ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านลำแดง


“ โรงเรียนบ้านลำแดง ”

ตำบลหันตะเภา อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

หัวหน้าโครงการ
นางชุลี รุ่งพานิช

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านลำแดง

ที่อยู่ ตำบลหันตะเภา อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา

รหัสโครงการ ศรร.1213-122 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.21

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านลำแดง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหันตะเภา อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านลำแดง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านลำแดง



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านลำแดง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหันตะเภา อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รหัสโครงการ ศรร.1213-122 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านลำแดง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 407 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านลำแดงจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้

จากการประเมินผลการดำเนินงานตามกิจกรรม/โครงการของคณะกรรมการและผู้เกี่ยวข้องพบว่า

ผลที่เกิดขึ้นนักเรียนส่วนใหญ่มีสุขภาพกาย สุขนิสัยที่ดีขึ้นนักเรียนรู้จักดูแลสุขภาพร่างกายโดยมีสุขภาพปากและฟันดีขึ้นจากเดิมอย่างเห็นได้ชัดมีการออกกำลังกายตามความถนัดและความสนใจทุกเช้าและเย็นกีฬาที่เป็นที่ชื่นชอบของนักเรียนคือฟุตบอลบาสเก็ตบอล ปิงปอง กระโดดเชือกและเปตองนอกจากนี้นักเรียนยังมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาเลือกบริโภคดีขึ้นกว่าเดิม
นักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีอย่างน้อย 1ครั้ง/ปีโดยเจ้าหน้าที่จากสถานีอนามัยตำบลหันตะเภากระทรวงสาธารณสุข นักเรียนร้อยละ 85มีสุขนิสัยที่ดี และรักการออกกำลังกายโดยเล่นกีฬาตามที่ชอบและถนัดอย่างสม่ำเสมอสัปดาห์ละ2-3ครั้งและในจำนวนนี้มีนักเรียนบางส่วน(ประมาณ ร้อยละ 25 )ออกกำลังกายโดยการวิ่งทุกเช้า และเย็น เป็นเวลาวันละ 30นาทีเป็นประจำ นักเรียนร้อยละ 62มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาเลือกรับ-บริโภคสิ่งของได้อย่างเหมาะสม ผู้รับผิดชอบงาน-กิจกรรม มีประสบการณ์และเกิดการเรียนรู้มีทักษะในการบริหารจัดการมากยิ่งขึ้น นักเรียนร้อยละ 12 ที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน(นักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน : มากกว่าหรือเท่ากับ +2 S.D ขึ้นไป)ซึ่งลดลงร้อยละ 2 จากสถานการณ์เดิมของโรงเรียน นักเรียนร้อยละ 9.25 ที่มีภาวะผอม (นักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน : มากกว่าหรือเท่ากับ +2 S.D ขึ้นไป)ซึ่งลดลงร้อยละ 3.01 จากสถานการณ์เดิมของโรงเรียน นักเรียนร้อยละ 1.25 ที่มีภาวะเตี้ย (นักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน : มากกว่าหรือเท่ากับ +2 S.D ขึ้นไป) ซึ่งลดลงร้อยละ 2.50 จากสถานการณ์เดิมของโรงเรียน นักเรียนร้อยละ 79 ที่มีส่วนสูงระดับดีและสมส่วนซึ่งสูงขึ้นร้อยละ 4 จากสถานการณ์เดิมของโรงเรียน นักเรียนร้อยละ 18.70 ที่เป็นโรคฟันผุ ซึ่งลดลงร้อยละ 1.30 จากสถานการณ์เดิมของโรงเรียน นักเรียนร้อยละ 79 ที่ไม่เป็นเหา ซึ่งสูงขึ้นร้อยละ 71 จากสถานการณ์เดิมของโรงเรียน นักเรียนร้อยละ 90 ที่ตรวจพบความผิดปกติของสายตาและการได้ยินได้รับการดูแลส่งต่อรักษา ซึ่งสูงขึ้นร้อยละ 5 จากสถานการณ์เดิมของโรงเรียน นักเรียนร้อยละ 64 ที่มีสุขนิสัยที่พึงประสงค์ ซึ่งสูงขึ้นร้อยละ 14 จากสถานการณ์เดิมของโรงเรียน นักเรียนร้อยละ 62.83 ที่มีความรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพระดับดีขึ้นไป ซึ่งสูงขึ้นร้อยละ 2.83 จากสถานการณ์เดิมของโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. . เพื่อนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
  2. เพื่อค้นหารูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
  3. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในคนในชุมชนในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียนจากสิ่งแวดล้อมอาหารที่ดีต่อสุขภาพสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน
  4. เพื่อสร้างสังคมให้มีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารและโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
    2. โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
    3. พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยังยื่นในการดำเนินงาน
    4. ชุมชนมีความตระหนักและตื่นตัวในการจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การปลูกพืชปลอดสารพิษตามฤดูกาล ครั้งที่ ๑

    วันที่ 2 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้อวัสดุ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เตรียมวัสดุปลูก

     

    148 0

    2. กิจกรรมประชุมครู ครั้งที่ 1

    วันที่ 13 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุม วางแผน กำหนดผู้รับผิดชอบ * แนบใบสำคัญรับเงิน*

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วางแผนงาน และรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการและกิจกรรม

     

    23 23

    3. กิจกรรมประชุมผู้ปกครองนักเรียน ครั้งที่1

    วันที่ 27 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมครูปกครองและชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แจ้งการดำเนินงานตามโครงการ และขอความร่วมมือในการดำเนินงานต่างๆ

     

    342 342

    4. การปลูกพืชปลอสารพิษตามฤดูกาล ครั้งที่ 2

    วันที่ 3 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้อเมล็ดพันธ์ุต่างๆ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดเตรียมเมล็ดพันธ์ุสำหรับปลูกพืช

     

    408 408

    5. สวนมะนาวและสวนสมุนไพร ครั้งที่ ๑

    วันที่ 5 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้อวัสดุ เพื่อค้ำต้นมะนาว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มะนาวได้มีการค้ำต้นให้แข็งแรง

     

    25 25

    6. เพาะเห็ด ครั้งที่ 1

    วันที่ 25 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้อเชื้อก้อนเห็ด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีก้อนเห็ด จำนวน 600 ก้อน 

     

    35 35

    7. กิจกรรมประชุมกรรมการสถานศึกษา ครั้งที 1

    วันที่ 26 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุม วางแผน กำหนดรายละเอียด ขอความร่วมมือ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การมีส่วนร่วม สร้างความเข้าใจ ในการดำเนินงานโครงการ

     

    10 0

    8. การเพาะเห็ด ครั้งที่2

    วันที่ 29 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้อถุงพลาสติก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีบรรจุภัณฑ์เพียงพอสำหรับการใช้งาน

     

    32 32

    9. กิจกรรมออมทรัพย์นักเรียน ครั้งที่ 1

    วันที่ 6 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้อวัสดุ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เตรียมการกิจกรรมออมทรัพย์

     

    402 402

    10. กิจกรรมส่งเสริมอนามัยนักเรียน ครั้งที่ 1

    วันที่ 20 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดอบรมนักเรียนและครู เรื่องการดูแลสุขภาพอนามัยนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีการดูแลสุขภาพอนามัยที่ถูกต้องและมีนำ้หนักส่วนสูงตามเกณฑ์

     

    244 244

    11. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2

    วันที่ 17 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเตรียมเอกสารตามการเบิกจ่ายเงิน ตามกิจกรรมที่ดำเนินการแล้ว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทบทวนความเข้าใจในการทำงานและการติดตาม ประเมินผลโครงการเป็นระยะ

     

    2 0

    12. กิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่ ครั้งที่ 1

    วันที่ 21 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้อพันธุ์ไก่ /อาหารไก่/ยาสำหรับใช้ในการเลี้ยงไก่ 1.นักเรียนแกนนำให้อาหารไก่และเติมนำ้วันละ 2 ครั้ง 2.นักเรียนผสมยาต่างๆลงในน้ำให้ไก่กิน เดือนละ 1 ครั้ง 3.ทุกวันทำความสะอาดโรงเรือนวันละครั้ง 4.เก็บผลผลิตและนำส่งโครงการอาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้ฝึกการเลี้ยงไก่ 2.มีผลผลิตจากไก่ไข่เกิดขึ้น

     

    4 4

    13. การจัดตรายาง

    วันที่ 21 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำตรายางโครงการแก้มใสของโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สะดวก ประหยัด เร็วรวด ในการทำงาน

     

    0 0

    14. การเลี้ยงไก่ไข่ ครั้งที่ 2 (ศึกษาดูงาน)

    วันที่ 25 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ศึกษาดูงานและการปฏิบัติงานจริงที่เลี้ยงไก่ไข่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำความรู้มาใช้ในการส่งเสริมอาชีพนักเรียนในอนาคต

     

    42 40

    15. เลี้ยงปลาดุก ครั้งที่ 1

    วันที่ 21 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ๑.จัดซื้อพันธุ์ปลา/อาหารปลา ๒. เตรียมบ่อปลา ๓.ดูแลบำรุงรักษา ๔.เก็บผลผลิต ๕.จำน่ายและแปรรูปส่งสหกรณ์นักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนแกนนำได้ปฏิบัติการเตรียมสถานที่สำหรับการเลี้ยงปลาดุกในระยะแรก

     

    32 0

    16. การปลูกพืชไฮโดรโฟนิกส์ ครั้งที่ ๑

    วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ๑.ประชุมคณะทำงาน ๒.จัดเตรียมวัสดุไฮโดรโฟนิกส์ ๓.จัดอบรมการขยายพันธ์ุพืช ๔.การดูแลรักษา ๕.เก็บผลผลิต ๖.นำผลผลิตส่งโครงการอาหารกลางวันและสหกรณ์นักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติการปลูกพืชไฮโดโพนิกส์ ระยะแรกการปลูกไม่ประสบความสำเร็จ นักเรียนต้องลดผิดลองถูกจากการปฏิบัติจริง ต้องอาศัยเวลาและความอดทน จึงประสบความสำเร็จ มีผักที่ไม่ใช้ดินในการประกอบอาหารและจำหน่ายให้ชุมชนและผู้ที่สนใจ

     

    35 35

    17. ปลูกพืชปลอดสารพิษตามฤดูกาล ครั้งที่ 2

    วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปรับปรุงแปลงผัก และปลูกพืชใหม่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อเตรียมสถานที่สำหรับเพาะปลูกพืชให้เหมาะสม

     

    0 0

    18. กิจกรรมการเลี้ยงไส้เดือน

    วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ความรู้เกี่ยวกับไส้เดือน การขยายพันธ์ู การเลี้ยงเชิงธุรกิจ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การเลี้ยงไส้เดือนเป็นวิธีการหนึ่งที่จะแก้ไขปัญหาขยะจากเศษอาหาร ของจากการเกษตรในโรงเรียน

     

    30 36

    19. การจัดการเรียนรู้การเกษตร อาหารโภชนาการและสุขภาพ

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ค่าจัดเตรียมเอกสาร และนำเสนอผลงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนและครูที่รับผิดชอบกิจกรรมต่างๆ ได้ร่วมนำเสนอผลงานและประเมินผลงานในรอบปีที่ผ่านมา

     

    77 77

    20. แปรรูปผลผลิตฯ(กิจกรรมทำน้ำยาซักผ้า)

    วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดอบรมการทำนำ้ยาซักผ้าสำหรับนักเรียนแกนนำ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติการผลิตนำ้ยาซักผ้าเองทุกขั้นตอน ทำให้นักเรียนเกิดองค์ความรู้จากการทำงาน และฝึกทักษะการทำงานกลุ่ม ตลอดจนนำผลงานที่ตนผลิตไปใช้ต่อที่บ้านได้

     

    60 60

    21. กิจกรรมการทำน้ำยาซักผ้า

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เบิกเงินเพิ่มเติ่มจากการอบรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อให้การดำเนินงานเรียบร้อยละถูกต้อง

     

    0 0

    22. การจัดทำโครงงานแสดงผลงาน

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดผลงานของตนเองที่รับผิดชอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แลกเปลียนเรียนรู้จากกิจกรรมต่างๆ

     

    0 0

    23. วัสดุบรรจุภัณฑ์

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผลิตสติกเกอร์ จัดทำบรรจุภัณฑ์ให้เรียบร้อย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีสินค้าเป็นของตนเองและมีความเอกลักษณ์ของโรงเรียน

     

    0 23

    24. บัตรสมาชิกและงานทะเบียน

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทะเบียนสมาชิก และงานสารบรรณต่างๆ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สหกรณ์มีการดำเนินงานอย่างมีระบบและตรวจสอบได้

     

    12 12

    25. ออมทรัพย์

    วันที่ 3 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำเอกสารทะเบียน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อให้งานสหกรณ์ดำเนินการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

     

    0 11

    26. จัดซื้ออาหารไก่

    วันที่ 6 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้ออาหารสำหรับไก่ไข่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรัียนสามารถให้อาหารไก่ได้ถูกต้อง เหมาะสมกับจำนวนไก่

     

    0 33

    27. วัสดุทำปุ๋ยหมัก

    วันที่ 15 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เตรียมทำปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ในโรงเรียน เช่น เชื้อก้อนเห็ด เศษอาหาร เศษใบไม้ นำมาชั่ง แล้ววางเป็นชั้นๆสลับกับขี้วัว แล้วผสม EM กับนำ้ราดให้ทั่ว ทิ้งไว้ 3 เดือน  แล้วนำมากลับด้านทุกเดือน สังเกตอุณหภูมิของปุ๋ยให้เย็นแล้วค่อยนำใส่เดือนมาเลี้ยง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนสามารถลดปริมาณขยะในโรงเรียนได้
    2. นักเรียนมีทักษะการทำงานเพิ่มขึ้น

     

    30 31

    28. การขยายพันธุ์พืช

    วันที่ 18 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แบ่งกิจกรรม เป็น 5 ฐาน ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ฝึกปฏิบัติจริง ได้แก่ ฐานที่ 1 การตอนกิ่ง ฐานที่ 2 ผักบุ้งในตะกร้า ฐานที่ 3 การปักชำ ฐานที่ 4 อะไรอยู่ในกล่อง ฐานที่ 5 การพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนแกนนำสามารถนำความรู้จากการฝึก ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

     

    86 60

    29. คืนดอกเบี้ยปิดโครงการ

    วันที่ 7 เมษายน 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนดอกเบี้ยเงินโครงการให้ สอส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนดอกเบี้ยเงินโครงการให้ สอส. เรียบร้อย จำนวนเงิน 23.16 บาท

     

    1 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 . เพื่อนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนเจริญเติบโตมี - ภาวะเริ่มอ้วนไม่เกิน 10 % หรือลดลงจากสถานะการณ์เดิม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 - ภาวะผอมไม่เกิน7 % หรือลดลงจากสถานะการณ์เดิม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 - ภาวะเตี้ยไม่เกิน 7 %หรือลดลงจากสถานะการณ์เดิม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 2 นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน เฉลี่ย - ผักวันละประมาณ 40-100 กรัม (อนุบาล 3 ช้อน (50 กรัม)) ประถม 4 ช้อน (70 กรัม) และมัธยม 5 ช้อน (90 กรัม)) - ผลไม้(อนุบาล ½ ส่วน ประถม 1 ส่วน) ต่อมื้อต่อคน

    สรุปการเจริญเติบโตมี -ภาวะเริ่มอ้วนจากสถานะการณ์เดิมร้อยละ 8.68สถานะการณ์ปัจจุบันร้อยละ 9.26 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.58 -ภาวะผอมจากสถานะกราณ์เดิมร้อยละ 10.79 สถานะกราณ์ปัจจุบันร้อยละ 6.08 ลดลงร้อยละ 4.71 - ภาวะเตี้ยจากสถานะกราณ์เดิมร้อยละ 2.37 สถานะกราณ์ปัจจุบันร้อยละ 2.91 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.54 จากการทำงานของโรงเรียนบ้านลำแดง โรงเรียนแก้ไขปัญหาภาวะนักเรียนผอมได้ดีมาก ส่วนภาวะเริ่มอ้วนและภาวะเตี้ย โรงเรียนดำเนินการได้พอใช้

    2 เพื่อค้นหารูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพทุกคนเทอมละ 1 ครั้ง และให้การดูแลช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม 2. มีระบบการช่วยเหลือการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสมเพื่อป้องกันอันตรายร้ายแรงจนถึงเสียชีวิต 3. มีรายงานเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมถรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกคน เทอมละ 2 ครั้ง

    1.โรงเรียนได้ร่วมมือจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหันตะเภา เข้ามาตรวจสุขภาพนักเรียนภาคเรียนละ 1 ครั้งทุกคน 2.โรงเรียนไม่มีนักเรียนที่ประสบอุบัติเหตุร้ายแรงและมีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม ได้แก่ การประกันชีวิตนักเรียน การส่งต่อผู้ป่วยถึงบ้านและโรงพยาบาล เป็นต้น 3.โรงเรียนมีการทดสอบสมถภาพทางกายของนักเรียนทุกคน พบว่านักเรียนมีสมถภาพทางกายระดับดีขึ้นไปร้อยละ 82.25

    3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในคนในชุมชนในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียนจากสิ่งแวดล้อมอาหารที่ดีต่อสุขภาพสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน
    ตัวชี้วัด : 1. มีการบันทึกสุขภาพนักเรียนรายบุคคลและแบบประเมินพฤติกรรมสุขบัญญัติแห่งชาติ 2. การฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลาง ล้างมือ ในช่วงเวลาการรับประทานอาหาร

    1.นักเรียนมีสุขภาพดีและมีพฤติกรรมสุขบัญญัติแห่งชาติ ระดับดีถึงดีมากร้อยละ 76.00 2.นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลาง ล้างมือ ในช่วงเวลารับประทานอาหาร ร้อยละ 100

    4 เพื่อสร้างสังคมให้มีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารและโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียน
    ตัวชี้วัด : 1. มีรายการอาหารหมุนเวียนราย 1 เดือน ตามมาตรฐานโภชนาการ (ใช้ Thai School Lunch Program) 2. ปรุง ประกอบอาหารถุฏหลักโภชนาการ สุขาภิบาลและอาหารปลอดภัย 3. นักเรียนได้รับประทานอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของมาตรฐานโภชนาการในทุกมื้อ 4. ร้านจำหน่ายอาหารว่างและเครื่องดื่มได้มาตรฐานโภชนาการ

    1.โรงเรียนมีการจัดอาหารหมุนเวียนในแต่ละสัปดาห์ตามมาตรฐานโภชนาการ(ใช้ Thai School Lunch Program) 2. มีการตรวจ การประกอบอาหาร โดยครูที่รับผิดชอบกิจกรรม 3. โรงเรียนมีการประเมินคุณค่าทางอาหารทุกสัปดาห์ 4. โรงเรียนมีการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนและตรวจสอบการจำหน่ายอาหารว่างและเครื่องด่ืมที่ไม่เกินมาตรฐานโภชนาการ

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) . เพื่อนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง (2) เพื่อค้นหารูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในคนในชุมชนในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียนจากสิ่งแวดล้อมอาหารที่ดีต่อสุขภาพสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน (4) เพื่อสร้างสังคมให้มีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารและโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านลำแดง

    รหัสโครงการ ศรร.1213-122 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.21 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    การเพาะเห็ดภูฐาน

    การให้หลักการวิทยาศาสตร์ให้การดูแลเห็ดในโรงเรือน มีการตรวจสอบ/วัดอุณหภูมิ/การกำจัดหนอนโดยไม่ใช้สารเคมี

    การเผยแพร่สู่ชุมชนให้เข้าใจและลดใช้สารเคมี

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    กิจกรรมส่งเสริมอาชีพนักเรียน

    การใช้หลักการของสกรณ์ จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพให้กับนักเรียนรู้จักการคำนวนต้นทุน บันทึกการรับ-จ่าย คำนวนผลกำไร ที่จะเกิดขึ้นจากการทำกิจกรรม และคำนวณหาจุดคุ้มทุนในการผลิตได้

    โรงเรียนจัดกลุ่มหลายหลากอาชีพให้นักเรียนได้ศึกษา เพื่อเป็นทางเลือกในอนาคต

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    ธนาคาร ธกส. เกษตรอำเภอ ชุมชน อบต. วิทยากรชุมชน

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    ผู้บริหารและผู้นำชุมชน ให้การสนับสนุน ในการจัดกิจกรรม

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    ความมุ่งมั่นในการทำงานของนักเรียนแกนนำ

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    มีการแลกเรียนความรู้ระหว่างกัน ยอมรับความคิดเห็น

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    ให้ความร่วมมือกัน และแลกเปลี่ยนกัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    โรงเรียนมีการปลูกผักเพื่อใช้ในโครงการอาหารกลางวันและส่งเสริมอาชีพนักเรียน

    บันทึกกิจกรรมต่างๆ

    ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และเป็นระบบ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

    มีการเลี้ยงไก่ไข่จำนวน 32 ตัว และเลี้ยงปลาดุกจำนวน 2000 ตัว

    กิจกรรมการเลี้ยงไก่ไข่และเลี้ยงปลาดุก

    ติดตาม และตรวจสอบ เป็นระยะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    มีการเพาะเลี้ยงปลาแต่ยังไม่มีผลผลิต

    กิจกรรมเลี้ยงปลาดุก

    ติดตามการทำงานและตรวจสอบเป็นระยะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

    โรงเรียนมีอาหารเช้าจำหน่ายเพิ่ม

    -

    -

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

    โรงเรียนจัดอาหารตามระบบ Thai school lunch

    รายการจัดซื้ออาหาร/วัตถุดิบ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    โรงเรียนจัดอาหารตามระบบ Thai school lunch

    รายการจัดซื้ออาหาร/วัตถุดิบ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    โรงเรียนจัดอาหารตามระบบ Thai school lunch

    รายการจัดซื้ออาหาร/วัตถุดิบ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

    โรงเรียนมีการรับซื้อผลผลิตทางการเกษตรจากชุมชน

    บันทึกการจัดซื้ออาหาร/วัตถุดิบ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

    มีติดตาม ภาวะโภชนาการทุกเดือนและรายงานทุก 3 เดือน

    บันทึกนำ้หนักส่วนสูง

     

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 1/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/2
    เตี้ย 1.26 1.26% 1.26 1.26% 3.13 3.13% 2.08 2.08% 2.37 2.37% 2.91 2.91% 2.47 2.47% 1.63 1.63% 1.08 1.08% 1.90 1.90% 2.45 2.45% 1.09 1.09%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 10.05 10.05% 10.05 10.05% 6.79 6.79% 6.77 6.77% 7.89 7.89% 7.14 7.14% 7.67 7.67% 6.27 6.27% 5.39 5.39% 5.16 5.16% 5.71 5.71% 4.09 4.09%
    ผอม 9.54 9.54% 9.30 9.30% 13.05 13.05% 11.20 11.20% 10.53 10.53% 6.08 6.08% 11.51 11.51% 9.54 9.54% 7.30 7.30% 6.56 6.56% 5.68 5.68% 7.76 7.76%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 18.04 18.04% 17.59 17.59% 22.72 22.72% 21.35 21.35% 21.05 21.05% 15.61 15.61% 20.27 20.27% 19.62 19.62% 18.11 18.11% 16.67 16.67% 13.92 13.92% 14.13 14.13%
    อ้วน 6.96 6.96% 6.53 6.53% 10.18 10.18% 8.59 8.59% 8.68 8.68% 9.26 9.26% 7.95 7.95% 7.90 7.90% 9.46 9.46% 9.84 9.84% 10.51 10.51% 10.80 10.80%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 12.37% 12.37% 11.56% 11.56% 16.97% 16.97% 14.32% 14.32% 14.47% 14.47% 16.93% 16.93% 14.79% 14.79% 17.17% 17.17% 16.49% 16.49% 16.39% 16.39% 16.48% 16.48% 18.01% 18.01%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

    ลดลงจากสถานะการณ์เดิม

    สรุปภาวะโภชนาการนักเรียน ทุก 3 เดือน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

    ลดลงจากสถานะการณ์เดิม

    สรุปภาวะโภชนาการนักเรียน ทุก 3 เดือน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

    ลดลงจากสถานะการณ์เดิม

    สรุปภาวะโภชนาการนักเรียน ทุก 3 เดือน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    ธนาคาร ธกส. เกษตรอำเภอ ชุมชน อบต. วิทยากรชุมชน

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนบ้านลำแดง จังหวัด พระนครศรีอยุธยา

    รหัสโครงการ ศรร.1213-122

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางชุลี รุ่งพานิช )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด