แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์)
“ โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์) ”
ตำบลคลองขนาก อำเภอวิเศษไชยชาญ จังหวัดอ่างทอง
หัวหน้าโครงการ
นายณรงค์ศักดิ์ ฉัตรเจริญพร
ชื่อโครงการ โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์)
ที่อยู่ ตำบลคลองขนาก อำเภอวิเศษไชยชาญ จังหวัดอ่างทอง จังหวัด อ่างทอง
รหัสโครงการ ศรร. 1212-120 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.19
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์) จังหวัดอ่างทอง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขนาก อำเภอวิเศษไชยชาญ จังหวัดอ่างทอง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์)
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขนาก อำเภอวิเศษไชยชาญ จังหวัดอ่างทอง รหัสโครงการ ศรร. 1212-120 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 261 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระ
ราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม
สุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมน าแนวทางการด าเนินงานที่ประสบ
ความส าเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชด าริ สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อม
น ากรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชด าริใน ๘ องค์ประกอบคือ ๑)
การเกษตรในโรงเรียน ๒) สหกรณ์นักเรียน ๓) การจัดการบริหารของโรงเรียน ๔) การติดตามภาวะโภชนาการ ๕) การพัฒนา
สุขนิสัยของนักเรียน ๖) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ ๗) การจัดบริการสุขภาพ และ ๘) การ
จัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะส าคัญใน ๔
ประการตามแนวพระราชด าริ คือ มีพุทธิศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ พละศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไป
พร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จ าเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็ก
เป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิด
การเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถน าไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วม
โครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรม
ประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ ๑ (พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๕๘) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการ
ทั้งสิ้น ๕๔๔ โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ ๖-๑๒ ปี
จ านวน ๑,๔๙๒,๐๘๙ คน ใน ๗๖ จังหวัด ของกรมอนามัย ปี ๒๕๕๕ พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ ๑๒.๕ เตี้ยร้อยละ
๑๖.๘ และระบุว่านักเรียนอายุ ๖-๑๒ ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ ๕๑.๖ ซึ่งสอดคล้องกับการ
ส ารวจข้อมูลพื้นฐานของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี ๒๕๔๔ พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้
มาตรฐาน จ านวน ๑.๒ล้านคน จ าแนกเป็นน้ าหนักต่ ากว่าเกณฑ์ จ านวน ๒๒๓,๒๘๘ คน น้ าหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
จ านวน ๕๙๐,๐๘๗ คน และส่วนสูงต่ ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน ๒๕๘,๑๔๙ คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและ
คุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุส าคัญคือ๑) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผัก
น้อยกว่าปริมาณที่แนะน า คือเฉลี่ยวันละ ๖๐ กรัม (ปริมาณที่แนะน าวันละ ๔๐๐ กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรส
หวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ ๖๗.๔ นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ าตาลจาก
เครื่องดื่มเฉลี่ย ๕-๗ ช้อนชา/วัน และน้ าตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย ๓ ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ าตาลของ
เด็กมากถึง ๑๐ ช้อนชา และ๒) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้
เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนวัดนางช า(ประชารัฐรังสฤษฏ์) จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านัก
โภชนาการ ปีที่ ๑ เพื่อน้อมน าแนวทางการด าเนินงานที่ประสบความส าเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการใน
โรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชด าริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการ
พัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จ าเป็นและ
คุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัยมีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้นรวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- เพื่อค้นหารูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการและสุภาพที่ดีของเด็กนักเรียนและนำองค์ความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อให้ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียนจัดสิ่งแวดล้อมอาหารที่ดีต่อสุขภาพสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน
- เพื่อสร้างความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียน.มีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัยมีอารมณ์ดีและสติปัญญาดีขึ้นมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข็มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน
- เป็นแหล่งเรียนรู้แก่นักเรียน ชุมชน และสถานศึกษาอื่น ได้ศึกษา
- ชุมชน พ่อแม่ผู้ปกครองมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ซื้อแม่ไก่และอาหาร
วันที่ 4 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- แจ้งนักเรียนผู้เข้าร่วมโครงการ
- จัดอบรมให้ความรู้สร้างความตระหนัก
- วางแผนการดำเนินงาน
- ปฏิบัติตามแผน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนเกิดความตระหนัก
- นักเรียนได้รับความรู้ในการเลี้ยงไก่ไข่
- นักเรียนสามารถเลี้ยงไก่เองได้
38
38
2. ประชุมอบรมศึกษาดูงาน โรงเรียนวัดศรีนวล จ.กรุงเทพฯ
วันที่ 5 สิงหาคม 2559 เวลา 09.00-16.00 น.กิจกรรมที่ทำ
- นัดหมายผู้เข้าร่วมอบรมที่โรงเรียนวัดนางชำ เวลา 05.00น.
- เดินทางถึงแหล่งเรียนรู้โรงเรียนวัดศรีนวล กรุงเทพฯเวลา 08.30 น.
- เข้ารับฟังบรรยายการการดำเนินงานของโรงเรียนวัดศรีนวลและ วิทยากร อ.สง่า ดามาพงษ์ 09.00-12.00
- ดูงานแปลงสาธิต ด้านเกษตรสหกรณ์ และการบริหารจัดการ13.00-16.00
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- การใส่ใจในการดูแลสุขภาพตามหลักโภชนาการ
- มีพฤติกรรมการกินเพื่อสุขภาพ
- ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลนักเรียนที่บ้าน
- ครูมีส่วนร่วมในการสร้างความตระหนักเรื่องสุขภาพ
60
56
3. ซื้อมูลสัตว์และฟางข้าว
วันที่ 30 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชื้อปุ๋ยมูลสัตว์
- เชิญวิทยากรให้ความรู้(ข้อดีข้อเสียของการปลูกผักกินเองและ การใช้ปุยชีวภาพและปุ๋ยเคมี)
- สาธิตการผสมพดปุ๋ยหมักจากเศษอาหาร หากมีเฉพาะเศษอาหารที่เป็นพืชมักจะไม่มีปัญหา เพราะเวลาเน่าจะมีกลิ่นเหม็นไม่รุนแรง เราสามารถนำไปคลุกกับปุ๋ยคอกในรางทำปุ๋ยหมักได้เลย แต่หากมีเนื้อสัตว์จะมีกลิ่นเหม็นรุนแรง
สำหรับบางครัวเรือนที่มีข้อจำกัดปริมาณเศษอาหารที่เกิดน้อย หากต้องการทำปุ๋ยหมักจำเป็นต้องทำรางหมักหรือหลุมหมัก แต่หากจะหมักในถังจะมีข้อจำกัดที่เต็มเร็ว
การทำรางหมัก ควรหาพื้นที่ว่างบริเวณหลังบ้าน ขนาดพื้นที่ประมาณ 1 เมตร x 1 เมตร ลึกประมาณ 20-40 เซนติเมตร หรืออาจน้อยกว่า หรืออาจมากกว่าตามความต้องการ แต่ควรให้รองรับเศษอาหารให้ได้ประมาณ 1 เดือน และควรทำ 2 ชุด พร้อมฉาบด้านข้างด้วยปูนซีเมนต์ แต่หากไม่มีปัญหาเรื่องน้ำฝนหรือน้ำไหลเข้า ก็อาจขุดเป็นบ่อดินก็เพียงพอ ทั้งนี้ ควรทำร่องด้านข้าง เพื่อป้องกันน้ำไหลเข้า และควรเตรียมผ้าใบคลุมเมื่อฝนตก
วัสดุ และส่วนผสม
– ปุ๋ยคอก 1 ใน 4 ส่วนของรางหมัก
– แกลบดำ 2 ถัง หรือไม่ใส่ก็ได้
– น้ำผสมหัวเชื้อเชื้อ EM 1 ลิตร
– กากน้ำตาล 1 ลิตร
วิธีทำ
– หลังจากที่เตรียมรางหมักแล้ว ให้เทปุ๋ยคอก และแกลบดำรองในรางไว้
– เมื่อมีเศษอาหาร ให้นำมาใส่ในราง พร้อมใช้จอบคลุกผสมกับปุ๋ยคอก
– รดด้วยน้ำหัวเชื้อชีวภาพ และกากน้ำตาลบริเวณที่ใส่เศษอาหารเล็กน้อย
– หากมีเศษอาหารเกิดขึ้นอีก ก็นำมาคลุก และใส่น้ำหัวเชื้อ ตามด้วยกากน้ำตาลเรื่อยๆจนเต็มบ่อ
– หากเต็มบ่อแล้ว ให้นำผ้าคลุกมาปิดไว้ และทิ้งไว้ประมาณ 1 เดือน ก่อนตักออกนำไปใช้ประโยชน์
– ระหว่างที่หมักทิ้ง ให้นำเศษอาหารที่เกิดในแต่ละวันมาหมักในอีกบ่อ ซึ่งจะเวียนกันพอดีในรอบเดือน
– ทั้งนี้ บางครัวเรือนอาจไม่สะดวกในการหาซื้อหัวเชื้อหรือกากน้ำตาล ดังนั้น จึงไม่ต้องใช้ก็ได้ แต่จำเป็นต้องมีปุ๋ยคอก หรือใช้ปุ๋ยอื่น เช่น ปุ๋ยมูลไก่ ซึ่งส่วนนีี้จำเป็นต้องใช้
4. เมื่อนักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวการทำปุ๋ยแล้วได้ฝึกปฏิบัติ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการใช้ปุ๋ยหมัก
- มีพืชผักบริโภคพอเพียงและปลอดสารพิษ
93
95
4. ประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษาเรื่องโครงการเด็กไทยแก้มใส
วันที่ 10 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- นัดหมายคณะครูในโรงเรียนคณะกรรมการสถานศึกษา
- สรุปประเด็น ที่ได้จาการศึกษาดูงานกิจกรรมใดบ้างที่ทำได้และทำไม่ได้
- ออกแบบวางแผนการทำงานตลอดทั้งปี
- มอบหมายภาระกิจกำหนดครูผู้รับผิดชอบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้แผนในการดำเนินงานของโรงเรียนเรื่องโครงการเด็กไทยแก้มใส
- บุคคลากรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมตามโครงการ
15
12
5. ประชุมอบรมนักเรียนกิจกรรมสหกรณ์
วันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- แจ้งกำหนดการอบรมกับนักเรียนชั้น ป.๔-๖
- เชิญวิทยากรจังหวัดอ่างทอง นางสาวนิชาภาเนื้อเย็น
- สร้างความรู้ความเข้าใจหลักการสหกรณ์
หลักการสหกรณ์
คือ "แนวทางที่สหกรณ์ยึดถือปฏิบัติเพื่อให้คุณค่าทางสหกรณ์เกิดผลเป็นรูปธรรม" ซึ่งประกอบด้วยการที่สำคัญรวม 7 ประการ กล่าวคือ
หลักการที่ 1 การเป็นสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง
1. พึงตระหนักว่าการเข้าและออกจากการเป็นสมาชิก จะต้องเป็นไปโดยความสมัครใจของบุคคล (คำว่า "บุคคล" หมายถึง ทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล) ไม่ใช้ถูกชักจูง โน้มน้าว ล่อลวง บังคับ ข่มขู่จากผู้อื่น
2. อย่างไรก็ดี การกำหนดคุณสมบัติสมาชิกของสหกรณ์ต่างๆ เพื่อให้ได้บุคคลที่เข้ามาเป็นสมาชิกแล้วสามารถร่วมกันดำเนินกิจกรรมในสหกรณ์ได้ และไม่สร้างปัญหาความเดือดร้อนให้แก่เพื่อนสมาชิกและสหกรณ์ ไม่ถือว่าขัดกับหลักการสหกรณ์ข้อนี้
3. สมาชิกสมทบนั้น ควรมีแต่เฉพาะกรณีของสหกรณ์บางประเภทที่มีลักษณะพิเศษและจำเป็นเท่านั้น ไม่ควรให้มีในสหกรณ์ทั่วไปหรือทุกประเภท เพราะตามปกติสมาชิกสมทบมาจากบุคคลซึ่งขาดคุณสมบัติที่จะเป็นสมาชิกธรรมดา หากสหกรณ์ใดรับสมาชิกสมทบจำนวนมาก ก็อาจกระทบต่อการส่งเสริมผลประโยชน์ของสมาชิกธรรมดาได้แม้ว่ากฎหมายจะได้ห้ามมิให้สมาชิกสมทบมีสิทธิบางประการก็ตาม
หลักการที่ 2 การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย
- พึงตระหนักว่าเป็นหน้าที่ของสมาชิกทุกคนที่จะต้องร่วมแรงกายใจ และสติปัญญาในการดำเนินการและควบคุมดูแลการดำเนินงานของสหกรณ์ของสหกรณ์ตามวิถีทางประชาธิปไตย เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยผ่านช่องทางหรือองค์กรต่างๆ เช่น คณะกรรมการดำเนินการ ผู้ตรวจสอบกิจการและที่ประชุมใหญ่
หลักการที่ 3 การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของสมาชิก
- หลักการสหกรณ์ข้อนี้ มุ่งเน้นให้สมาชิกทุกคนพึงตระหนักว่าบทบาทที่สำคัญของตนคือ การที่ต้องเป็นทั้งเจ้าของและลูกค้าในคนเดียวกัน (Co-owners and Customers) จึงต้องทำหน้าที่เป็นผู้สมทบทุน ผู้ควบคุม และผู้อุดหนุน หรือผู้ใช้บริการของสหกรณ์ มิใช่มาเป็นสมาชิกเพียงเพื่อมุ่งหวังได้รับประโยชน์จากสหกรณ์เท่านั้น
- ในการจัดสรรกำไรสุทธิเพื่อความเป็นธรรมแก่สมาชิก ส่วนหนึ่งต้องกันไว้เป็นทุนสำรอง ซึ่งจะนำไปแบ่งกันมิได้ แต่เป็นทุนเพื่อพัฒนาสหกรณ์ของพวกเขาเอง ถือว่าเป็นทุนทางสังคม นอกนั้นอาจแบ่งเป็นเงินปันผลในอัตราจำกัด และเป็นเงินเฉลี่ยคืน ตามส่วนแห่งธุรกิจ
หลักการที่ 4 การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ
- สมาชิก กรรมการและพนักงานสหกรณ์รวมทั้งหน่วยงานส่งเสริมสหกรณ์ต้องสำนึกและตระหนักอยู่เสมอว่าสหกรณ์เป็นองค์การช่วยตนเอง และปกครองตนเอง เพราะฉะนั้นสหกรณ์ต้องเป็นอิสระในการตัดสินใจ หรือทำสัญญาใด๐ ตามเงื่อนไขที่สหกรณ์ยอมรับได้กับบุคคลภายนอกหรือรัฐบาล
- การรับความช่วยเหลือหรือสนับสนุนจากรัฐ หรือบุคคลภายนอกไม่ขัดกับหลักความเป็นอิสระของสหกรณ์ หากผู้ให้ความช่วยเหลือมุ่งหมายให้สหกรณ์ช่วยเหลือตนเองได้ และควบคุมตามหลักประชาธิปไตย รวมทั้งธำรงไว้ซึ่งความเป็นตัวของตัวเองของสหกรณ์
- ระดมความคิดฝึกปฏิบัติทำความเข้าใจ
- สรุปกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจหลักการของสหกรณ์การจัดตั้งสหกรณ์ และวิธีของสหกรณ์ประเภทของสหกรณ์การทำบัญชี
- คัดเลือกนักเรียนผู้รับผิดชอบสหกรณ์นักเรียน
- บูรณาการแผนการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้
- ประชุมผู้ปกครอง และให้ผู้ปกครองชื้อของในสหกรณ์นักเรียน
70
73
6. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานโครงการเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ตอบรับโครงการเข้าอบรม
- จัดเตรียมเอกสารและคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการอบรม
- แก้ไขเนื้อหาในระบบออนไลน์ การจัดซื้อจัดจ้างให้ถูกต้อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กรอกข้อมูลในระบบออนไลน์ได้ครบถ้วนถูกต้อง
- บุคคลากรที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจในโครงการมากขึ้น
2
2
7. เพาะเห็ดครั้งที่1
วันที่ 7 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.มอบหมายนักเรียนผู้รับผิดชอบ
2.เตรียมโรงเรือน
3.จัดซื้อก้อนเห็ด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ผลิตเห็ดให้กับโรงอาหารได้ 3 กิโลกรัม ต่อวัน
2.มีเห็ดใช้ในการประกอบอาหารได้พอเพียง
31
33
8. ซ่อมแซมระบบจ่ายน้ำการเกษตร
วันที่ 16 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีระบบจ่ายน้ำทีพอเหมาะ
2.ช่วยประหยัดเวลาในการให้น้ำพืขผัก
3.อำนวยความสะดวกให้นักเรียนดูแลแปลงเกษตร
82
82
9. ซื้อวัสดุปลูกผัก(เมล็ดพันธุ์ผัก)
วันที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.สำรวจความต้องการในการใช้อุปกรณ์
2.จัดซื้อ
3.มอบหมายนักเรียนดูแล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีวัสดุสำหรับฝึกการใช้อย่างพอเพียง
2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการฝึกหัด
3.งานสำเร็จตามเป้าหมาย
92
93
10. เลี้ยงไก่ไข่ (อาหารไก่)
วันที่ 4 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีอาหารไก่อย่างพอเพียง
2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการให้อาหารไก่
6
6
11. เพาะเห็ดครั้งที่ 2
วันที่ 4 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
0
0
12. ปลูกผักปลอดสาร (รำข้าว)
วันที่ 6 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีรำข้าวสาธิตในการทำปุ๋ยหมักชีวะภาพ
2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการทำปุ๋ยหมัก
7
27
13. ปลูกผักปลอดสาร (มูลสัตว์และฟางข้าว) ครั้งที่ 2
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนมีวัสดุฝึก
2.มีวัสดุเพียงพอสำหรับการทำเกษตร
7
27
14. ศึกษาดูงานการเลี้ยงไก่แบบธรรมชาติ
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 12:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนได้รับประสบการ์ตรงจากวิทยากร
2.นักเรียนเกิดความตระหนักและสามารถนำมาใช้ที่โรงเรียนได้
27
27
15. เพาะเห็ดครั้งที่ 3
วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
55
0
16. จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สหกรณ์นักเรียน
วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีความพร้อมในกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
2.นักเรียนมีวัสดุใช้ในโครงการได้อย่างพอเพียง
11
0
17. ค่าอาหารศึกษาดูงานโรงเรียนบ้านมาบตาพุด
วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.
2.
3.
11
38
18. ศึกษาดูงานโรงเรียนบ้านมาบตาพุต จ.ระยอง
วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.กำหนดแผนไปศึกษาดูงาน
2.ขออนุญาติเขตพื้นที่ สพป.อ่างทอง
3.เดินทางศึกษาดูงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.การเรียนรู้เกษตรในโรงเรียน การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน
2.การจัดการบริหารกลางวันของโรงเรียน
3.การฝึกอาชีพให้นักเรียนหารายได้ระหว่างเรียน กรองน้ำบรรจุขวดขาย
4.การติดตามภาวะโภชนาการและพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน
5.การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนและจัดการบริหารสุขภาพ
6.การจัดระบบสหกรณ์นักเรียนและออมทรัพย์ของนักเรียน
7.การกำจัดขยะตามหลัก ห้า ส
11
10
19. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย
วันที่ 7 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
1
1
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัยมีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้นรวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด : 1. มีรายการอาหารหมุนเวียน 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ(ใช้ Thai School Lunch Program)
2. ประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ
3. นักเรียนได้รับประทานอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของมาตรฐานในโภชนาการทุกมื้อ
4. มีรายงานเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของนักเรียนทุกคนเทอมละ 2 ครั้ง
5. มีการบันทึกสุขภาพนักเรียนรายบุคคลและประเมินพฤติกรรมสุขบัญติแห่งชาติ
6. มีการฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลาง ล้างมือในช่วงเวลาการรัปประทานอาหาร
7. โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน
2
เพื่อค้นหารูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการและสุภาพที่ดีของเด็กนักเรียนและนำองค์ความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1. มีการนำผลผลิตทางการเกษตร ปศุสัตว์หรึประมงไปใช้ในกิจกรรมอาหารกลางวัน
2. มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิกและดำเนินการโดยนักเรียนและรับซื้อผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพื่อขายให้กิจกรรมอาหารกลางวันผ่านกิจกรรมสหกรณ์
3. มีแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการและกิจกรรมที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส
4. มีกิจกรรมการเรียนรู้ด้านการเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพที่บูรณาการจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
5. มีสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ด้านการเกษตร สหกรณ์อาหารโภชนาการและสุขภาพอนามัย
3
เพื่อให้ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียนจัดสิ่งแวดล้อมอาหารที่ดีต่อสุขภาพสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด : 1. ร้านค้าในชุมชนจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มที่มีผลดีต่อสุขภาพ
2. นักเรียนได้ตรวจสุขภาพทุกคนเทอมละ 1 ครั้งและให้การช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม
3. มีระบบการช่วยเหลือการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสมเพื่อป้องกันอันตรายร้ายแรงจนถึงเสียชีวิต
4
เพื่อสร้างความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. มีผลผลิตทางการเกษตรและเลี้ยงสัตว์หรึอประมงโดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน ชุมชนและเครือข่ายในพื้นที่
2. นักเรียนเติบโตสมวัยโดยมี
ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน 7 %
ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ไม่เกิน 7 %
ภาวะเตี้ยค่อนข้างเตี้ย ไม่เกิน 7 %
นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวันเฉลี่ย
ผักวันละประมาณ 40-100 กรัมอนุบาล 3 ช้อน (50 กรัม) ประถม 4 ช้อน(70 กรัม)
ผลไม้อนุบาล 1/2 ส่วนประถม 1 ส่วนต่อมื้อต่อคน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์) จังหวัด อ่างทอง
รหัสโครงการ ศรร. 1212-120
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายณรงค์ศักดิ์ ฉัตรเจริญพร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์)
“ โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์) ”
ตำบลคลองขนาก อำเภอวิเศษไชยชาญ จังหวัดอ่างทองหัวหน้าโครงการ
นายณรงค์ศักดิ์ ฉัตรเจริญพร
ชื่อโครงการ โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์)
ที่อยู่ ตำบลคลองขนาก อำเภอวิเศษไชยชาญ จังหวัดอ่างทอง จังหวัด อ่างทอง
รหัสโครงการ ศรร. 1212-120 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.19
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์) จังหวัดอ่างทอง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขนาก อำเภอวิเศษไชยชาญ จังหวัดอ่างทอง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์)
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขนาก อำเภอวิเศษไชยชาญ จังหวัดอ่างทอง รหัสโครงการ ศรร. 1212-120 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 261 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระ
ราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม
สุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมน าแนวทางการด าเนินงานที่ประสบ
ความส าเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชด าริ สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อม
น ากรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชด าริใน ๘ องค์ประกอบคือ ๑)
การเกษตรในโรงเรียน ๒) สหกรณ์นักเรียน ๓) การจัดการบริหารของโรงเรียน ๔) การติดตามภาวะโภชนาการ ๕) การพัฒนา
สุขนิสัยของนักเรียน ๖) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ ๗) การจัดบริการสุขภาพ และ ๘) การ
จัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะส าคัญใน ๔
ประการตามแนวพระราชด าริ คือ มีพุทธิศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ พละศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไป
พร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จ าเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็ก
เป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิด
การเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถน าไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วม
โครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรม
ประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ ๑ (พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๕๘) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการ
ทั้งสิ้น ๕๔๔ โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ ๖-๑๒ ปี
จ านวน ๑,๔๙๒,๐๘๙ คน ใน ๗๖ จังหวัด ของกรมอนามัย ปี ๒๕๕๕ พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ ๑๒.๕ เตี้ยร้อยละ
๑๖.๘ และระบุว่านักเรียนอายุ ๖-๑๒ ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ ๕๑.๖ ซึ่งสอดคล้องกับการ
ส ารวจข้อมูลพื้นฐานของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี ๒๕๔๔ พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้
มาตรฐาน จ านวน ๑.๒ล้านคน จ าแนกเป็นน้ าหนักต่ ากว่าเกณฑ์ จ านวน ๒๒๓,๒๘๘ คน น้ าหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
จ านวน ๕๙๐,๐๘๗ คน และส่วนสูงต่ ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน ๒๕๘,๑๔๙ คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและ
คุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุส าคัญคือ๑) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผัก
น้อยกว่าปริมาณที่แนะน า คือเฉลี่ยวันละ ๖๐ กรัม (ปริมาณที่แนะน าวันละ ๔๐๐ กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรส
หวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ ๖๗.๔ นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ าตาลจาก
เครื่องดื่มเฉลี่ย ๕-๗ ช้อนชา/วัน และน้ าตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย ๓ ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ าตาลของ
เด็กมากถึง ๑๐ ช้อนชา และ๒) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้
เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนวัดนางช า(ประชารัฐรังสฤษฏ์) จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านัก
โภชนาการ ปีที่ ๑ เพื่อน้อมน าแนวทางการด าเนินงานที่ประสบความส าเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการใน
โรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชด าริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการ
พัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จ าเป็นและ
คุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัยมีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้นรวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- เพื่อค้นหารูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการและสุภาพที่ดีของเด็กนักเรียนและนำองค์ความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อให้ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียนจัดสิ่งแวดล้อมอาหารที่ดีต่อสุขภาพสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน
- เพื่อสร้างความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียน.มีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัยมีอารมณ์ดีและสติปัญญาดีขึ้นมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข็มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน
- เป็นแหล่งเรียนรู้แก่นักเรียน ชุมชน และสถานศึกษาอื่น ได้ศึกษา
- ชุมชน พ่อแม่ผู้ปกครองมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ซื้อแม่ไก่และอาหาร |
||
วันที่ 4 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
38 | 38 |
2. ประชุมอบรมศึกษาดูงาน โรงเรียนวัดศรีนวล จ.กรุงเทพฯ |
||
วันที่ 5 สิงหาคม 2559 เวลา 09.00-16.00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
60 | 56 |
3. ซื้อมูลสัตว์และฟางข้าว |
||
วันที่ 30 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
สำหรับบางครัวเรือนที่มีข้อจำกัดปริมาณเศษอาหารที่เกิดน้อย หากต้องการทำปุ๋ยหมักจำเป็นต้องทำรางหมักหรือหลุมหมัก แต่หากจะหมักในถังจะมีข้อจำกัดที่เต็มเร็ว การทำรางหมัก ควรหาพื้นที่ว่างบริเวณหลังบ้าน ขนาดพื้นที่ประมาณ 1 เมตร x 1 เมตร ลึกประมาณ 20-40 เซนติเมตร หรืออาจน้อยกว่า หรืออาจมากกว่าตามความต้องการ แต่ควรให้รองรับเศษอาหารให้ได้ประมาณ 1 เดือน และควรทำ 2 ชุด พร้อมฉาบด้านข้างด้วยปูนซีเมนต์ แต่หากไม่มีปัญหาเรื่องน้ำฝนหรือน้ำไหลเข้า ก็อาจขุดเป็นบ่อดินก็เพียงพอ ทั้งนี้ ควรทำร่องด้านข้าง เพื่อป้องกันน้ำไหลเข้า และควรเตรียมผ้าใบคลุมเมื่อฝนตก วัสดุ และส่วนผสม – ปุ๋ยคอก 1 ใน 4 ส่วนของรางหมัก – แกลบดำ 2 ถัง หรือไม่ใส่ก็ได้ – น้ำผสมหัวเชื้อเชื้อ EM 1 ลิตร – กากน้ำตาล 1 ลิตร วิธีทำ – หลังจากที่เตรียมรางหมักแล้ว ให้เทปุ๋ยคอก และแกลบดำรองในรางไว้ – เมื่อมีเศษอาหาร ให้นำมาใส่ในราง พร้อมใช้จอบคลุกผสมกับปุ๋ยคอก – รดด้วยน้ำหัวเชื้อชีวภาพ และกากน้ำตาลบริเวณที่ใส่เศษอาหารเล็กน้อย – หากมีเศษอาหารเกิดขึ้นอีก ก็นำมาคลุก และใส่น้ำหัวเชื้อ ตามด้วยกากน้ำตาลเรื่อยๆจนเต็มบ่อ – หากเต็มบ่อแล้ว ให้นำผ้าคลุกมาปิดไว้ และทิ้งไว้ประมาณ 1 เดือน ก่อนตักออกนำไปใช้ประโยชน์ – ระหว่างที่หมักทิ้ง ให้นำเศษอาหารที่เกิดในแต่ละวันมาหมักในอีกบ่อ ซึ่งจะเวียนกันพอดีในรอบเดือน – ทั้งนี้ บางครัวเรือนอาจไม่สะดวกในการหาซื้อหัวเชื้อหรือกากน้ำตาล ดังนั้น จึงไม่ต้องใช้ก็ได้ แต่จำเป็นต้องมีปุ๋ยคอก หรือใช้ปุ๋ยอื่น เช่น ปุ๋ยมูลไก่ ซึ่งส่วนนีี้จำเป็นต้องใช้ 4. เมื่อนักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวการทำปุ๋ยแล้วได้ฝึกปฏิบัติ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
93 | 95 |
4. ประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษาเรื่องโครงการเด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 10 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
15 | 12 |
5. ประชุมอบรมนักเรียนกิจกรรมสหกรณ์ |
||
วันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
หลักการสหกรณ์
หลักการที่ 2 การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย หลักการที่ 3 การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของสมาชิก - หลักการสหกรณ์ข้อนี้ มุ่งเน้นให้สมาชิกทุกคนพึงตระหนักว่าบทบาทที่สำคัญของตนคือ การที่ต้องเป็นทั้งเจ้าของและลูกค้าในคนเดียวกัน (Co-owners and Customers) จึงต้องทำหน้าที่เป็นผู้สมทบทุน ผู้ควบคุม และผู้อุดหนุน หรือผู้ใช้บริการของสหกรณ์ มิใช่มาเป็นสมาชิกเพียงเพื่อมุ่งหวังได้รับประโยชน์จากสหกรณ์เท่านั้น - ในการจัดสรรกำไรสุทธิเพื่อความเป็นธรรมแก่สมาชิก ส่วนหนึ่งต้องกันไว้เป็นทุนสำรอง ซึ่งจะนำไปแบ่งกันมิได้ แต่เป็นทุนเพื่อพัฒนาสหกรณ์ของพวกเขาเอง ถือว่าเป็นทุนทางสังคม นอกนั้นอาจแบ่งเป็นเงินปันผลในอัตราจำกัด และเป็นเงินเฉลี่ยคืน ตามส่วนแห่งธุรกิจ หลักการที่ 4 การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ - สมาชิก กรรมการและพนักงานสหกรณ์รวมทั้งหน่วยงานส่งเสริมสหกรณ์ต้องสำนึกและตระหนักอยู่เสมอว่าสหกรณ์เป็นองค์การช่วยตนเอง และปกครองตนเอง เพราะฉะนั้นสหกรณ์ต้องเป็นอิสระในการตัดสินใจ หรือทำสัญญาใด๐ ตามเงื่อนไขที่สหกรณ์ยอมรับได้กับบุคคลภายนอกหรือรัฐบาล - การรับความช่วยเหลือหรือสนับสนุนจากรัฐ หรือบุคคลภายนอกไม่ขัดกับหลักความเป็นอิสระของสหกรณ์ หากผู้ให้ความช่วยเหลือมุ่งหมายให้สหกรณ์ช่วยเหลือตนเองได้ และควบคุมตามหลักประชาธิปไตย รวมทั้งธำรงไว้ซึ่งความเป็นตัวของตัวเองของสหกรณ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
70 | 73 |
6. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานโครงการเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2 |
||
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
2 | 2 |
7. เพาะเห็ดครั้งที่1 |
||
วันที่ 7 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.มอบหมายนักเรียนผู้รับผิดชอบ 2.เตรียมโรงเรือน 3.จัดซื้อก้อนเห็ด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ผลิตเห็ดให้กับโรงอาหารได้ 3 กิโลกรัม ต่อวัน 2.มีเห็ดใช้ในการประกอบอาหารได้พอเพียง
|
31 | 33 |
8. ซ่อมแซมระบบจ่ายน้ำการเกษตร |
||
วันที่ 16 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีระบบจ่ายน้ำทีพอเหมาะ 2.ช่วยประหยัดเวลาในการให้น้ำพืขผัก 3.อำนวยความสะดวกให้นักเรียนดูแลแปลงเกษตร
|
82 | 82 |
9. ซื้อวัสดุปลูกผัก(เมล็ดพันธุ์ผัก) |
||
วันที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.สำรวจความต้องการในการใช้อุปกรณ์ 2.จัดซื้อ 3.มอบหมายนักเรียนดูแล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีวัสดุสำหรับฝึกการใช้อย่างพอเพียง 2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการฝึกหัด 3.งานสำเร็จตามเป้าหมาย
|
92 | 93 |
10. เลี้ยงไก่ไข่ (อาหารไก่) |
||
วันที่ 4 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีอาหารไก่อย่างพอเพียง 2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการให้อาหารไก่
|
6 | 6 |
11. เพาะเห็ดครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 4 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
0 | 0 |
12. ปลูกผักปลอดสาร (รำข้าว) |
||
วันที่ 6 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีรำข้าวสาธิตในการทำปุ๋ยหมักชีวะภาพ 2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการทำปุ๋ยหมัก
|
7 | 27 |
13. ปลูกผักปลอดสาร (มูลสัตว์และฟางข้าว) ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนมีวัสดุฝึก 2.มีวัสดุเพียงพอสำหรับการทำเกษตร
|
7 | 27 |
14. ศึกษาดูงานการเลี้ยงไก่แบบธรรมชาติ |
||
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 12:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนได้รับประสบการ์ตรงจากวิทยากร 2.นักเรียนเกิดความตระหนักและสามารถนำมาใช้ที่โรงเรียนได้
|
27 | 27 |
15. เพาะเห็ดครั้งที่ 3 |
||
วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
55 | 0 |
16. จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สหกรณ์นักเรียน |
||
วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีความพร้อมในกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
2.นักเรียนมีวัสดุใช้ในโครงการได้อย่างพอเพียง
|
11 | 0 |
17. ค่าอาหารศึกษาดูงานโรงเรียนบ้านมาบตาพุด |
||
วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1. 2. 3.
|
11 | 38 |
18. ศึกษาดูงานโรงเรียนบ้านมาบตาพุต จ.ระยอง |
||
วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.กำหนดแผนไปศึกษาดูงาน 2.ขออนุญาติเขตพื้นที่ สพป.อ่างทอง 3.เดินทางศึกษาดูงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.การเรียนรู้เกษตรในโรงเรียน การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน 2.การจัดการบริหารกลางวันของโรงเรียน 3.การฝึกอาชีพให้นักเรียนหารายได้ระหว่างเรียน กรองน้ำบรรจุขวดขาย 4.การติดตามภาวะโภชนาการและพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 5.การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนและจัดการบริหารสุขภาพ 6.การจัดระบบสหกรณ์นักเรียนและออมทรัพย์ของนักเรียน 7.การกำจัดขยะตามหลัก ห้า ส
|
11 | 10 |
19. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย |
||
วันที่ 7 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
1 | 1 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัยมีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้นรวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง ตัวชี้วัด : 1. มีรายการอาหารหมุนเวียน 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ(ใช้ Thai School Lunch Program) 2. ประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ 3. นักเรียนได้รับประทานอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของมาตรฐานในโภชนาการทุกมื้อ 4. มีรายงานเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของนักเรียนทุกคนเทอมละ 2 ครั้ง 5. มีการบันทึกสุขภาพนักเรียนรายบุคคลและประเมินพฤติกรรมสุขบัญติแห่งชาติ 6. มีการฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลาง ล้างมือในช่วงเวลาการรัปประทานอาหาร 7. โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน |
||||
2 | เพื่อค้นหารูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการและสุภาพที่ดีของเด็กนักเรียนและนำองค์ความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : 1. มีการนำผลผลิตทางการเกษตร ปศุสัตว์หรึประมงไปใช้ในกิจกรรมอาหารกลางวัน 2. มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิกและดำเนินการโดยนักเรียนและรับซื้อผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพื่อขายให้กิจกรรมอาหารกลางวันผ่านกิจกรรมสหกรณ์ 3. มีแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการและกิจกรรมที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส 4. มีกิจกรรมการเรียนรู้ด้านการเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพที่บูรณาการจากภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. มีสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ด้านการเกษตร สหกรณ์อาหารโภชนาการและสุขภาพอนามัย |
||||
3 | เพื่อให้ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียนจัดสิ่งแวดล้อมอาหารที่ดีต่อสุขภาพสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน ตัวชี้วัด : 1. ร้านค้าในชุมชนจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มที่มีผลดีต่อสุขภาพ 2. นักเรียนได้ตรวจสุขภาพทุกคนเทอมละ 1 ครั้งและให้การช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม 3. มีระบบการช่วยเหลือการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสมเพื่อป้องกันอันตรายร้ายแรงจนถึงเสียชีวิต |
||||
4 | เพื่อสร้างความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนในชุมชน ตัวชี้วัด : 1. มีผลผลิตทางการเกษตรและเลี้ยงสัตว์หรึอประมงโดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน ชุมชนและเครือข่ายในพื้นที่ 2. นักเรียนเติบโตสมวัยโดยมี ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน 7 % ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ไม่เกิน 7 % ภาวะเตี้ยค่อนข้างเตี้ย ไม่เกิน 7 % นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวันเฉลี่ย ผักวันละประมาณ 40-100 กรัมอนุบาล 3 ช้อน (50 กรัม) ประถม 4 ช้อน(70 กรัม) ผลไม้อนุบาล 1/2 ส่วนประถม 1 ส่วนต่อมื้อต่อคน |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์) จังหวัด อ่างทอง
รหัสโครงการ ศรร. 1212-120
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายณรงค์ศักดิ์ ฉัตรเจริญพร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......