ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนวัดนางชำ(ประชารัฐรังสฤษฏ์) |
สังกัด | ?? |
หน่วยงานต้นสังกัด | ?? |
ที่อยู่โรงเรียน | ตำบลคลองขนาก อำเภอวิเศษไชยชาญ จังหวัดอ่างทอง |
จำนวนนักเรียน | 180 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม |
ผู้อำนวยการ | นายณรงค์ศักดิ์ ฉัตรเจริญพร |
ครูผู้รับผิดชอบ | นายพลากร ธาราดล |
-
-
1. 2. 3.
1.กำหนดแผนไปศึกษาดูงาน 2.ขออนุญาติเขตพื้นที่ สพป.อ่างทอง 3.เดินทางศึกษาดูงาน
1.การเรียนรู้เกษตรในโรงเรียน การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน 2.การจัดการบริหารกลางวันของโรงเรียน 3.การฝึกอาชีพให้นักเรียนหารายได้ระหว่างเรียน กรองน้ำบรรจุขวดขาย 4.การติดตามภาวะโภชนาการและพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 5.การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนและจัดการบริหารสุขภาพ 6.การจัดระบบสหกรณ์นักเรียนและออมทรัพย์ของนักเรียน 7.การกำจัดขยะตามหลัก ห้า ส
1.มีความพร้อมในกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
2.นักเรียนมีวัสดุใช้ในโครงการได้อย่างพอเพียง
-
-
1.นักเรียนได้รับประสบการ์ตรงจากวิทยากร 2.นักเรียนเกิดความตระหนักและสามารถนำมาใช้ที่โรงเรียนได้
1.นักเรียนมีวัสดุฝึก 2.มีวัสดุเพียงพอสำหรับการทำเกษตร
1.มีรำข้าวสาธิตในการทำปุ๋ยหมักชีวะภาพ 2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการทำปุ๋ยหมัก
-
-
1.มีอาหารไก่อย่างพอเพียง 2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการให้อาหารไก่
1.สำรวจความต้องการในการใช้อุปกรณ์ 2.จัดซื้อ 3.มอบหมายนักเรียนดูแล
1.มีวัสดุสำหรับฝึกการใช้อย่างพอเพียง 2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการฝึกหัด 3.งานสำเร็จตามเป้าหมาย
1.มีระบบจ่ายน้ำทีพอเหมาะ 2.ช่วยประหยัดเวลาในการให้น้ำพืขผัก 3.อำนวยความสะดวกให้นักเรียนดูแลแปลงเกษตร
1.มอบหมายนักเรียนผู้รับผิดชอบ 2.เตรียมโรงเรือน 3.จัดซื้อก้อนเห็ด
1.ผลิตเห็ดให้กับโรงอาหารได้ 3 กิโลกรัม ต่อวัน 2.มีเห็ดใช้ในการประกอบอาหารได้พอเพียง
- แจ้งกำหนดการอบรมกับนักเรียนชั้น ป.๔-๖
- เชิญวิทยากรจังหวัดอ่างทอง นางสาวนิชาภาเนื้อเย็น
- สร้างความรู้ความเข้าใจหลักการสหกรณ์
หลักการสหกรณ์
คือ "แนวทางที่สหกรณ์ยึดถือปฏิบัติเพื่อให้คุณค่าทางสหกรณ์เกิดผลเป็นรูปธรรม" ซึ่งประกอบด้วยการที่สำคัญรวม 7 ประการ กล่าวคือ
หลักการที่ 1 การเป็นสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง
1. พึงตระหนักว่าการเข้าและออกจากการเป็นสมาชิก จะต้องเป็นไปโดยความสมัครใจของบุคคล (คำว่า "บุคคล" หมายถึง ทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล) ไม่ใช้ถูกชักจูง โน้มน้าว ล่อลวง บังคับ ข่มขู่จากผู้อื่น
2. อย่างไรก็ดี การกำหนดคุณสมบัติสมาชิกของสหกรณ์ต่างๆ เพื่อให้ได้บุคคลที่เข้ามาเป็นสมาชิกแล้วสามารถร่วมกันดำเนินกิจกรรมในสหกรณ์ได้ และไม่สร้างปัญหาความเดือดร้อนให้แก่เพื่อนสมาชิกและสหกรณ์ ไม่ถือว่าขัดกับหลักการสหกรณ์ข้อนี้
3. สมาชิกสมทบนั้น ควรมีแต่เฉพาะกรณีของสหกรณ์บางประเภทที่มีลักษณะพิเศษและจำเป็นเท่านั้น ไม่ควรให้มีในสหกรณ์ทั่วไปหรือทุกประเภท เพราะตามปกติสมาชิกสมทบมาจากบุคคลซึ่งขาดคุณสมบัติที่จะเป็นสมาชิกธรรมดา หากสหกรณ์ใดรับสมาชิกสมทบจำนวนมาก ก็อาจกระทบต่อการส่งเสริมผลประโยชน์ของสมาชิกธรรมดาได้แม้ว่ากฎหมายจะได้ห้ามมิให้สมาชิกสมทบมีสิทธิบางประการก็ตาม
หลักการที่ 2 การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย
- พึงตระหนักว่าเป็นหน้าที่ของสมาชิกทุกคนที่จะต้องร่วมแรงกายใจ และสติปัญญาในการดำเนินการและควบคุมดูแลการดำเนินงานของสหกรณ์ของสหกรณ์ตามวิถีทางประชาธิปไตย เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยผ่านช่องทางหรือองค์กรต่างๆ เช่น คณะกรรมการดำเนินการ ผู้ตรวจสอบกิจการและที่ประชุมใหญ่
หลักการที่ 3 การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของสมาชิก - หลักการสหกรณ์ข้อนี้ มุ่งเน้นให้สมาชิกทุกคนพึงตระหนักว่าบทบาทที่สำคัญของตนคือ การที่ต้องเป็นทั้งเจ้าของและลูกค้าในคนเดียวกัน (Co-owners and Customers) จึงต้องทำหน้าที่เป็นผู้สมทบทุน ผู้ควบคุม และผู้อุดหนุน หรือผู้ใช้บริการของสหกรณ์ มิใช่มาเป็นสมาชิกเพียงเพื่อมุ่งหวังได้รับประโยชน์จากสหกรณ์เท่านั้น - ในการจัดสรรกำไรสุทธิเพื่อความเป็นธรรมแก่สมาชิก ส่วนหนึ่งต้องกันไว้เป็นทุนสำรอง ซึ่งจะนำไปแบ่งกันมิได้ แต่เป็นทุนเพื่อพัฒนาสหกรณ์ของพวกเขาเอง ถือว่าเป็นทุนทางสังคม นอกนั้นอาจแบ่งเป็นเงินปันผลในอัตราจำกัด และเป็นเงินเฉลี่ยคืน ตามส่วนแห่งธุรกิจ
หลักการที่ 4 การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ - สมาชิก กรรมการและพนักงานสหกรณ์รวมทั้งหน่วยงานส่งเสริมสหกรณ์ต้องสำนึกและตระหนักอยู่เสมอว่าสหกรณ์เป็นองค์การช่วยตนเอง และปกครองตนเอง เพราะฉะนั้นสหกรณ์ต้องเป็นอิสระในการตัดสินใจ หรือทำสัญญาใด๐ ตามเงื่อนไขที่สหกรณ์ยอมรับได้กับบุคคลภายนอกหรือรัฐบาล - การรับความช่วยเหลือหรือสนับสนุนจากรัฐ หรือบุคคลภายนอกไม่ขัดกับหลักความเป็นอิสระของสหกรณ์ หากผู้ให้ความช่วยเหลือมุ่งหมายให้สหกรณ์ช่วยเหลือตนเองได้ และควบคุมตามหลักประชาธิปไตย รวมทั้งธำรงไว้ซึ่งความเป็นตัวของตัวเองของสหกรณ์
- ระดมความคิดฝึกปฏิบัติทำความเข้าใจ
- สรุปกิจกรรม
- นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจหลักการของสหกรณ์การจัดตั้งสหกรณ์ และวิธีของสหกรณ์ประเภทของสหกรณ์การทำบัญชี
- คัดเลือกนักเรียนผู้รับผิดชอบสหกรณ์นักเรียน
- บูรณาการแผนการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้
- ประชุมผู้ปกครอง และให้ผู้ปกครองชื้อของในสหกรณ์นักเรียน
- แจ้งนักเรียนผู้เข้าร่วมโครงการ
- จัดอบรมให้ความรู้สร้างความตระหนัก
- วางแผนการดำเนินงาน
- ปฏิบัติตามแผน
- นักเรียนเกิดความตระหนัก
- นักเรียนได้รับความรู้ในการเลี้ยงไก่ไข่
- นักเรียนสามารถเลี้ยงไก่เองได้
- ตอบรับโครงการเข้าอบรม
- จัดเตรียมเอกสารและคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการอบรม
- แก้ไขเนื้อหาในระบบออนไลน์ การจัดซื้อจัดจ้างให้ถูกต้อง
- กรอกข้อมูลในระบบออนไลน์ได้ครบถ้วนถูกต้อง
- บุคคลากรที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจในโครงการมากขึ้น
- นัดหมายคณะครูในโรงเรียนคณะกรรมการสถานศึกษา
- สรุปประเด็น ที่ได้จาการศึกษาดูงานกิจกรรมใดบ้างที่ทำได้และทำไม่ได้
- ออกแบบวางแผนการทำงานตลอดทั้งปี
- มอบหมายภาระกิจกำหนดครูผู้รับผิดชอบ
- ได้แผนในการดำเนินงานของโรงเรียนเรื่องโครงการเด็กไทยแก้มใส
- บุคคลากรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมตามโครงการ
- ชื้อปุ๋ยมูลสัตว์
- เชิญวิทยากรให้ความรู้(ข้อดีข้อเสียของการปลูกผักกินเองและ การใช้ปุยชีวภาพและปุ๋ยเคมี)
- สาธิตการผสมพดปุ๋ยหมักจากเศษอาหาร หากมีเฉพาะเศษอาหารที่เป็นพืชมักจะไม่มีปัญหา เพราะเวลาเน่าจะมีกลิ่นเหม็นไม่รุนแรง เราสามารถนำไปคลุกกับปุ๋ยคอกในรางทำปุ๋ยหมักได้เลย แต่หากมีเนื้อสัตว์จะมีกลิ่นเหม็นรุนแรง
สำหรับบางครัวเรือนที่มีข้อจำกัดปริมาณเศษอาหารที่เกิดน้อย หากต้องการทำปุ๋ยหมักจำเป็นต้องทำรางหมักหรือหลุมหมัก แต่หากจะหมักในถังจะมีข้อจำกัดที่เต็มเร็ว
การทำรางหมัก ควรหาพื้นที่ว่างบริเวณหลังบ้าน ขนาดพื้นที่ประมาณ 1 เมตร x 1 เมตร ลึกประมาณ 20-40 เซนติเมตร หรืออาจน้อยกว่า หรืออาจมากกว่าตามความต้องการ แต่ควรให้รองรับเศษอาหารให้ได้ประมาณ 1 เดือน และควรทำ 2 ชุด พร้อมฉาบด้านข้างด้วยปูนซีเมนต์ แต่หากไม่มีปัญหาเรื่องน้ำฝนหรือน้ำไหลเข้า ก็อาจขุดเป็นบ่อดินก็เพียงพอ ทั้งนี้ ควรทำร่องด้านข้าง เพื่อป้องกันน้ำไหลเข้า และควรเตรียมผ้าใบคลุมเมื่อฝนตก
วัสดุ และส่วนผสม – ปุ๋ยคอก 1 ใน 4 ส่วนของรางหมัก – แกลบดำ 2 ถัง หรือไม่ใส่ก็ได้ – น้ำผสมหัวเชื้อเชื้อ EM 1 ลิตร – กากน้ำตาล 1 ลิตร
วิธีทำ – หลังจากที่เตรียมรางหมักแล้ว ให้เทปุ๋ยคอก และแกลบดำรองในรางไว้ – เมื่อมีเศษอาหาร ให้นำมาใส่ในราง พร้อมใช้จอบคลุกผสมกับปุ๋ยคอก – รดด้วยน้ำหัวเชื้อชีวภาพ และกากน้ำตาลบริเวณที่ใส่เศษอาหารเล็กน้อย – หากมีเศษอาหารเกิดขึ้นอีก ก็นำมาคลุก และใส่น้ำหัวเชื้อ ตามด้วยกากน้ำตาลเรื่อยๆจนเต็มบ่อ – หากเต็มบ่อแล้ว ให้นำผ้าคลุกมาปิดไว้ และทิ้งไว้ประมาณ 1 เดือน ก่อนตักออกนำไปใช้ประโยชน์ – ระหว่างที่หมักทิ้ง ให้นำเศษอาหารที่เกิดในแต่ละวันมาหมักในอีกบ่อ ซึ่งจะเวียนกันพอดีในรอบเดือน – ทั้งนี้ บางครัวเรือนอาจไม่สะดวกในการหาซื้อหัวเชื้อหรือกากน้ำตาล ดังนั้น จึงไม่ต้องใช้ก็ได้ แต่จำเป็นต้องมีปุ๋ยคอก หรือใช้ปุ๋ยอื่น เช่น ปุ๋ยมูลไก่ ซึ่งส่วนนีี้จำเป็นต้องใช้ 4. เมื่อนักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวการทำปุ๋ยแล้วได้ฝึกปฏิบัติ
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการใช้ปุ๋ยหมัก
- มีพืชผักบริโภคพอเพียงและปลอดสารพิษ
- นัดหมายผู้เข้าร่วมอบรมที่โรงเรียนวัดนางชำ เวลา 05.00น.
- เดินทางถึงแหล่งเรียนรู้โรงเรียนวัดศรีนวล กรุงเทพฯเวลา 08.30 น.
- เข้ารับฟังบรรยายการการดำเนินงานของโรงเรียนวัดศรีนวลและ วิทยากร อ.สง่า ดามาพงษ์ 09.00-12.00
- ดูงานแปลงสาธิต ด้านเกษตรสหกรณ์ และการบริหารจัดการ13.00-16.00
- การใส่ใจในการดูแลสุขภาพตามหลักโภชนาการ
- มีพฤติกรรมการกินเพื่อสุขภาพ
- ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลนักเรียนที่บ้าน
- ครูมีส่วนร่วมในการสร้างความตระหนักเรื่องสุขภาพ