ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

รายละเอียดโครงการ
ชื่อโรงเรียน โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์)
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอ่างทอง
โรงเรียนเครือข่าย view_listรายชื่อโรงเรียนเครือข่าย
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
งบประมาณจากโครงการ(สสส.) 100,000.00 บาท
งบประมาณสมทบจากราชการ 0.00 บาท
งบประมาณสมทบจากท้องถิ่น 0.00 บาท
งบประมาณสมทบจากเอกชน 0.00 บาท
งบประมาณสมทบจากชุมชน 0.00 บาท
รวมงบประมาณทั้งหมด 100,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายณรงค์ศักดิ์ ฉัตรเจริญพร
ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ 1 นายพลากร ธาราดล
ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ 2 นางกนกพรรณ เชียงอิทร์
ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ 3 นายวิชิต อภัยโส
ที่ปรึกษาโครงการ 1 นายพันธ์ทิพย์ พุ่มรัตน์
ที่ปรึกษาโครงการ 2 นายชูชาติ อินทร์ใย
ที่ปรึกษาโครงการ 3 พระมาไพทูรย์ จนฺทโก
ผู้ประสานงานภาค นางสาวอุบลรัตน์ ขันธ์ทอง
หลักการและเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระ ราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมน าแนวทางการด าเนินงานที่ประสบ ความส าเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชด าริ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อม น ากรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชด าริใน ๘ องค์ประกอบคือ ๑) การเกษตรในโรงเรียน ๒) สหกรณ์นักเรียน ๓) การจัดการบริหารของโรงเรียน ๔) การติดตามภาวะโภชนาการ ๕) การพัฒนา สุขนิสัยของนักเรียน ๖) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ ๗) การจัดบริการสุขภาพ และ ๘) การ จัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะส าคัญใน ๔ ประการตามแนวพระราชด าริ คือ มีพุทธิศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ พละศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไป พร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จ าเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็ก เป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิด การเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถน าไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วม โครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรม ประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ ๑ (พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๕๘) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการ ทั้งสิ้น ๕๔๔ โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ ๖-๑๒ ปี จ านวน ๑,๔๙๒,๐๘๙ คน ใน ๗๖ จังหวัด ของกรมอนามัย ปี ๒๕๕๕ พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ ๑๒.๕ เตี้ยร้อยละ ๑๖.๘ และระบุว่านักเรียนอายุ ๖-๑๒ ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ ๕๑.๖ ซึ่งสอดคล้องกับการ ส ารวจข้อมูลพื้นฐานของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี ๒๕๔๔ พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้ มาตรฐาน จ านวน ๑.๒ล้านคน จ าแนกเป็นน้ าหนักต่ ากว่าเกณฑ์ จ านวน ๒๒๓,๒๘๘ คน น้ าหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน ๕๙๐,๐๘๗ คน และส่วนสูงต่ ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน ๒๕๘,๑๔๙ คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและ คุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุส าคัญคือ๑) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผัก น้อยกว่าปริมาณที่แนะน า คือเฉลี่ยวันละ ๖๐ กรัม (ปริมาณที่แนะน าวันละ ๔๐๐ กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรส หวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ ๖๗.๔ นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ าตาลจาก เครื่องดื่มเฉลี่ย ๕-๗ ช้อนชา/วัน และน้ าตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย ๓ ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ าตาลของ เด็กมากถึง ๑๐ ช้อนชา และ๒) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้ เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนวัดนางช า(ประชารัฐรังสฤษฏ์) จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านัก โภชนาการ ปีที่ ๑ เพื่อน้อมน าแนวทางการด าเนินงานที่ประสบความส าเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการใน โรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชด าริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการ พัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จ าเป็นและ คุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

กรอบแนวคิด

การบูรณาการ ๘ กิจกรรมสู่การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท (ตามเอกสารแนบ)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายหลัก
นักเรียน 180
ครู/บุคลากรในโรงเรียน 11
ผู้ปกครอง 70
รวมกลุ่มเป้าหมายหลัก 261261
ผู้มีส่วนร่วม/ผู้สนับสนุน
กรรมการสถานศึกษา 9
อสม. 0
ชุมชน 40
ผู้นำศาสนา 0
ท้องถิ่น เช่น เทศบาล, อบต., อบจ. 1
หน่วยงานรัฐ เช่น สสจ., สสอ., รพ.สต., สนง.เกษตร, สนอ.ปศุสัตว์, สนง.ประมง, กำนัน, ผู้ใหญ่บ้าน 4
อื่น ๆ 1
รวมผู้มีส่วนร่วม/ผู้สนับสนุน 55
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียน.มีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัยมีอารมณ์ดีและสติปัญญาดีขึ้นมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
  2. โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
  3. พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข็มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน
  4. เป็นแหล่งเรียนรู้แก่นักเรียน ชุมชน และสถานศึกษาอื่น ได้ศึกษา
  5. ชุมชน พ่อแม่ผู้ปกครองมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน
เป้าหมายภาวะโภชนาการ

นักเรียนเจริญเติบโตสมวัยโดยมี
- ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน 7 %
- ภาวะผอม ไม่เกิน 7 %
- ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 7 % ดูส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ(กรณีที่ภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดให้ลดลงจากเดิมไม่น้อยกว่า 0.5 ต่อปี)
นักเรียนได้กินผัก – ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน เฉลี่ย ผัก วันละประมาณ 450 กรัม (ผัก อนุบาล 0.5 ทัพพี ประถม 1 ทัพพี ผลไม้อนุบาล 0.5 ส่วนประถม 1 ส่วน) ต่อมื้อต่อคน

ความต่อเนื่องยั่งยืนหรือแนวทางการขยายผล

ขยายผลสู่ครอบครัวและชุมชน โดยสร้างครอบครัวตัวอย่าง ร้อยละ 30 ของครอบครัวนักเรียนเพื่อให้เกิดความมั่นคงในการพัฒนาชุมชนและสังคม ที่มีโรงเรียนเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้

พื้นที่ตั้งโรงเรียน ตำบลคลองขนาก อำเภอวิเศษไชยชาญ จังหวัดอ่างทอง
ละติจูด-ลองจิจูด 14.517588553707,100.35687804185place
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 2 พ.ค. 2559 30 ก.ย. 2559 2 พ.ค. 2559 30 ก.ย. 2559 40,000.00
2 1 ต.ค. 2559 28 ก.พ. 2560 1 ต.ค. 2559 30 เม.ย. 2560 55,000.00
3 1 มี.ค. 2560 30 เม.ย. 2560 5,000.00
รวมงบประมาณ 100,000.00

วัตถุประสงค์/เป้าหมาย

วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัยมีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้นรวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
  1. มีรายการอาหารหมุนเวียน 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ(ใช้ Thai School Lunch Program)
  2. ประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ
  3. นักเรียนได้รับประทานอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของมาตรฐานในโภชนาการทุกมื้อ
  4. มีรายงานเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของนักเรียนทุกคนเทอมละ 2 ครั้ง
  5. มีการบันทึกสุขภาพนักเรียนรายบุคคลและประเมินพฤติกรรมสุขบัญติแห่งชาติ
  6. มีการฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลาง ล้างมือในช่วงเวลาการรัปประทานอาหาร
  7. โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน
2 เพื่อค้นหารูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการและสุภาพที่ดีของเด็กนักเรียนและนำองค์ความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
  1. มีการนำผลผลิตทางการเกษตร ปศุสัตว์หรึประมงไปใช้ในกิจกรรมอาหารกลางวัน
  2. มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิกและดำเนินการโดยนักเรียนและรับซื้อผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพื่อขายให้กิจกรรมอาหารกลางวันผ่านกิจกรรมสหกรณ์
  3. มีแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการและกิจกรรมที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส
  4. มีกิจกรรมการเรียนรู้ด้านการเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพที่บูรณาการจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
  5. มีสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ด้านการเกษตร สหกรณ์อาหารโภชนาการและสุขภาพอนามัย
3 เพื่อให้ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียนจัดสิ่งแวดล้อมอาหารที่ดีต่อสุขภาพสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน
  1. ร้านค้าในชุมชนจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มที่มีผลดีต่อสุขภาพ
  2. นักเรียนได้ตรวจสุขภาพทุกคนเทอมละ 1 ครั้งและให้การช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม
  3. มีระบบการช่วยเหลือการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสมเพื่อป้องกันอันตรายร้ายแรงจนถึงเสียชีวิต
4 เพื่อสร้างความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนในชุมชน
  1. มีผลผลิตทางการเกษตรและเลี้ยงสัตว์หรึอประมงโดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน ชุมชนและเครือข่ายในพื้นที่
  2. นักเรียนเติบโตสมวัยโดยมี ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน 7 % ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ไม่เกิน 7 % ภาวะเตี้ยค่อนข้างเตี้ย ไม่เกิน 7 % นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวันเฉลี่ย ผักวันละประมาณ 40-100 กรัมอนุบาล 3 ช้อน (50 กรัม) ประถม 4 ช้อน(70 กรัม) ผลไม้อนุบาล 1/2 ส่วนประถม 1 ส่วนต่อมื้อต่อคน

กิจกรรมหลัก

กิจกรรมหลัก

ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ค. 59มิ.ย. 59ก.ค. 59ส.ค. 59ก.ย. 59ต.ค. 59พ.ย. 59ธ.ค. 59ม.ค. 60ก.พ. 60มี.ค. 60เม.ย. 60
1 เลี้ยงไก่ไข่ 25,700.00                         more_vert
2 ปลูกผักปลอดสาร 15,900.00                         more_vert
3 การเพาะเห็ด 14,900.00                         more_vert
4 ประชุมศึกษาดูงาน โรงเรียนวัดศรีนวลจ.กรุงเทพ 19,400.00                         more_vert
5 ประชุมอบรมนักเรียนเรื่องกิจกรรมสหกรณ์ การทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย 12,100.00                         more_vert
6 จัดการเรียนรู้บูรณาการด้านเกษตร โภชนาการ และ สุขภาพอนามัย 12,000.00                         more_vert
รวม 100,000.00

กิจกรรมย่อย

วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย (คน)งบกิจกรรม (บาท)ทำแล้วใช้จ่ายแล้ว (บาท)
5 ส.ค. 59 ประชุมอบรมศึกษาดูงาน โรงเรียนวัดศรีนวล จ.กรุงเทพฯ 60 12,500.00 12,500.00 more_vert
3 ก.ย. 59 ซื้อแม่ไก่และอาหาร 38 22,800.00 22,800.00 more_vert
30 ก.ย. 59 ซื้อมูลสัตว์และฟางข้าว 93 3,000.00 3,000.00 more_vert
10 ต.ค. 59 ประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษาเรื่องโครงการเด็กไทยแก้มใส 15 0.00 0.00 more_vert
14 ต.ค. 59 ประชุมอบรมนักเรียนกิจกรรมสหกรณ์ 70 6,100.00 6,100.00 more_vert
3 พ.ย. 59 เพาะเห็ดครั้งที่1 31 4,000.00 4,000.00 more_vert
16 พ.ย. 59 ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานโครงการเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2 2 1,000.00 1,000.00 more_vert
7-30 ธ.ค. 59 ค่าอาหารศึกษาดูงานโรงเรียนบ้านมาบตาพุด 11 2,900.00 2,900.00 more_vert
16 ธ.ค. 59 ซ่อมแซมระบบจ่ายน้ำการเกษตร 82 12,000.00 12,000.00 more_vert
4 ม.ค. 60 เพาะเห็ดครั้งที่ 2 0 5,000.00 5,000.00 more_vert
4 ม.ค. 60 เลี้ยงไก่ไข่ (อาหารไก่) 6 2,400.00 2,400.00 more_vert
6 ม.ค. 60 ปลูกผักปลอดสาร (รำข้าว) 7 5,000.00 5,000.00 more_vert
1-28 ก.พ. 60 ศึกษาดูงานโรงเรียนบ้านมาบตาพุต จ.ระยอง 11 4,000.00 4,000.00 more_vert
1 ก.พ. 60 ปลูกผักปลอดสาร (มูลสัตว์และฟางข้าว) ครั้งที่ 2 7 4,900.00 4,900.00 more_vert
16 ก.พ. 60 ศึกษาดูงานการเลี้ยงไก่แบบธรรมชาติ 27 500.00 500.00 more_vert
17 ก.พ. 60 เพาะเห็ดครั้งที่ 3 55 4,900.00 4,900.00 more_vert
18 ก.พ. 60 จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สหกรณ์นักเรียน 11 6,000.00 6,000.00 more_vert
13 มี.ค. 60 ซื้อวัสดุปลูกผัก(เมล็ดพันธุ์ผัก) 92 3,000.00 3,000.00 more_vert
7 เม.ย. 60 จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย 1 0.00 23.84 more_vert
รวม 0 100,000.00 19 100,023.84

ไฟล์เอกสาร

โครงการเข้าสู่ระบบโดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2559 14:15 น.