ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ |
สังกัด | ?? |
หน่วยงานต้นสังกัด | สพป.เชียงใหม่ เขต 3 |
ที่อยู่โรงเรียน | 599 ถนนฝางแม่สรวย หมู่ที่ 6 ตำบลแม่คะ อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 50110 |
จำนวนนักเรียน | 487 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม,มัธยมต้น |
ผู้อำนวยการ | นายโสภณ ธิพึง |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางสาวขวัญดารินทร์ วารีธนพัชร์ |
กิจกรรมการเกษตรในโรงเรียน โดยบูรณาการฐานการเรียนรู้ 5 ฐานการเรียนรู้
1.1 ฐานการเรียนรู้ ตามรอยพระราชา
1.2 ฐานการเรียนรู้ ไก่ เห็ด ปลา น่าเรียนรู้
1.3 ผักเชิดชูคุณธรรม
1.4 ทำขยะอินทรีย์ให้มีคุณค่า
1.5 ทำขยะทั่วไปให้มีคุณค่า
- เกิดแหล่งเรียนรู้เด็กไทยแก้มใสวิถีชีวิตสุขภาวะในโรงเรียนและชุมชนอย่างครบวงจร โดยสร้างการมีส่วนร่วมและความเป็นเจ้าของจากชุมชน เกิดเป็น นโยบายสาธารณะตามบริบทของชุมชน 2. เกิดคณะกรรมการขับเคลื่อนการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนระดับจังหวัด หรือระดับอำเภอ หรือระดับตำบล อย่างต่อเนื่องสามารถเป็นต้นแบบเพื่อนำไปขยายผลต่อได้ 3. เกิดเครือข่ายเกษตรปลอดภัยในชุมชนส่งผลผลิตสู่อาหารกลางวันโรงเรียนของศูนย์เรียนรู้และโรงเรียนเครือข่ายกลุ่มเป้าหมาย 4. เกิดการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียน และพฤติกรรมสุขภาพนักเรียนที่ดีขึ้น
คืนเงินดอกเบี้ยธนาคารเพื่อปิดโครงการ
ถอนเงินเปิดบัญชี
แต่งตั้งคณะกรรมการในการดำเนินงาน เชิญวิทยากร เชิญผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมอบรม เชิงปฏิบัติการการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้อง แม่ครัว ผู้ปกครองและนักเรียนแกนนำ เรื่องการบริหารจัดการอาหารตามหลักโภชนาการสมวัย และ การใช้เมนู TSL มาจัดบริการอาหารกลางวันหมุนเวียนรายเดือน และการนำไปประยุกต์ใช้ที่บ้านของผู้ปกครองทุกคน
บุคลากรที่เกี่ยวข้อง แม่ครัว ผู้ปกครองและนักเรียนแกนนำ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ สามารถเลือกจัดเมนูหมุนเวียนที่มั่นใจว่าได้คุณค่าสารอาหารตามมาตรฐานด้วยตนเอง สามารถวางแผนเมนูหมุนเวียนที่ได้คุณค่าสารอาหารตามมาตรฐานที่สอดคล้องกับความชอบ วัตถุดิบอาหารหรือผลผลิตที่มีในท้องถิ่นและงบประมาณ สามารถทราบปริมาณวัตถุดิบอาหารที่ต้องจัดเตรียมให้ได้คุณค่าอาหารตามมาตรฐานสำหรับจำนวนผู้รับบริการที่กำหนดและสามารถตรวจสอบคุณค่าสารอาหารได้ด้วยตนเอง และมีความรู้ความเข้าใจและเห็นความสำคัญของคุณค่าสารอาหาร ภาวะโภชนาการ
ครูผู้รับผิดชอบโครงการได้ทราบรายละเอียดการทำเอกสารทางการเงินที่ถูกต้อง
โรงเรียนมีป้ายแสดงผลงานการจัดกิจกรรมเด็กไทยแก้มใส
- ประชุมคณะดำเนินงาน
- แต่งตั้งคณะกรรมการ
- ดำเนินงานตามแผน
- ติดตามและประเมินผล
ร้อยละ 100 นักเรียนมีสุขภาพฟันที่ดีไม่มีฟันผุ
นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับการตรวจสุขภาพนักเรียนจากเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านห้วยไคร้
การวางแผนการดำเนินงาน 1.1 ผู้บริหาร เชิญประชุมคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อประชุมวางแผนการดำเนินงานตามกิจกรรม 1.2 นำข้อสรุปจากที่ประชุมวางแผนการดำเนินงานโดยจัดทำกำหนดการและการจัดกิจกรรมตามโครงการ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ 1.3 คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนจัดเตรียมงานตามหน้าที่รับผิดชอบ
การดำเนินงาน ตามลำดับขั้นตอนการดำเนินงานความร่วมมือของทีมงาน 2.1 ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านเหมืองแร่รับผิดชอบการดำเนินงานตามโครงการและกิจกรรม
2.2 คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรมประชุมวางแผนการดำเนินงาน 2.3 คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้รับผิดชอบมีมติให้ดำเนินงานตามโครงการและกิจกรรม ในเดือน ธันวาคม 2559 โดยแบ่งหน้าที่รับผิดชอบการดำเนินงานตามคำสั่งของโรงเรียน 2.4 ดำเนินกิจกรรมการสร้างนวัตกรรมการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์การตรวจสอบและประเมินผล
3.1 ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลโครงการ 3.2 แบบประเมินการดำเนินกิจกรรมต่างๆ จากแบบติดตามประเมินผล ปรากฏว่าบุคลากรที่เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจในการจัดสร้างนวัตกรรม คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งถือว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ตั้งไว้ 3.3 ภาพการดำเนินกิจกรรม
โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ ได้ดำเนินการปลูกผักบนต้นกล้วย หรือ banana hidro ซึ่งเป็นนวัตกรรมนี้เป็นเรื่องใกล้ตัว ที่ใช้วัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น สามารถนำไปเผยแพร่สู่ชมชน และผู้ที่สนใจโดยโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อให้ความรู้แก่บุคคลที่สนใจทั่วไป
จัดนิทรรศการการดำเนินงานกิจกรรมเด็กไทยแก้มใสถวายแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาและประชาชนทั่วไปได้เยี่ยมชม
1. ผู้อำนวยการโรงเรียนได้กล่าวถวายการดำเนินงานกิจกรรมเด็กไทยแก้มใสถวายแด่สมเด็จพระเทพ ฯ 2. โรงเรียนได้โชว์ผลงานการจัดกิจกรรมเด็กไทยแก้มใส 3. โรงเรียนได้รับคำชมเชยจากทุกๆหน่วยงาน
ร้อยละ 70 โรงเรียนมีผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
ร้อยละ 70 โรงเรียนมีผลผลิตทางด้านการเกษตรมาประกอบอาหารกลางวัน
- ประชุมคณะดำเนินงาน
- แต่งตั้งคณะกรรมการ
- ดำเนินงานตามแผนโดยให้นักเรียนเป็นผู้ดูแลในการให้อาหารปลา
- ติดตามและประเมินผล
- โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ในการเลี้ยงปลา
- โรงเรียนมีผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน
- ประชุมวางแผน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ 3. ดำเนินงานตามแผน 4. ติดตามประเมินผล
ร้อยละ 70 โรงเรียนมีผลผลิตจาการเลี้ยงเป็ดไปประกอบอาหารกลางวัน
- โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้การเลี้ยงไก่
- โรงเรียนมีผลิตไก่มาประกอบอาหารกลางวันของนักเรียน
นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับประทานอาหารกลางวัน นักเรียนร้อยละ 100 มีภาวะโภชนาการที่ดี
การวางแผนการดำเนินงาน 1.1 ผู้บริหาร เชิญประชุมคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อประชุมวางแผนการดำเนินงานตามกิจกรรม 1.2 นำข้อสรุปจากที่ประชุมวางแผนการดำเนินงานโดยจัดทำกำหนดการและการจัดกิจกรรมตามโครงการ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ 1.3 คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนจัดเตรียมงานตามหน้าที่รับผิดชอบ
การดำเนินงาน ตามลำดับขั้นตอนการดำเนินงานความร่วมมือของทีมงาน 2.1 ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านเหมืองแร่รับผิดชอบการดำเนินงานตามโครงการและกิจกรรม
2.2 คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้รับผิดชอบกิจกรรมประชุมวางแผนการดำเนินงาน 2.3 คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้รับผิดชอบมีมติให้ดำเนินงานตามโครงการและกิจกรรม ในเดือน ธันวาคม 2559 โดยแบ่งหน้าที่รับผิดชอบการดำเนินงานตามคำสั่งของโรงเรียน 2.4 ดำเนินกิจกรรมการสร้างนวัตกรรมการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์การตรวจสอบและประเมินผล
3.1 ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลโครงการ 3.2 แบบประเมินการดำเนินกิจกรรมต่างๆ จากแบบติดตามประเมินผล ปรากฏว่าบุคลากรที่เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจในการจัดสร้างนวัตกรรม คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งถือว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ตั้งไว้ 3.3 เก็บภาพการดำเนินกิจกรรม
ผลที่เกิดขึ้น คือ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่มีนวัตกรรมใหม่ในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ เป็นโรงเรือนที่ไม่เปลืองพื้นที่ สามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับโรงเรียนเครือข่าย ชุมชน และผู้ที่สนใจในการปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน
- ประชุมวางแผนจัดทำโครงการ แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ เสนอโครงการ
- จัดอบรมโดยเชิญวิทยากร เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่คะ มาบรรยายให้ความรู้
- วัดและประเมินผลโดยทำแบบสอบถาม
- สรุปรายงานโครงการ
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของสุขภาพอนามัยและภาวะโภชนาการตามวัยร้อยละ80
- นักเรียนสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆได้ ร้อยละ80
- นักเรียนรู้วิธีและสามารถปฏิบัติการปฏิบัติการรักษาสุขภาพอนามัยได้ ร้อยละ80
- นักเรียนร้อยละ 80 มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงมีสุขนิสัยที่ดีในด้านโภชนาการ
1.จัดอบรมภาคทฤษฏี 2.จัดกิจกรรมภาคปฏิบัติเรียนรู้ตามฐานตามกิจกรรม
ผลผลิต คณะครูบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนได้เข้ารับการอบรมทุกคน ผลลัพท์ คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนมีความรู้และทักษะในการทำการเกษตรและการสหกรณ์ได้อย่างถูกต้อง