผักชุดใหม่
    5. ประเมินผลโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ครูที่รับผิดชอบและนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เรื่องวิธีการปลูกผัก Hydroponics
    2. มีผัก ปลอดสารพิษสำหรับรับประทานและจำหน่ายจำหน่าย

     

    37 37

    5. ถอนเงินค่าเปิดบัญชี

    วันที่ 20 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอนเงินค่าเปิดบัญชี จำนวน  500  บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    2 2

    6. ปรับปรุงซ่อมแซมโต๊ะอาหารของนักเรียน

    วันที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ติดต่อจ้างเหมาผู้ปกครองนักเรียนซ่อมแซมโต๊ะ
    2. ดำเนินการซ่อมแซมโต๊ะอาหารในโรงอาหารทั้งอาคารประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
    3. ตรวจผลงาน
    4. ประเมินผลงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนทั้งระดับอนุบาล ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา มีโต๊ะสำหรับรับประทานอาหาร ที่สะอาด สวยงาม และ ปลอดภัย  และสามารถนำโต๊ะที่ซ่อมไปใช้ในกิจกรรมอื่น ๆ ได้ 

     

    146 151

    7. ปรับปรุงแก้ไขระบบน้ำดื่มสะอาดของโรงเรียน

    วันที่ 6 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. รับบริจาคตู้เครื่องกรองน้ำดื่มสะอาด จากกองทุนหมู่บ้าน 2.ดำเนินการจ้างเหมาผู้ปกครอง ปรับระบบและปรับปรุงระบบน้ำดื่ม
    2. ประเมินผลงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียน คณะครู และบุคลากรในโรงเรียน มีนัำดื่มที่สะอาด ปลอดภัย สำหรับใช้ดื่ม และทำกิจกรรมต่าง ๆ
    2. โรงเรียนประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ต้องซื่อน้ำดื่มให้กับนักเรียนและบุคลากร
    3. นักเรียนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการน้ำดื่ม

     

    146 146

    8. อบรมบริหารกายบริหารจิต

    วันที่ 6 มกราคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดทำรายละเอียดกิจกรรม และแต่งตั้งครูผู้รับผิดชอบ 2. ดำเนินการจัดการอบรมตามแผนงาน 3. ประเมินผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนและผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้เกี่ยวกับการการบริหารกาย บริหารจิต สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
    2. นักเรียนที่เข้ารับการอบรม มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น

     

    102 102

    9. พืชผักสวนครัวรั้วกินได้ ระยะที่ 2

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดซื้อพันธุ์ผักตามฤดูกาลได้แก่ มะเขือ มะเขือเทศ พริก และคะน้า มาจัดแบ่งให้นักเรียนปลูกในโรงเรียนและที่บ้าน
    2. ครูที่รับผิดชอบติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
    3. นำผลผลิตในโรงเรียนส่งให้โครงการอาหารกลางวัน ผ่านสหกรณ์ร้านค้าของโรงเรียน
    4. ประเมินผลการจัดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนที่ร่วมกิจกรรมจำนวน 90  คน  มีความรู้เกี่ยวกับการปลูกและดูแลผัก มีผลผลิตที่สะอาดปลอดสารพิษรับประทานที่บ้านและที่โรงเรียน

     

    133 100

    10. อบรมเชิงปฏิบัติการรักษ์สุขภาพรักษ์สิ่งแวดล้อม

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุม วางแผนดำเนินงาน แต่งตั้งครูผู้รับผิดชอบ จัดทำหนังสือเชิญผู้ร่วมงาน ได้แก่ วิทยากร ผู้ปกครอง นักเรียนในกลุ่มเครือข่ายและ ชุมชน
    2.ดำเนินการตามแผนโดยการจัดฐานการเรียนรู้จำนวน 5 ฐานให้นักเรียนทุกคนเข้าเรียนรู้ ได้แก่ฐานกาดมั่วครัวงาย ฐานอาหารเครื่อมดื่มเพื่อสุขภาพ ฐานชีวิตปลอดภัยห่างไกลยาเสพติด ฐานขยับกายสบายชีวีและฐานโภชนาการอาหารปลอดภัย 3.ประเมินผล 4.รายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนโรงเรียนทองทิพย์วิทยา จำนวน 127 คนและนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายตำบลน้ำโจ้ จำนวน 47 คน ได้ร่วมกิจกรรมและได้รับความรู้จากฐานต่าง ๆ
    2. ผู้ปกครอง ชุมชน และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสของโรงเรียน และร่วมอุดหนุนผลิตผลจากการดำเนินงาน ได้แก่ ไข่ไก่ เห็ดนางฟ้า ปลาดุก กบ ผักปลอดสารพิษ และผักไฮโดรโปนิกส์

     

    277 249

    11. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 22 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดทำรายงานขออนุมัติเบิกดอกเบี่ี้ยเงินฝาก
    2. ดำเนินการเบิกถอนเงินจากบัญชี
    3. นำเงินสดค่าดอกเบี้ยส่งคืนหน่วยงานที่รับผิดชอบ(สสส.)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส และแนวทางแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน
    ตัวชี้วัด : บุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง จำนวน60คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโปรแกรมThai school lunch และ แนวทางในการดำเนินงานตามกิจกรรมโครงการเด็กไทยแก้มใสและรู้แนวทางการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน

    โรงเรียนสามารถสร้างเครือข่ายความรู้เกี่ยวกับโปรแกรม Thai school lunch ได้ร้อยละ 30 และสร้างเครือข่ายความรู้เกี่ยวกับการดำเนินการตามกิจกรรมโครงการได้ ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย

    2 เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน และส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพกาย ใจ แข็งแรง
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีปัญหาทุพโภชนาการ ลดลงอย่างน้อย 10 %

    นักเรียนโรงเรียนทองทิพย์วิทยามีปัญหาด้านทุพโภชนาการ ลดลง 17 %

    3 เพื่อปรังปรุงพัฒนาระบบสุขาภิบาล / สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ให้เหมาะสม
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีระบบสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมถูกสุขลักษณะ มีน้ำดื่มสะอาดและมีภูมิทัศน์ที่เหมาะสม

    1.โรงเรียนมีการจัดน้ำดิ่มสะอาดให้กับนักเรียนทุกระดับชั้น

    2.โรงเรียนมีการปลูกต้นไม้ ดอกไม้บริเวณอาคารเรียน

    4 เพื่อสร้างและขยายเครือข่ายโครงการเด็กไทยแก้มใส และเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชน และโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย
    ตัวชี้วัด : นักเรียนและผู้ปกครอง จำนวน 250 คน มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการจัดการสุขภาวะและโภชนาการ

    โรงเรียนสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ด้านสุขภาวะและโภชนาการได้ 80% ของกลุ่มเป้าหมาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส และแนวทางแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน (2) เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน และส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพกาย ใจ แข็งแรง (3) เพื่อปรังปรุงพัฒนาระบบสุขาภิบาล / สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ให้เหมาะสม (4) เพื่อสร้างและขยายเครือข่ายโครงการเด็กไทยแก้มใส และเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชน และโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนทองทิพย์วิทยา

    รหัสโครงการ ศรร.1112-017 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.17 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนทองทิพย์วิทยา จังหวัด ลำปาง

    รหัสโครงการ ศรร.1112-017

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวรพันธ์ กัญญเทพ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด