โรงเรียนบ้านคลองแงะ (ชาติบุณยวิทยาคาร) - โครงการพัฒนาระบบการจัดการด้านอาหารและโภชนาการในสถานศึกษาเข้าสู่มาตรฐาน
ชื่อโครงการ | โรงเรียนบ้านคลองแงะ (ชาติบุณยวิทยาคาร) - โครงการพัฒนาระบบการจัดการด้านอาหารและโภชนาการในสถานศึกษาเข้าสู่มาตรฐาน |
ภายใต้โครงการ | โครงการพัฒนากลไกชุมชนและท้องถิ่นขับเคลื่อนระบบอาหารและโภชนาการเพื่อคุณภาพเด็กวัยเรียน ปีการศึกษา 2567 |
ภายใต้องค์กร | โรงเรียนบ้านคลองแงะ (ชาติบุณยวิทยาคาร) |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | 20 สิงหาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กรกฎาคม 2567 - 15 ธันวาคม 2567 |
งบประมาณ | 15,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านคลองแงะ (ชาติบุณยวิทยาคาร) |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวสาวิตรี แก้วจินดา |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | หมู่ที่ 5 ตำบลพังลา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านคลองแงะ (ชาติบุณยวิทยาคาร) |
สังกัด | สพป. |
หน่วยงานต้นสังกัด | สพป.สงขลา เขต ๓ |
ที่อยู่โรงเรียน | หมู่ที่ 5 ตำบลพังลา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90170 |
จำนวนนักเรียน | 501 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม |
ผู้อำนวยการ | นางสาวสาวิตรี แก้วจินดา |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางสาวฮุชัยนา จาปัง |
1.สำรวจพฤติกรรมการบริโภคและการดูแลสุขอนามัยนักเรียน 2.สรุปผลการประเมิน
นักเรียนมีความรู้พฤติกรรมด้านการบริโภคและการดูแลสุขอนามัยและสามารถระมัดระวังการบริโภคของตนเองและผู้อื่นได้
1.อบรมให้ความรู้ด้านอาหารเพื่อสุขภาวะในโรงเรียนแก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง 2.อบรมให้ความรู้ด้านอาหารเพื่อสุขภาวะในโรงเรียนแก่นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ 3. อบรมให้ความรู้ด้านอาหารเพื่อสุขภาวะในโรงเรียนแก่นักเรียนที่แกนนำ
นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการลดลงจากการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
1.สำรวจบริเวณโรงอาหารที่ต้องการปรับปรุง 2.จัดซื้อฝาชีครอบอาหารเพื่อป้องกันสัตว์และแมลง
นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย
1.ติดป้ายให้ความรู้ภายในบริเวณโรงอาหารเพื่อสร้างความตระหนักให้นักเรียนรักสุขภาพโดยการกินอาหารที่มีประโยชน์ 2.ครูจัดเมนูอาหารเช้า ที่มีคุณค่าสารอาหารเพียงพอและเหมาะสม 3.จัดบริการอาหารเช้าให้กับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ 4.สรุปและประเมินผลนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชาการ
นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการลดลงจาก 31 คนเหลือ 23 คน
1.สำรวจนักเรียนทีมีภาวะทุพโภชนาการ 2.จัดบริการอาหารเช้าให้กับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ 3.สรุปและประเมินผลนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชาการ
นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการมีจำนวนลดลง จาก 31 คนเหลือ 23 คน
1.ครูสำรวจเมนูอาหารที่มีประโยชน์และนักเรียนชอบรับประทาน 2.รวบรวมข้อมูลเมนูจากแบบสำรวจ 3.นำข้อมูที่ได้มาจัดอาหารในระบบ TSL 4. ประเมินรายการจัดสำรับเมนูรายสัปดาห์
นักเรียนมีสุขภาพที่ดีและมีการประเมินแผนการจัดสำรับอาหารประจำสัปดาห์
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ส.ค. 2567 12:09 น.