แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โรงเรียนบ้านเหมืองแร่
“ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ ”
599 ถนนฝางแม่สรวย ม.6 ตำบลแม่คะ อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
หัวหน้าโครงการ
นายโสภณ ธิพึง
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่
ที่อยู่ 599 ถนนฝางแม่สรวย ม.6 ตำบลแม่คะ อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัด เชียงใหม่
รหัสโครงการ ศรร.1113-002 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.02
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ จังหวัดเชียงใหม่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 599 ถนนฝางแม่สรวย ม.6 ตำบลแม่คะ อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านเหมืองแร่
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ " ดำเนินการในพื้นที่ 599 ถนนฝางแม่สรวย ม.6 ตำบลแม่คะ อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ รหัสโครงการ ศรร.1113-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 772 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านเหมืองแร่ จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
(สรุปผลการดำเนินงาน ของโครงการฯ ปีที่ 1 พร้อมสถานการณ์ด้านอาหารและโภชนาการของเด็กนักเรียน ก่อน-หลัง
เข้าร่วมโครงการ และกิจกรรมที่ประสบความสำเร็จที่เห็นผลผลิต ผลลัพธ์ หรือนวัตกรรม อย่างเป็นรูปธรรม ตามข้อมูลในใบสมัครส่วนที่3)
กิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์/นวัตกรรม
3.1 การเกษตรในโรงเรียน โรงเรียนมีกิจกรรมการเรียนการสอนเศรษฐกิจพอเพียงมีพื้นที่ทำการเกษตรปลูกผักสวนครัวเลี้ยงไก่พันธ์เนื้อเลี้ยงปลาเพาะเห็ดนำผลผลิตที่ได้ไปประกอบอาหารกลางวันแก่นักเรียน
3.2 สหกรณ์นักเรียน โรงเรียนได้ให้นักเรียนรับผิดชอบในการจัดกิจกรรมโดยมีครูเป็นผู้ควบคุมดูแล
3.3 การจัดบริการอาหารของโรงเรียน มีการจัดบริการอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนทุกคนโดยการจ้างเหมาแม่ครัวให้มาทำอาหารที่โรงเรียนโดยมีคณะครูรับผิดชอบดูและและจัดเมนูอาหารโดยยึดตามThaischool Luch
3.4 การติดตามภาวะโภชนาการ มีการติดตามนักเรียนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโดยตรวจเช็คภาวะโภชนาการเป็นประจำและจัดกิจกรรมให้อาหารเสริมแก่นักเรียนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงผอม
3.5 การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน โรงเรียนมีกิจกรรมโครงการเสริมทักษะทางด้านดนตรีและกีฬาเพื่อพัฒนาสุขนิสัยและสุขภาพร่างกายของนักเรียน
3.6 การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ โรงเรียนมีบริการน้ำดื่มน้ำใช้ให้แก่นักเรียนและมีห้องน้ำห้องส้วมที่ถูกต้องตามหลักสุขอนามัย
3.7 การจัดบริการสุขภาพ โรงเรียนมีห้องพยาบาลเพื่อให้บริการแก่นักเรียนที่ประสบอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วยไม่สบายและได้รับความอนุเคราะห์เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากโรงพยาบาลศูนย์สุขภาพตำบลห้วยไคร้มาตรวจสุขภาพแต่ละปี
3.8 การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โรงเรียนได้มีหลักสูตรและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาเศรษฐกิจพอเพียงและบูรณาการในแต่ละกลุ่มสาระ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อพัฒนาพฤติกรรมของนักเรียนและผู้ปกครองให้เกิดความตระหนักสำนึกในคุณค่าอาหารและมีสุขนิสัยที่ดีในด้านโภชนาการอย่างยั่งยืน
- 2.เพื่อพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจการบริหารจัดการในโรงเรียนที่มีการเชื่อมโยงระหว่างงานเกษตร และสหกรณ์นักเรียน สู่การจัดบริการอาหารกลางวัน
- 3.เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนโดยเน้นการมีส่วนร่วมขององค์กรในท้องถิ่นและองค์กรเครือข่ายให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพกับชุมชน ตลอดจนองค์กรหน่วยงานที่สนใจ
- 4. เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยของนักเรียนให้อยู่ตามเกณฑ์ภาวะโภชนาการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนและผู้ปกครองเกิดความตระหนักสำนึกในคุณค่าอาหารและมีสุขนิสัยที่ดีในด้านโภชนาการอย่างยั่งยืน
- คณะครูบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ในเรื่องการจัดการอาหาร ด้านโภชนาการ การทำการเกษตร
การสหกรณ์และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี
- โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ที่ดีมีประโยชน์แก่เครือข่ายและหน่วยงานต่าง ๆ
- โรงเรียนมีนวัตกรรมที่แปลกใหม่สำหรับใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนและมีผลผลิตนำไปประกอบเป็นอาหาร
กลางวันให้แก่นักเรียนได้เป็นอย่างดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาเรื่องการบริหารจัดการในโรงเรียน เกี่ยวกับงานเกษตรสหกรณ์และอาหารกลางวัน
วันที่ 10 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดอบรมภาคทฤษฏี
2.จัดกิจกรรมภาคปฏิบัติเรียนรู้ตามฐานตามกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
คณะครูบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนได้เข้ารับการอบรมทุกคน
ผลลัพท์
คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนมีความรู้และทักษะในการทำการเกษตรและการสหกรณ์ได้อย่างถูกต้อง
34
38
2. กิจกรรมอาหารกลางวัน
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 12:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับประทานอาหารกลางวัน
นักเรียนร้อยละ 100 มีภาวะโภชนาการที่ดี
0
0
3. อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างความตระหนักสำนึกในคุณค่าและมีสุขนิสัยที่ดีในด้าน โภชนาการ
วันที่ 4 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมวางแผนจัดทำโครงการ แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ เสนอโครงการ
- จัดอบรมโดยเชิญวิทยากร เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่คะ มาบรรยายให้ความรู้
- วัดและประเมินผลโดยทำแบบสอบถาม
- สรุปรายงานโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของสุขภาพอนามัยและภาวะโภชนาการตามวัยร้อยละ80
- นักเรียนสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆได้ ร้อยละ80
- นักเรียนรู้วิธีและสามารถปฏิบัติการปฏิบัติการรักษาสุขภาพอนามัยได้ ร้อยละ80
- นักเรียนร้อยละ 80 มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงมีสุขนิสัยที่ดีในด้านโภชนาการ
80
88
4. กิจกรรมการเลี้ยงไก่
วันที่ 6 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้การเลี้ยงไก่
- โรงเรียนมีผลิตไก่มาประกอบอาหารกลางวันของนักเรียน
400
0
5. กิจกรรมการเลี้ยงเป็ด
วันที่ 14 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมวางแผน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ 3. ดำเนินงานตามแผน 4. ติดตามประเมินผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ร้อยละ 70 โรงเรียนมีผลผลิตจาการเลี้ยงเป็ดไปประกอบอาหารกลางวัน
400
0
6. กิจรรมการเลี้ยงปลา
วันที่ 19 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมคณะดำเนินงาน
- แต่งตั้งคณะกรรมการ
- ดำเนินงานตามแผนโดยให้นักเรียนเป็นผู้ดูแลในการให้อาหารปลา
- ติดตามและประเมินผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ในการเลี้ยงปลา
- โรงเรียนมีผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
400
0
7. กิจกรรมการปลูกพืชไร่
วันที่ 20 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ร้อยละ 70 โรงเรียนมีผลผลิตทางด้านการเกษตรมาประกอบอาหารกลางวัน
400
0
8. กิจกรรมการปลูกพืชสวน
วันที่ 16 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ร้อยละ 70 โรงเรียนมีผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
400
0
9. กิจกรรมการตรวจสุขภาพนักเรียน
วันที่ 17 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับการตรวจสุขภาพนักเรียนจากเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านห้วยไคร้
492
0
10. กิจกรรมการอุดฟัน
วันที่ 24 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมคณะดำเนินงาน
- แต่งตั้งคณะกรรมการ
- ดำเนินงานตามแผน
- ติดตามและประเมินผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ร้อยละ 100 นักเรียนมีสุขภาพฟันที่ดีไม่มีฟันผุ
0
0
11. จัดนิทรรศการถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา
วันที่ 14 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดนิทรรศการการดำเนินงานกิจกรรมเด็กไทยแก้มใสถวายแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาและประชาชนทั่วไปได้เยี่ยมชม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1. ผู้อำนวยการโรงเรียนได้กล่าวถวายการดำเนินงานกิจกรรมเด็กไทยแก้มใสถวายแด่สมเด็จพระเทพ ฯ
2. โรงเรียนได้โชว์ผลงานการจัดกิจกรรมเด็กไทยแก้มใส
3. โรงเรียนได้รับคำชมเชยจากทุกๆหน่วยงาน
0
0
12. จัดทำป้ายข้อมูลสารสนเทศในแหล่งเรียนรู้
วันที่ 21 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โรงเรียนมีป้ายแสดงผลงานการจัดกิจกรรมเด็กไทยแก้มใส
0
0
13. นัดตรวจโครงการฯ ทำรายงานการเงินและรายงานกิจกรรม งวดที่ 1
วันที่ 17 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครูผู้รับผิดชอบโครงการได้ทราบรายละเอียดการทำเอกสารทางการเงินที่ถูกต้อง
2
2
14. สร้างนวัตกรรมใหม่การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
วันที่ 26 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การวางแผนการดำเนินงาน
1.1 ผู้บริหาร เชิญประชุมคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อประชุมวางแผนการดำเนินงานตามกิจกรรม
1.2 นำข้อสรุปจากที่ประชุมวางแผนการดำเนินงานโดยจัดทำกำหนดการและการจัดกิจกรรมตามโครงการ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่
1.3 คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนจัดเตรียมงานตามหน้าที่รับผิดชอบ
การดำเนินงาน ตามลำดับขั้นตอนการดำเนินงานความร่วมมือของทีมงาน
2.1 ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านเหมืองแร่รับผิดชอบการดำเนินงานตามโครงการและกิจกรรม
2.2 คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรมประชุมวางแผนการดำเนินงาน
2.3 คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้รับผิดชอบมีมติให้ดำเนินงานตามโครงการและกิจกรรม ในเดือน ธันวาคม 2559 โดยแบ่งหน้าที่รับผิดชอบการดำเนินงานตามคำสั่งของโรงเรียน
2.4 ดำเนินกิจกรรมการสร้างนวัตกรรมการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
การตรวจสอบและประเมินผล
3.1 ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลโครงการ
3.2 แบบประเมินการดำเนินกิจกรรมต่างๆ จากแบบติดตามประเมินผล ปรากฏว่าบุคลากรที่เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจในการจัดสร้างนวัตกรรม คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งถือว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ตั้งไว้
3.3 เก็บภาพการดำเนินกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้น คือ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่มีนวัตกรรมใหม่ในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ เป็นโรงเรือนที่ไม่เปลืองพื้นที่ สามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับโรงเรียนเครือข่าย ชุมชน และผู้ที่สนใจในการปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน
0
0
15. อบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้อง แม่ครัว ผู้ปกครองและนักเรียนแกนนำเรื่องการบริหารจัดการอาหารตามหลักโภชนาการสมวัย และ การใช้เมนู TSL มาจัดบริการอาหารกลางวันหมุนเวียนรายเดือน และการนำไปประยุกต์ใช้ที่บ้านของผู้ปกครองทุกคน
วันที่ 27 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
แต่งตั้งคณะกรรมการในการดำเนินงาน เชิญวิทยากร เชิญผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมอบรม เชิงปฏิบัติการการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้อง แม่ครัว ผู้ปกครองและนักเรียนแกนนำ เรื่องการบริหารจัดการอาหารตามหลักโภชนาการสมวัย และ การใช้เมนู TSL มาจัดบริการอาหารกลางวันหมุนเวียนรายเดือน และการนำไปประยุกต์ใช้ที่บ้านของผู้ปกครองทุกคน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
บุคลากรที่เกี่ยวข้อง แม่ครัว ผู้ปกครองและนักเรียนแกนนำ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ สามารถเลือกจัดเมนูหมุนเวียนที่มั่นใจว่าได้คุณค่าสารอาหารตามมาตรฐานด้วยตนเอง สามารถวางแผนเมนูหมุนเวียนที่ได้คุณค่าสารอาหารตามมาตรฐานที่สอดคล้องกับความชอบ วัตถุดิบอาหารหรือผลผลิตที่มีในท้องถิ่นและงบประมาณ สามารถทราบปริมาณวัตถุดิบอาหารที่ต้องจัดเตรียมให้ได้คุณค่าอาหารตามมาตรฐานสำหรับจำนวนผู้รับบริการที่กำหนดและสามารถตรวจสอบคุณค่าสารอาหารได้ด้วยตนเอง และมีความรู้ความเข้าใจและเห็นความสำคัญของคุณค่าสารอาหาร ภาวะโภชนาการ
50
50
16. สร้างนวัตกรรมการทำ banana hidro
วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การวางแผนการดำเนินงาน
1.1 ผู้บริหาร เชิญประชุมคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อประชุมวางแผนการดำเนินงานตามกิจกรรม
1.2 นำข้อสรุปจากที่ประชุมวางแผนการดำเนินงานโดยจัดทำกำหนดการและการจัดกิจกรรมตามโครงการ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่
1.3 คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนจัดเตรียมงานตามหน้าที่รับผิดชอบ
การดำเนินงาน ตามลำดับขั้นตอนการดำเนินงานความร่วมมือของทีมงาน
2.1 ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านเหมืองแร่รับผิดชอบการดำเนินงานตามโครงการและกิจกรรม
2.2 คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรมประชุมวางแผนการดำเนินงาน
2.3 คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้รับผิดชอบมีมติให้ดำเนินงานตามโครงการและกิจกรรม ในเดือน ธันวาคม 2559 โดยแบ่งหน้าที่รับผิดชอบการดำเนินงานตามคำสั่งของโรงเรียน
2.4 ดำเนินกิจกรรมการสร้างนวัตกรรมการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
การตรวจสอบและประเมินผล
3.1 ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลโครงการ
3.2 แบบประเมินการดำเนินกิจกรรมต่างๆ จากแบบติดตามประเมินผล ปรากฏว่าบุคลากรที่เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจในการจัดสร้างนวัตกรรม คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งถือว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ตั้งไว้
3.3 ภาพการดำเนินกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ ได้ดำเนินการปลูกผักบนต้นกล้วย หรือ banana hidro ซึ่งเป็นนวัตกรรมนี้เป็นเรื่องใกล้ตัว ที่ใช้วัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น สามารถนำไปเผยแพร่สู่ชมชน และผู้ที่สนใจโดยโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อให้ความรู้แก่บุคคลที่สนใจทั่วไป
0
0
17. ถอนเงินเปิดบัญชี
วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ถอนเงินเปิดบัญชี
3
3
18. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ
วันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คืนเงินดอกเบี้ยธนาคารเพื่อปิดโครงการ
3
1
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อพัฒนาพฤติกรรมของนักเรียนและผู้ปกครองให้เกิดความตระหนักสำนึกในคุณค่าอาหารและมีสุขนิสัยที่ดีในด้านโภชนาการอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ100มีสุขนิสัยที่ดีในด้านโภชนาการ
ผู้ปกครองร้อยละ80มีสุขนิสัยที่ดีในด้านโภชนาการ
2
2.เพื่อพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจการบริหารจัดการในโรงเรียนที่มีการเชื่อมโยงระหว่างงานเกษตร และสหกรณ์นักเรียน สู่การจัดบริการอาหารกลางวัน
ตัวชี้วัด : บุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจการบริหารจัดการในโรงเรียนที่มีการเชื่อมโยงระหว่างงานเกษตร และสหกรณ์นักเรียน สู่การจัดบริการอาหารกลางวัน
3
3.เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนโดยเน้นการมีส่วนร่วมขององค์กรในท้องถิ่นและองค์กรเครือข่ายให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพกับชุมชน ตลอดจนองค์กรหน่วยงานที่สนใจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ
4
4. เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยของนักเรียนให้อยู่ตามเกณฑ์ภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ90นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ จังหวัด เชียงใหม่
รหัสโครงการ ศรร.1113-002
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายโสภณ ธิพึง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โรงเรียนบ้านเหมืองแร่
“ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ ”
599 ถนนฝางแม่สรวย ม.6 ตำบลแม่คะ อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่หัวหน้าโครงการ
นายโสภณ ธิพึง
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่
ที่อยู่ 599 ถนนฝางแม่สรวย ม.6 ตำบลแม่คะ อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัด เชียงใหม่
รหัสโครงการ ศรร.1113-002 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.02
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ จังหวัดเชียงใหม่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 599 ถนนฝางแม่สรวย ม.6 ตำบลแม่คะ อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านเหมืองแร่
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ " ดำเนินการในพื้นที่ 599 ถนนฝางแม่สรวย ม.6 ตำบลแม่คะ อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ รหัสโครงการ ศรร.1113-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 772 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านเหมืองแร่ จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
(สรุปผลการดำเนินงาน ของโครงการฯ ปีที่ 1 พร้อมสถานการณ์ด้านอาหารและโภชนาการของเด็กนักเรียน ก่อน-หลัง
เข้าร่วมโครงการ และกิจกรรมที่ประสบความสำเร็จที่เห็นผลผลิต ผลลัพธ์ หรือนวัตกรรม อย่างเป็นรูปธรรม ตามข้อมูลในใบสมัครส่วนที่3)
กิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์/นวัตกรรม 3.1 การเกษตรในโรงเรียน โรงเรียนมีกิจกรรมการเรียนการสอนเศรษฐกิจพอเพียงมีพื้นที่ทำการเกษตรปลูกผักสวนครัวเลี้ยงไก่พันธ์เนื้อเลี้ยงปลาเพาะเห็ดนำผลผลิตที่ได้ไปประกอบอาหารกลางวันแก่นักเรียน 3.2 สหกรณ์นักเรียน โรงเรียนได้ให้นักเรียนรับผิดชอบในการจัดกิจกรรมโดยมีครูเป็นผู้ควบคุมดูแล 3.3 การจัดบริการอาหารของโรงเรียน มีการจัดบริการอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนทุกคนโดยการจ้างเหมาแม่ครัวให้มาทำอาหารที่โรงเรียนโดยมีคณะครูรับผิดชอบดูและและจัดเมนูอาหารโดยยึดตามThaischool Luch 3.4 การติดตามภาวะโภชนาการ มีการติดตามนักเรียนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโดยตรวจเช็คภาวะโภชนาการเป็นประจำและจัดกิจกรรมให้อาหารเสริมแก่นักเรียนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงผอม 3.5 การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน โรงเรียนมีกิจกรรมโครงการเสริมทักษะทางด้านดนตรีและกีฬาเพื่อพัฒนาสุขนิสัยและสุขภาพร่างกายของนักเรียน 3.6 การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ โรงเรียนมีบริการน้ำดื่มน้ำใช้ให้แก่นักเรียนและมีห้องน้ำห้องส้วมที่ถูกต้องตามหลักสุขอนามัย 3.7 การจัดบริการสุขภาพ โรงเรียนมีห้องพยาบาลเพื่อให้บริการแก่นักเรียนที่ประสบอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วยไม่สบายและได้รับความอนุเคราะห์เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากโรงพยาบาลศูนย์สุขภาพตำบลห้วยไคร้มาตรวจสุขภาพแต่ละปี 3.8 การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โรงเรียนได้มีหลักสูตรและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาเศรษฐกิจพอเพียงและบูรณาการในแต่ละกลุ่มสาระ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อพัฒนาพฤติกรรมของนักเรียนและผู้ปกครองให้เกิดความตระหนักสำนึกในคุณค่าอาหารและมีสุขนิสัยที่ดีในด้านโภชนาการอย่างยั่งยืน
- 2.เพื่อพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจการบริหารจัดการในโรงเรียนที่มีการเชื่อมโยงระหว่างงานเกษตร และสหกรณ์นักเรียน สู่การจัดบริการอาหารกลางวัน
- 3.เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนโดยเน้นการมีส่วนร่วมขององค์กรในท้องถิ่นและองค์กรเครือข่ายให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพกับชุมชน ตลอดจนองค์กรหน่วยงานที่สนใจ
- 4. เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยของนักเรียนให้อยู่ตามเกณฑ์ภาวะโภชนาการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนและผู้ปกครองเกิดความตระหนักสำนึกในคุณค่าอาหารและมีสุขนิสัยที่ดีในด้านโภชนาการอย่างยั่งยืน
- คณะครูบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ในเรื่องการจัดการอาหาร ด้านโภชนาการ การทำการเกษตร การสหกรณ์และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี
- โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ที่ดีมีประโยชน์แก่เครือข่ายและหน่วยงานต่าง ๆ
- โรงเรียนมีนวัตกรรมที่แปลกใหม่สำหรับใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนและมีผลผลิตนำไปประกอบเป็นอาหาร
กลางวันให้แก่นักเรียนได้เป็นอย่างดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาเรื่องการบริหารจัดการในโรงเรียน เกี่ยวกับงานเกษตรสหกรณ์และอาหารกลางวัน |
||
วันที่ 10 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดอบรมภาคทฤษฏี 2.จัดกิจกรรมภาคปฏิบัติเรียนรู้ตามฐานตามกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต คณะครูบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนได้เข้ารับการอบรมทุกคน ผลลัพท์ คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนมีความรู้และทักษะในการทำการเกษตรและการสหกรณ์ได้อย่างถูกต้อง
|
34 | 38 |
2. กิจกรรมอาหารกลางวัน |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 12:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนร้อยละ 100 ได้รับประทานอาหารกลางวัน นักเรียนร้อยละ 100 มีภาวะโภชนาการที่ดี
|
0 | 0 |
3. อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างความตระหนักสำนึกในคุณค่าและมีสุขนิสัยที่ดีในด้าน โภชนาการ |
||
วันที่ 4 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
80 | 88 |
4. กิจกรรมการเลี้ยงไก่ |
||
วันที่ 6 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
400 | 0 |
5. กิจกรรมการเลี้ยงเป็ด |
||
วันที่ 14 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร้อยละ 70 โรงเรียนมีผลผลิตจาการเลี้ยงเป็ดไปประกอบอาหารกลางวัน
|
400 | 0 |
6. กิจรรมการเลี้ยงปลา |
||
วันที่ 19 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
400 | 0 |
7. กิจกรรมการปลูกพืชไร่ |
||
วันที่ 20 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร้อยละ 70 โรงเรียนมีผลผลิตทางด้านการเกษตรมาประกอบอาหารกลางวัน
|
400 | 0 |
8. กิจกรรมการปลูกพืชสวน |
||
วันที่ 16 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร้อยละ 70 โรงเรียนมีผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
|
400 | 0 |
9. กิจกรรมการตรวจสุขภาพนักเรียน |
||
วันที่ 17 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนร้อยละ 100 ได้รับการตรวจสุขภาพนักเรียนจากเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านห้วยไคร้
|
492 | 0 |
10. กิจกรรมการอุดฟัน |
||
วันที่ 24 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร้อยละ 100 นักเรียนมีสุขภาพฟันที่ดีไม่มีฟันผุ
|
0 | 0 |
11. จัดนิทรรศการถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา |
||
วันที่ 14 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดนิทรรศการการดำเนินงานกิจกรรมเด็กไทยแก้มใสถวายแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาและประชาชนทั่วไปได้เยี่ยมชม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1. ผู้อำนวยการโรงเรียนได้กล่าวถวายการดำเนินงานกิจกรรมเด็กไทยแก้มใสถวายแด่สมเด็จพระเทพ ฯ 2. โรงเรียนได้โชว์ผลงานการจัดกิจกรรมเด็กไทยแก้มใส 3. โรงเรียนได้รับคำชมเชยจากทุกๆหน่วยงาน
|
0 | 0 |
12. จัดทำป้ายข้อมูลสารสนเทศในแหล่งเรียนรู้ |
||
วันที่ 21 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโรงเรียนมีป้ายแสดงผลงานการจัดกิจกรรมเด็กไทยแก้มใส
|
0 | 0 |
13. นัดตรวจโครงการฯ ทำรายงานการเงินและรายงานกิจกรรม งวดที่ 1 |
||
วันที่ 17 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครูผู้รับผิดชอบโครงการได้ทราบรายละเอียดการทำเอกสารทางการเงินที่ถูกต้อง
|
2 | 2 |
14. สร้างนวัตกรรมใหม่การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ |
||
วันที่ 26 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น คือ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่มีนวัตกรรมใหม่ในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ เป็นโรงเรือนที่ไม่เปลืองพื้นที่ สามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับโรงเรียนเครือข่าย ชุมชน และผู้ที่สนใจในการปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน
|
0 | 0 |
15. อบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้อง แม่ครัว ผู้ปกครองและนักเรียนแกนนำเรื่องการบริหารจัดการอาหารตามหลักโภชนาการสมวัย และ การใช้เมนู TSL มาจัดบริการอาหารกลางวันหมุนเวียนรายเดือน และการนำไปประยุกต์ใช้ที่บ้านของผู้ปกครองทุกคน |
||
วันที่ 27 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำแต่งตั้งคณะกรรมการในการดำเนินงาน เชิญวิทยากร เชิญผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมอบรม เชิงปฏิบัติการการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้อง แม่ครัว ผู้ปกครองและนักเรียนแกนนำ เรื่องการบริหารจัดการอาหารตามหลักโภชนาการสมวัย และ การใช้เมนู TSL มาจัดบริการอาหารกลางวันหมุนเวียนรายเดือน และการนำไปประยุกต์ใช้ที่บ้านของผู้ปกครองทุกคน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นบุคลากรที่เกี่ยวข้อง แม่ครัว ผู้ปกครองและนักเรียนแกนนำ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ สามารถเลือกจัดเมนูหมุนเวียนที่มั่นใจว่าได้คุณค่าสารอาหารตามมาตรฐานด้วยตนเอง สามารถวางแผนเมนูหมุนเวียนที่ได้คุณค่าสารอาหารตามมาตรฐานที่สอดคล้องกับความชอบ วัตถุดิบอาหารหรือผลผลิตที่มีในท้องถิ่นและงบประมาณ สามารถทราบปริมาณวัตถุดิบอาหารที่ต้องจัดเตรียมให้ได้คุณค่าอาหารตามมาตรฐานสำหรับจำนวนผู้รับบริการที่กำหนดและสามารถตรวจสอบคุณค่าสารอาหารได้ด้วยตนเอง และมีความรู้ความเข้าใจและเห็นความสำคัญของคุณค่าสารอาหาร ภาวะโภชนาการ
|
50 | 50 |
16. สร้างนวัตกรรมการทำ banana hidro |
||
วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโรงเรียนบ้านเหมืองแร่ ได้ดำเนินการปลูกผักบนต้นกล้วย หรือ banana hidro ซึ่งเป็นนวัตกรรมนี้เป็นเรื่องใกล้ตัว ที่ใช้วัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น สามารถนำไปเผยแพร่สู่ชมชน และผู้ที่สนใจโดยโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อให้ความรู้แก่บุคคลที่สนใจทั่วไป
|
0 | 0 |
17. ถอนเงินเปิดบัญชี |
||
วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นถอนเงินเปิดบัญชี
|
3 | 3 |
18. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ |
||
วันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคืนเงินดอกเบี้ยธนาคารเพื่อปิดโครงการ
|
3 | 1 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อพัฒนาพฤติกรรมของนักเรียนและผู้ปกครองให้เกิดความตระหนักสำนึกในคุณค่าอาหารและมีสุขนิสัยที่ดีในด้านโภชนาการอย่างยั่งยืน ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ100มีสุขนิสัยที่ดีในด้านโภชนาการ ผู้ปกครองร้อยละ80มีสุขนิสัยที่ดีในด้านโภชนาการ |
||||
2 | 2.เพื่อพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจการบริหารจัดการในโรงเรียนที่มีการเชื่อมโยงระหว่างงานเกษตร และสหกรณ์นักเรียน สู่การจัดบริการอาหารกลางวัน ตัวชี้วัด : บุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจการบริหารจัดการในโรงเรียนที่มีการเชื่อมโยงระหว่างงานเกษตร และสหกรณ์นักเรียน สู่การจัดบริการอาหารกลางวัน |
||||
3 | 3.เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนโดยเน้นการมีส่วนร่วมขององค์กรในท้องถิ่นและองค์กรเครือข่ายให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพกับชุมชน ตลอดจนองค์กรหน่วยงานที่สนใจ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ |
||||
4 | 4. เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยของนักเรียนให้อยู่ตามเกณฑ์ภาวะโภชนาการ ตัวชี้วัด : ร้อยละ90นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ จังหวัด เชียงใหม่
รหัสโครงการ ศรร.1113-002
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายโสภณ ธิพึง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......