ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 . เพื่อนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนเจริญเติบโตมี - ภาวะเริ่มอ้วนไม่เกิน 10 % หรือลดลงจากสถานะการณ์เดิม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 - ภาวะผอมไม่เกิน7 % หรือลดลงจากสถานะการณ์เดิม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 - ภาวะเตี้ยไม่เกิน 7 %หรือลดลงจากสถานะการณ์เดิม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 2 นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน เฉลี่ย - ผักวันละประมาณ 40-100 กรัม (อนุบาล 3 ช้อน (50 กรัม)) ประถม 4 ช้อน (70 กรัม) และมัธยม 5 ช้อน (90 กรัม)) - ผลไม้(อนุบาล ½ ส่วน ประถม 1 ส่วน) ต่อมื้อต่อคน

สรุปการเจริญเติบโตมี -ภาวะเริ่มอ้วนจากสถานะการณ์เดิมร้อยละ 8.68สถานะการณ์ปัจจุบันร้อยละ 9.26 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.58 -ภาวะผอมจากสถานะกราณ์เดิมร้อยละ 10.79 สถานะกราณ์ปัจจุบันร้อยละ 6.08 ลดลงร้อยละ 4.71 - ภาวะเตี้ยจากสถานะกราณ์เดิมร้อยละ 2.37 สถานะกราณ์ปัจจุบันร้อยละ 2.91 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.54 จากการทำงานของโรงเรียนบ้านลำแดง โรงเรียนแก้ไขปัญหาภาวะนักเรียนผอมได้ดีมาก ส่วนภาวะเริ่มอ้วนและภาวะเตี้ย โรงเรียนดำเนินการได้พอใช้

2 เพื่อค้นหารูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพทุกคนเทอมละ 1 ครั้ง และให้การดูแลช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม 2. มีระบบการช่วยเหลือการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสมเพื่อป้องกันอันตรายร้ายแรงจนถึงเสียชีวิต 3. มีรายงานเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมถรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกคน เทอมละ 2 ครั้ง

1.โรงเรียนได้ร่วมมือจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหันตะเภา เข้ามาตรวจสุขภาพนักเรียนภาคเรียนละ 1 ครั้งทุกคน 2.โรงเรียนไม่มีนักเรียนที่ประสบอุบัติเหตุร้ายแรงและมีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม ได้แก่ การประกันชีวิตนักเรียน การส่งต่อผู้ป่วยถึงบ้านและโรงพยาบาล เป็นต้น 3.โรงเรียนมีการทดสอบสมถภาพทางกายของนักเรียนทุกคน พบว่านักเรียนมีสมถภาพทางกายระดับดีขึ้นไปร้อยละ 82.25

3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในคนในชุมชนในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียนจากสิ่งแวดล้อมอาหารที่ดีต่อสุขภาพสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด : 1. มีการบันทึกสุขภาพนักเรียนรายบุคคลและแบบประเมินพฤติกรรมสุขบัญญัติแห่งชาติ 2. การฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลาง ล้างมือ ในช่วงเวลาการรับประทานอาหาร

1.นักเรียนมีสุขภาพดีและมีพฤติกรรมสุขบัญญัติแห่งชาติ ระดับดีถึงดีมากร้อยละ 76.00 2.นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติใช้ช้อนกลาง ล้างมือ ในช่วงเวลารับประทานอาหาร ร้อยละ 100

4 เพื่อสร้างสังคมให้มีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารและโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. มีรายการอาหารหมุนเวียนราย 1 เดือน ตามมาตรฐานโภชนาการ (ใช้ Thai School Lunch Program) 2. ปรุง ประกอบอาหารถุฏหลักโภชนาการ สุขาภิบาลและอาหารปลอดภัย 3. นักเรียนได้รับประทานอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของมาตรฐานโภชนาการในทุกมื้อ 4. ร้านจำหน่ายอาหารว่างและเครื่องดื่มได้มาตรฐานโภชนาการ

1.โรงเรียนมีการจัดอาหารหมุนเวียนในแต่ละสัปดาห์ตามมาตรฐานโภชนาการ(ใช้ Thai School Lunch Program) 2. มีการตรวจ การประกอบอาหาร โดยครูที่รับผิดชอบกิจกรรม 3. โรงเรียนมีการประเมินคุณค่าทางอาหารทุกสัปดาห์ 4. โรงเรียนมีการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนและตรวจสอบการจำหน่ายอาหารว่างและเครื่องด่ืมที่ไม่เกินมาตรฐานโภชนาการ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) . เพื่อนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง (2) เพื่อค้นหารูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในคนในชุมชนในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียนจากสิ่งแวดล้อมอาหารที่ดีต่อสุขภาพสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน (4) เพื่อสร้างสังคมให้มีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารและโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh