แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง
“ โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง ”
166 หมู่ที่ 5 ถนนเพชรเกษม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางมาตา แก้วเซ่ง
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง
ที่อยู่ 166 หมู่ที่ 5 ถนนเพชรเกษม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ ศรร.1412-105 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.5
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 166 หมู่ที่ 5 ถนนเพชรเกษม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง " ดำเนินการในพื้นที่ 166 หมู่ที่ 5 ถนนเพชรเกษม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ศรร.1412-105 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 200 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน ๘ องค์ประกอบคือ ๑) การเกษตรในโรงเรียน ๒) สหกรณ์นักเรียน ๓) การจัดการบริหารของโรงเรียน ๔) การติดตามภาวะโภชนาการ ๕) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน ๖) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ ๗) การจัดบริการสุขภาพและ๘) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน ๔ ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ ๑ (พ.ศ.๒๕๕๘ – ๒๕๕๙) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น ๕๔๔โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ ๖ – ๑๒ ปี จำนวน ๑,๔๙๒,๐๘๙ คน ใน ๗๖ จังหวัด ของกรมอนามัย ปี ๒๕๕๕ พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ ๑๒.๕ เตี้ยร้อยละ ๑๖.๘ และระบุว่านักเรียนอายุ ๖ – ๑๒ ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ ๕๑.๖ ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี ๒๕๕๖พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน ๑.๒ ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน ๒๒๓,๒๘๘ คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน ๕๙๐,๐๘๗ คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๒๕๘,๑๔๙ คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญ คือ๑) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ ๖๐ กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ ๔๐๐ กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ ๖๗.๔ นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย ๕ – ๗ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย ๓ ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง ๑๐ช้อนชา และ๒) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านหนองสองพี่น้อง จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ ๑ เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ ๑ ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้องตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ชานเมือง นักเรียนส่วนใหญ่มีฐานะและสภาพครอบครัวค่อนข้างยากจน นักเรียนได้รับประทานอาหารในแต่ละวันไม่ครบ ๕ หมู่ ซึ่งนักเรียนจำนวนมากไม่ชอบทานผัก และจะเหลือผักเป็นจำนวนมากทุกวัน ทางโรงเรียนได้ตระหนักถึงปัญหาภาวะโภชนาการในส่วนนี้ เนื่องจากการเลือกรับประทานอาหารทำให้นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการไม่สมส่วนมีร่างกายเตี้ย ผอมหรืออ้วน มีสาเหตุมาจากการเลือกรับประทานอาหารที่ผิด
จากปัญหาดังกล่าวทำให้ทางโรงเรียนสมัครเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส เพื่อต้องการให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดี มีร่างกายแข็งแรงและรูปร่างสมส่วน เพราะการที่นักเรียนจะสามารถเรียนหนังสือได้ดีนั้น ต้องมีสุขภาพกายที่แข็งแรง สมบูรณ์เสียก่อนโดยโรงเรียนได้จัดกิจกรรมทั้ง ๘ องค์ประกอบ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ผู้ปกครอง และคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน สร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน
- การพัฒนาคุณภาพอาหารเพื่อลดปัญหาโภชนาการของนักเรียนและมีแนวทางส่งเสริมสุขภาพ นักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch
- พัฒนาครูและบุคลากรด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการที่เชื่อมโยงเกษตร-อาหาร-โภชนาการ-สุขภาพ เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครู ผู้ปกครอง ชุมชน และโรงเรียนในเครือข่าย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- การจัดบริการอาหารของโรงเรียนโดยการปลูกฝังค่านิยมในการรับประทานผัก ผลไม้และเด็กนักเรียนมีพฤติกรรมบริโภคผักและผลไม้ปลอดภัยอย่างเพียงพอในมื้อกลางวันอย่างน้อยวันละ ๑๕๐-๒๐๐ กรัม ต่อคน และได้รับประทานอาหารถูกหลักโภชนาการเหมาะสมตามวัยและภาวะสุขภาพ
- การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะและปลอดภัย
- การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัยโดยจัดทำกิจกรรมหนึ่งผักผลไม้ที่ฉันชอบ
- การติดตามภาวะโภชนาการ:ภาวะทุพโภชนาการมีแนวโน้มลดลง น้ำหนักตัวเกินและโรคอ้วนในเด็ก มีสัดส่วนลดลง
๔.๑ เริ่มอ้วน+อ้วน อย่างน้อยร้อยละ ๐.๕ ต่อปี หรือไม่เกินร้อยละ ๑๐ ต่อปี
๔.๒ ผอม อย่างน้อยร้อยละ ๐.๕ ต่อปี หรือไม่เกินร้อยละ ๗ ต่อปี
๔.๓ เตี้ย อย่างน้อยร้อยละ ๐.๕ ต่อปี หรือไม่เกินร้อยละ ๕ ต่อปี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. เฝ้าระวังและติดตาามภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียน
วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00-15.30 น.กิจกรรมที่ทำ
- มีการชั่งน้ําหนักและวัดส่วนสูง ภาคเรียนละสองครั้ง โดยใช้ โปรแกรมสําเร็จรูปการเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตและสมรรถภาพ ทางกายนักเรียนโดยหลังจากการเปิดภาคเรียนครูมีการอบรมและให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการและการแก้ปัญหาเพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดี มีร่างกายที่สมส่วนและสุขภาพแข็งแรง
- กิจกรรมย่อยLet Me In SN School การแข่งขันลดน้ำหนักในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ภาวะทุพโภชนาการมีแนวโน้มลดลง น้ำหนักตัวเกินและโรคอ้วนในเด็ก มีสัดส่วนลดลงอย่างน้อยร้อยละ ๐.๕ ต่อปี
- นักเรียนตระหนักและให้ความสำคัญกับการดูแลภาวะโภชนาการของตนเอง
รู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์อีกทั้งได้รับความร่วมจากผู้ปกครองและร้านค้าบริเวณโรงเรียนในการจำหน่าย
อาหารที่มีประโยชน์แก่นักเรียน
0
219
2. กิจกรรมย่อยLet Me In SN School
วันที่ 2 สิงหาคม 2559 เวลา 08:30 - 15.30 น.กิจกรรมที่ทำ
- อบรมภาวะโภชนาการนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์ ( ผอม) และ ภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ (อ้วน) ชั่งนน. วัด สส. (1 มิย.)
- จัดการแข่งขัน 1 สค.59 (ประมาณ 2 เดือนหลังอบรม) โดยให้นักเรียนเข้าแข่งขันกิจกรรมลดความอ้วนเพิ่มความผอม
- ตัดสินหาผู้ชนะและรับรางวัล(ลดมากสุด )
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนในโรงเรียนมีความกระตือรือร้นในการดูแลสุขภาพ การลดน้ำหนัก
และการควบคุมอาหารที่รับประทานให้ถูกตามหลักธงโภชนาการ
0
219
3. แปรรูปอาหาร
วันที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 - 15.30 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมผู้นำนักเรียน แม่ครัว ผู้ปกครอง นักเรียนและครู โดยเชิญวิทยากรอบรมเรื่องการแปรรูปอาหาร วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการแปรรูปอาหารในรูปแบบต่างๆ ให้เป็นผลิตภัณฑ์อาหารอยู่ในสภาพที่เหมาะสม สะดวก และปลอดภัยต่อการบริโภค การถนอมอาหาร เพื่อยืดหยุ่นอายุการเก็บรักษา ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีความหลากหลาย เพิ่มทางเลือก และเพิ่มมูลค่าให้กับวัตถุดิษ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชนจำนวน ๒๑๙ คน
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแปรรูปอาหารและการถนอมอาหาร เพื่อความปลอดภัยในการบริโภค และสามารถเพิ่มมูลค่าให้กับวัตถุดิษ
0
219
4. อบรมเชิงปฎิบัติการการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
วันที่ 30 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 - 15.30 น.กิจกรรมที่ทำ
- อบรมให้ความรู้และปฏิบัติชี้แจงทำความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์
- อธิบาย สาธิตและปฏิบัติเกี่ยวกับ การเตรียมดิน การทำปุ๋ยหมัก การปลูก การดูแลรักษา การใส่ปุ๋ย การขยายพันธ์พืช การเก็บเกี่ยวผลผลิตพืชผัก
- สาธิต/สรุปกิจกรรม
- ติดตาม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการปลูกพืช ผักเกษตรอินทรีย์
- นักเรียนได้จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรกรบ้านนี้มีรักปลูกผักกินเอง
- เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและนำผลผลิตมาประกอบอาหารในครัวเรือนและจำหน่ายแก่สหกรณ์นักเรียนและชุมชน
- นักเรียนมีสุขภาพและมีพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัยมีอารมณ์ดีและสติปัญญาดีขึ้นมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างโรงเรียนและชุมชน
219
219
5. อบรมพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพ
วันที่ 20 กันยายน 2559 เวลา 08:30 - 15.30 น.กิจกรรมที่ทำ
- มีการจัดกิจกรรมออกกําลังกายตอนเช้าหน้าแถวการแปรงฟันหลังรับประทานอาหาร
- การจัดอบรมภาวะโภชนาการให้กับนักเรียนและผู้ปกครองของนักเรียนที่เตี้ย ผอมและอ้วน
- อบรมนักเรียน แม่ครัว แม่ค้า ผู้ปกครองนักเรียน ครูโดยเชิญวิทยากร มาอบรมอบรมผู้นำนักเรียน แม่ครัว แม่ค้า ผู้ปกครองนักเรียน ครูได้แก่ การช่วยเหลือปฐมพยาบาลเบื้องต้น การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง หลักการเลือกซื้ออาหารอาหาร ผัก ผลไม้ อาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักอนามัย การแปรงฟันที่ถูกวิธี การตรวจสุขภาพเบื้องต้น การตรวจเลือดเพื่อหาภาวะโลหิตจาง ตรวจสุขภาพในช่องปาก การวัดสายตา การตรวจการได้ยิน การตรวจหานักเรียนที่เป็นเหา การกำจัดเหา จัดกิจกรรมล้างมือ 7 ขั้นตอน และการจัดนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวเกี่ยวโรคอ้วน อาหารสุขภาพ การบริโภคอาหารปลอดภัย และกิจกรรมทดสอบสมรรถภาพโรงเรียน
- จัดกิจกรรมฐานการเรียนรู้สุขบัญญัติ 10 ประการ ให้กับนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้ทำกิจกรรมฐานการเรียนรู้ทั้ง 10 ฐาน
- นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อกิจกรรมการเรียนรู้และการดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง
0
219
6. อบรมเชิงปฏิบัติการการตรวจสุขภาพนักเรียน
วันที่ 21 กันยายน 2559 เวลา 08:30 - 15.30 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมวางแผนงานการดำเนินกิจกรรมต่างๆร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
- สร้างความเข้าใจร่วมกันในการดำเนินกิจกรรม
- มอบหมายหน้าที่ให้กับครูผู้รับผิดชอบและมอบหมายให้นักเรียนกิจกรรมพยาบาลน้อย เพื่อดูแลความเรียบร้อยและดูแลผู้ที่เจ็บป่วยเบื้องต้นได้และดูแลรักษาความสะอาดของห้องพยาบาล
- โรงเรียนจัดให้มีบริการตรวจสุขภาพนักเรียนปีละ 1ครั้ง โดยอนามัยเป็นผู้ตรวจ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบได้ชัดเจน ผู้เข้าร่วมประชุมตามกลุ่มเป้าหมายมาครบทุกคน
0
219
7. พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
วันที่ 21 กันยายน 2559 เวลา 08:30 - 15.30 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดบรรยากาศในบริเวณโรงเรียนให้สะอาด ร่มรื่นน่าอยู๋ และปลอดภัย โดยทุกคนมีส่วนร่วมในการดูแล รักษาความสะอาดบริเวณโรงเรียนเพื่อเกิดความรู้สึกพอใจภูมิใจ อบอุ่นใจ สบายใจ รู้สึกในความเป็นเจ้าของ และอยากมาโรงเรียนโรงเรียนส่งเสริมการสร้างบรรยากาศที่ดี ควรอยู่ภายใต้หลักการ 5 ประการ คือ
1. หลักการมีส่วนร่วม
2. หลักความเสมอภาค
3. หลักเสียงส่วนมากเป็นครรลอง
4. หลักความถูกต้องเป็นเกณฑ์
5. หลักความจำเป็นเป็นที่พึ่ง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีความสุขทั้งอยู่ที่บ้านและที่โรงเรียน ทุกข์หรือสุขที่บ้าน บางครั้งโรงเรียนก็ไม่สามารถเข้าไปช่วยผ่อนคลายได้ แต่ทุกข์หรือสุขที่โรงเรียน น่าจะเป็นความรับผิดชอบของทุกฝ่ายในโรงเรียน การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ดีของโรงเรียนจะมีส่วนในการเสริมสร้างความคิด จิตใจ และคุณธรรมต่าง ๆ อันพึงประสงค์ได้ โรงเรียนที่สะอาด สดชื่น ร่มรื่น เรียบง่าย สงบ แจ่มใส มีชีวิตชีวา วัสดุอาคารสถานที่ที่ได้รับการดูแลมีความเป็นปัจจุบันพร้อมที่จะให้ครูและนักเรียนได้ใช้ตลอดเวลา ส่งผลให้นักเรียนมีจิตใจแจ่มใส รักสวยรักงาม รักความสะอาด รักความสงบ เรียบง่าย ทำให้เข้าใจตนเอง และผู้อื่นไปด้วย
0
219
8. ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1
วันที่ 31 ตุลาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมสัญจรเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำมาปรับเพื่อพัฒนาโครงการเด็กไทยแก้มใส
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อให้ครูผู้รับผิดชอบโครงการเด็กไทยแก้มใสมีความเข้าใจ
โครงการและวัตถุประสงค์ของโครงและดำเนินงานตามกิจกรรมที่วางไว้
ให้สำเร็จตามเป้าหมาย
0
2
9. เฝ้าระวังและติดตาามภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียน ครั้งที่ 2
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- มีการชั่งน้ําหนักและวัดส่วนสูง ภาคเรียนละสองครั้ง โดยใช้ โปรแกรมสําเร็จรูปการเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตและสมรรถภาพ ทางกายนักเรียนโดยหลังจากการเปิดภาคเรียนครูมีการอบรมและให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการและการแก้ปัญหาเพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดี มีร่างกายที่สมส่วนและสุขภาพแข็งแรง
- กิจกรรมย่อยLet Me In SN School การแข่งขันลดน้ำหนักในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ภาวะทุพโภชนาการมีแนวโน้มลดลง น้ำหนักตัวเกินและโรคอ้วนในเด็ก มีสัดส่วนลดลงอย่างน้อยร้อยละ ๐.๕ ต่อปี
- นักเรียนตระหนักและให้ความสำคัญกับการดูแลภาวะโภชนาการของตนเอง
รู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์อีกทั้งได้รับความร่วมจากผู้ปกครองและร้านค้าบริเวณโรงเรียนในการจำหน่าย
อาหารที่มีประโยชน์แก่นักเรียน
55
52
10. พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน2
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การจัดกิจกรรมสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัยในโรงเรียน ความรู้ความเข้าใจในด้านการป้องกันโรค
เรื่องฐานให้ความรู้
๑. โรคภัยไข้เจ็บ การรักษาพยาบาล
๒. โทษที่เกิดจากการดื่มสุรา และสูบบุหรี่
๓. การเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
๔. การทิ้งขยะและการแยกขยะที่ถูกต้อง
๕. การบำรุงดูแลรักษาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียน ครู ผูปกครองและชุมชนช่วยกันพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนส่งผลให้โรงเรียนถูกสุขลักษณะและปลอดภัย
0
212
11. อบรมสร้างความรู้ความเข้าใจ “อนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน”
วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- ลงทะเบียน
- จัดอบรมอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจ”อนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน”
- สรุปผลการจัดกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าอบรมทุกคนมีความรู้ความเข้าใจ”อนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน” ช่วยกันพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนด้วยความตั้งใจและเต็มใจ
55
55
12. อบรมพัฒนาศักยภาพแม่ครัว ผู้ปกครอง แกนนำนักเรียน
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมพัฒนาศักยภาพแม่ครัว ผู้ปกครอง แกนนำนักเรียน
การจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพตามหลักโภชนาการ
การเลือกวัตถุดิบและการปรุงอาหาร
เรื่องสำรับมาตรฐาน ปริมาณเสิร์ฟ
ฝึกปฏิบัติการจัดเมนูอาหารกลางวัน
การแลกเปลียนความคิดเห็น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการปรุงอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และอาหารปลอดภัย
35
35
13. ประชุมอบรมสหกรณ์นักเรียน
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมสหกรณ์นักเรียนดังรายละเอียดดังนี้
-ทักษะในการเรียนรู้สหกรณ์ในโรงเรียน
-กิจกรรมการจัดสหกรณ์โรงเรียน
-การบริหารงานสหกรณ์อย่างมีคุณภาพ
-เรื่องฐานให้ความรู้
๑. การสมัครเป็นสมาชิกสหกรณ์
๒. หุ้นและการถือหุ้น / การจัดสรรเงินผลกำไร
๓. การประหยัด การรู้จักออม และใช้จ่ายในสิ่งที่จำเป็น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิกและดำเนินการโดยนักเรียน
55
55
14. กิจกรรมย่อยการผลิตสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ ด้านเกษตร สหกรณ์โภชนาการ และสุขภาพ
วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
-ประโยชน์ของสื่อและนวัตกรรมในการจัดการการเรียนรู้
-ประเภทและรูปแบบของการจัดทำสื่อการสอน
-แบ่งกลุ่มจัดทำสื่อและนวัตกรรมในการจัดการการเรียนรู้
-การแลกเปลียนความคิดเห็น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครูมีการผลิตสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ ด้านเกษตร สหกรณ์โภชนาการ และสุขภาพ สามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
55
55
15. อบรมการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการและกิจกรรมที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส
วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมการจัดทำแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการและกิจกรรมที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส
- เรื่องการจัดทำแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการเด็กไทยแก้มใส
- แบ่งกลุ่มสร้างแผนการเรียนรู้สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส
- นำเสนอการจัดทำแผนการเรียนแบบบูรณาการเด็กไทยแก้มใส
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครูมีการอบรมการจัดทำแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการและกิจกรรมที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส และนำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
55
52
16. กิจกรรมการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนการจัดกิจกรรมเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมกิจกรรมการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนการจัดกิจกรรมเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพ
- การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพ
- สาธิตการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพ
- นำเสนอการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนการจัดกิจกรรมเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพอย่างทั่วถึง
55
52
17. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ถอนเงินเพื่อคืนดอกเบี้ยให้ สสส.จำนวน 31.91 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เงินในบัญชีโครงการศรร. มียอดคงเหลือ 0 บาท และคืนดอกเบี้ยให้ สสส.จำนวน 31.91 บาท เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2560
0
3
18. ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 2
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมเพื่อจัดทำรายงานการเงิน ง.2และ ส. 3 เพื่อทำการปิดโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1เพื่อให้ครูผู้รับผิดชอบโครงการเด็กไทยแก้มใสมีความเข้าใจ
โครงการและวัตถุประสงค์ของโครงและดำเนินงานตามกิจกรรมที่วางไว้
ให้สำเร็จตามเป้าหมาย"
2.เพื่อจัดทำรายงานการเงินงวดที่ 2
3.เพื่อจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์
0
2
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ผู้ปกครอง และคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน สร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครอง และคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน สร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน
2
การพัฒนาคุณภาพอาหารเพื่อลดปัญหาโภชนาการของนักเรียนและมีแนวทางส่งเสริมสุขภาพ นักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch
ตัวชี้วัด : โรงเรียนใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในจัดอาหารกลางวัน เพื่อลดปัญหาโภชนาการของนักเรียนและมีแนวทางส่งเสริมสุขภาพ อย่างมีประสิทธิภาพ
3
พัฒนาครูและบุคลากรด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการที่เชื่อมโยงเกษตร-อาหาร-โภชนาการ-สุขภาพ เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครู ผู้ปกครอง ชุมชน และโรงเรียนในเครือข่าย
ตัวชี้วัด : ครูและบุคลากรมีการพัฒนาด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการที่เชื่อมโยงเกษตร-อาหาร-โภชนาการ-สุขภาพ เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครู ผู้ปกครอง ชุมชน และโรงเรียนในเครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ ศรร.1412-105
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางมาตา แก้วเซ่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง
“ โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง ”
166 หมู่ที่ 5 ถนนเพชรเกษม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรังหัวหน้าโครงการ
นางมาตา แก้วเซ่ง
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง
ที่อยู่ 166 หมู่ที่ 5 ถนนเพชรเกษม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ ศรร.1412-105 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.5
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 166 หมู่ที่ 5 ถนนเพชรเกษม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง " ดำเนินการในพื้นที่ 166 หมู่ที่ 5 ถนนเพชรเกษม ตำบลหนองช้างแล่น อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ศรร.1412-105 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 200 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน ๘ องค์ประกอบคือ ๑) การเกษตรในโรงเรียน ๒) สหกรณ์นักเรียน ๓) การจัดการบริหารของโรงเรียน ๔) การติดตามภาวะโภชนาการ ๕) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน ๖) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ ๗) การจัดบริการสุขภาพและ๘) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน ๔ ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ ๑ (พ.ศ.๒๕๕๘ – ๒๕๕๙) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น ๕๔๔โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ ๖ – ๑๒ ปี จำนวน ๑,๔๙๒,๐๘๙ คน ใน ๗๖ จังหวัด ของกรมอนามัย ปี ๒๕๕๕ พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ ๑๒.๕ เตี้ยร้อยละ ๑๖.๘ และระบุว่านักเรียนอายุ ๖ – ๑๒ ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ ๕๑.๖ ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี ๒๕๕๖พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน ๑.๒ ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน ๒๒๓,๒๘๘ คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน ๕๙๐,๐๘๗ คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๒๕๘,๑๔๙ คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญ คือ๑) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ ๖๐ กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ ๔๐๐ กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ ๖๗.๔ นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย ๕ – ๗ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย ๓ ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง ๑๐ช้อนชา และ๒) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านหนองสองพี่น้อง จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ ๑ เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ ๑ ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้องตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ชานเมือง นักเรียนส่วนใหญ่มีฐานะและสภาพครอบครัวค่อนข้างยากจน นักเรียนได้รับประทานอาหารในแต่ละวันไม่ครบ ๕ หมู่ ซึ่งนักเรียนจำนวนมากไม่ชอบทานผัก และจะเหลือผักเป็นจำนวนมากทุกวัน ทางโรงเรียนได้ตระหนักถึงปัญหาภาวะโภชนาการในส่วนนี้ เนื่องจากการเลือกรับประทานอาหารทำให้นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการไม่สมส่วนมีร่างกายเตี้ย ผอมหรืออ้วน มีสาเหตุมาจากการเลือกรับประทานอาหารที่ผิด
จากปัญหาดังกล่าวทำให้ทางโรงเรียนสมัครเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส เพื่อต้องการให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดี มีร่างกายแข็งแรงและรูปร่างสมส่วน เพราะการที่นักเรียนจะสามารถเรียนหนังสือได้ดีนั้น ต้องมีสุขภาพกายที่แข็งแรง สมบูรณ์เสียก่อนโดยโรงเรียนได้จัดกิจกรรมทั้ง ๘ องค์ประกอบ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ผู้ปกครอง และคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน สร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน
- การพัฒนาคุณภาพอาหารเพื่อลดปัญหาโภชนาการของนักเรียนและมีแนวทางส่งเสริมสุขภาพ นักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch
- พัฒนาครูและบุคลากรด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการที่เชื่อมโยงเกษตร-อาหาร-โภชนาการ-สุขภาพ เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครู ผู้ปกครอง ชุมชน และโรงเรียนในเครือข่าย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- การจัดบริการอาหารของโรงเรียนโดยการปลูกฝังค่านิยมในการรับประทานผัก ผลไม้และเด็กนักเรียนมีพฤติกรรมบริโภคผักและผลไม้ปลอดภัยอย่างเพียงพอในมื้อกลางวันอย่างน้อยวันละ ๑๕๐-๒๐๐ กรัม ต่อคน และได้รับประทานอาหารถูกหลักโภชนาการเหมาะสมตามวัยและภาวะสุขภาพ
- การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะและปลอดภัย
- การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัยโดยจัดทำกิจกรรมหนึ่งผักผลไม้ที่ฉันชอบ
- การติดตามภาวะโภชนาการ:ภาวะทุพโภชนาการมีแนวโน้มลดลง น้ำหนักตัวเกินและโรคอ้วนในเด็ก มีสัดส่วนลดลง
๔.๑ เริ่มอ้วน+อ้วน อย่างน้อยร้อยละ ๐.๕ ต่อปี หรือไม่เกินร้อยละ ๑๐ ต่อปี
๔.๒ ผอม อย่างน้อยร้อยละ ๐.๕ ต่อปี หรือไม่เกินร้อยละ ๗ ต่อปี ๔.๓ เตี้ย อย่างน้อยร้อยละ ๐.๕ ต่อปี หรือไม่เกินร้อยละ ๕ ต่อปี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. เฝ้าระวังและติดตาามภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียน |
||
วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00-15.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 219 |
2. กิจกรรมย่อยLet Me In SN School |
||
วันที่ 2 สิงหาคม 2559 เวลา 08:30 - 15.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนในโรงเรียนมีความกระตือรือร้นในการดูแลสุขภาพ การลดน้ำหนัก และการควบคุมอาหารที่รับประทานให้ถูกตามหลักธงโภชนาการ
|
0 | 219 |
3. แปรรูปอาหาร |
||
วันที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 - 15.30 น.กิจกรรมที่ทำอบรมผู้นำนักเรียน แม่ครัว ผู้ปกครอง นักเรียนและครู โดยเชิญวิทยากรอบรมเรื่องการแปรรูปอาหาร วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการแปรรูปอาหารในรูปแบบต่างๆ ให้เป็นผลิตภัณฑ์อาหารอยู่ในสภาพที่เหมาะสม สะดวก และปลอดภัยต่อการบริโภค การถนอมอาหาร เพื่อยืดหยุ่นอายุการเก็บรักษา ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีความหลากหลาย เพิ่มทางเลือก และเพิ่มมูลค่าให้กับวัตถุดิษ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชนจำนวน ๒๑๙ คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแปรรูปอาหารและการถนอมอาหาร เพื่อความปลอดภัยในการบริโภค และสามารถเพิ่มมูลค่าให้กับวัตถุดิษ
|
0 | 219 |
4. อบรมเชิงปฎิบัติการการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน |
||
วันที่ 30 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 - 15.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
219 | 219 |
5. อบรมพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพ |
||
วันที่ 20 กันยายน 2559 เวลา 08:30 - 15.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 219 |
6. อบรมเชิงปฏิบัติการการตรวจสุขภาพนักเรียน |
||
วันที่ 21 กันยายน 2559 เวลา 08:30 - 15.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบได้ชัดเจน ผู้เข้าร่วมประชุมตามกลุ่มเป้าหมายมาครบทุกคน
|
0 | 219 |
7. พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน |
||
วันที่ 21 กันยายน 2559 เวลา 08:30 - 15.30 น.กิจกรรมที่ทำจัดบรรยากาศในบริเวณโรงเรียนให้สะอาด ร่มรื่นน่าอยู๋ และปลอดภัย โดยทุกคนมีส่วนร่วมในการดูแล รักษาความสะอาดบริเวณโรงเรียนเพื่อเกิดความรู้สึกพอใจภูมิใจ อบอุ่นใจ สบายใจ รู้สึกในความเป็นเจ้าของ และอยากมาโรงเรียนโรงเรียนส่งเสริมการสร้างบรรยากาศที่ดี ควรอยู่ภายใต้หลักการ 5 ประการ คือ 1. หลักการมีส่วนร่วม 2. หลักความเสมอภาค 3. หลักเสียงส่วนมากเป็นครรลอง 4. หลักความถูกต้องเป็นเกณฑ์ 5. หลักความจำเป็นเป็นที่พึ่ง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีความสุขทั้งอยู่ที่บ้านและที่โรงเรียน ทุกข์หรือสุขที่บ้าน บางครั้งโรงเรียนก็ไม่สามารถเข้าไปช่วยผ่อนคลายได้ แต่ทุกข์หรือสุขที่โรงเรียน น่าจะเป็นความรับผิดชอบของทุกฝ่ายในโรงเรียน การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ดีของโรงเรียนจะมีส่วนในการเสริมสร้างความคิด จิตใจ และคุณธรรมต่าง ๆ อันพึงประสงค์ได้ โรงเรียนที่สะอาด สดชื่น ร่มรื่น เรียบง่าย สงบ แจ่มใส มีชีวิตชีวา วัสดุอาคารสถานที่ที่ได้รับการดูแลมีความเป็นปัจจุบันพร้อมที่จะให้ครูและนักเรียนได้ใช้ตลอดเวลา ส่งผลให้นักเรียนมีจิตใจแจ่มใส รักสวยรักงาม รักความสะอาด รักความสงบ เรียบง่าย ทำให้เข้าใจตนเอง และผู้อื่นไปด้วย
|
0 | 219 |
8. ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 |
||
วันที่ 31 ตุลาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำประชุมสัญจรเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำมาปรับเพื่อพัฒนาโครงการเด็กไทยแก้มใส ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อให้ครูผู้รับผิดชอบโครงการเด็กไทยแก้มใสมีความเข้าใจ โครงการและวัตถุประสงค์ของโครงและดำเนินงานตามกิจกรรมที่วางไว้ ให้สำเร็จตามเป้าหมาย
|
0 | 2 |
9. เฝ้าระวังและติดตาามภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียน ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
55 | 52 |
10. พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน2 |
||
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการจัดกิจกรรมสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัยในโรงเรียน ความรู้ความเข้าใจในด้านการป้องกันโรค เรื่องฐานให้ความรู้ ๑. โรคภัยไข้เจ็บ การรักษาพยาบาล ๒. โทษที่เกิดจากการดื่มสุรา และสูบบุหรี่ ๓. การเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ๔. การทิ้งขยะและการแยกขยะที่ถูกต้อง ๕. การบำรุงดูแลรักษาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียน ครู ผูปกครองและชุมชนช่วยกันพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนส่งผลให้โรงเรียนถูกสุขลักษณะและปลอดภัย
|
0 | 212 |
11. อบรมสร้างความรู้ความเข้าใจ “อนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน” |
||
วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าอบรมทุกคนมีความรู้ความเข้าใจ”อนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน” ช่วยกันพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนด้วยความตั้งใจและเต็มใจ
|
55 | 55 |
12. อบรมพัฒนาศักยภาพแม่ครัว ผู้ปกครอง แกนนำนักเรียน |
||
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรมพัฒนาศักยภาพแม่ครัว ผู้ปกครอง แกนนำนักเรียน
การจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพตามหลักโภชนาการ
การเลือกวัตถุดิบและการปรุงอาหาร
เรื่องสำรับมาตรฐาน ปริมาณเสิร์ฟ
ฝึกปฏิบัติการจัดเมนูอาหารกลางวัน
การแลกเปลียนความคิดเห็น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการปรุงอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และอาหารปลอดภัย
|
35 | 35 |
13. ประชุมอบรมสหกรณ์นักเรียน |
||
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรมสหกรณ์นักเรียนดังรายละเอียดดังนี้ -ทักษะในการเรียนรู้สหกรณ์ในโรงเรียน -กิจกรรมการจัดสหกรณ์โรงเรียน -การบริหารงานสหกรณ์อย่างมีคุณภาพ -เรื่องฐานให้ความรู้ ๑. การสมัครเป็นสมาชิกสหกรณ์ ๒. หุ้นและการถือหุ้น / การจัดสรรเงินผลกำไร ๓. การประหยัด การรู้จักออม และใช้จ่ายในสิ่งที่จำเป็น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิกและดำเนินการโดยนักเรียน
|
55 | 55 |
14. กิจกรรมย่อยการผลิตสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ ด้านเกษตร สหกรณ์โภชนาการ และสุขภาพ |
||
วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ-ประโยชน์ของสื่อและนวัตกรรมในการจัดการการเรียนรู้ -ประเภทและรูปแบบของการจัดทำสื่อการสอน -แบ่งกลุ่มจัดทำสื่อและนวัตกรรมในการจัดการการเรียนรู้ -การแลกเปลียนความคิดเห็น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครูมีการผลิตสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ ด้านเกษตร สหกรณ์โภชนาการ และสุขภาพ สามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
55 | 55 |
15. อบรมการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการและกิจกรรมที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำอบรมการจัดทำแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการและกิจกรรมที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครูมีการอบรมการจัดทำแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการและกิจกรรมที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส และนำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
55 | 52 |
16. กิจกรรมการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนการจัดกิจกรรมเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ |
||
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำอบรมกิจกรรมการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนการจัดกิจกรรมเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพ - การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพ - สาธิตการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพ - นำเสนอการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนการจัดกิจกรรมเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพอย่างทั่วถึง
|
55 | 52 |
17. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ |
||
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำถอนเงินเพื่อคืนดอกเบี้ยให้ สสส.จำนวน 31.91 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเงินในบัญชีโครงการศรร. มียอดคงเหลือ 0 บาท และคืนดอกเบี้ยให้ สสส.จำนวน 31.91 บาท เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2560
|
0 | 3 |
18. ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 2 |
||
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมเพื่อจัดทำรายงานการเงิน ง.2และ ส. 3 เพื่อทำการปิดโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1เพื่อให้ครูผู้รับผิดชอบโครงการเด็กไทยแก้มใสมีความเข้าใจ โครงการและวัตถุประสงค์ของโครงและดำเนินงานตามกิจกรรมที่วางไว้ ให้สำเร็จตามเป้าหมาย" 2.เพื่อจัดทำรายงานการเงินงวดที่ 2 3.เพื่อจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์
|
0 | 2 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ผู้ปกครอง และคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน สร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน ตัวชี้วัด : ผู้ปกครอง และคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน สร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน |
||||
2 | การพัฒนาคุณภาพอาหารเพื่อลดปัญหาโภชนาการของนักเรียนและมีแนวทางส่งเสริมสุขภาพ นักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ตัวชี้วัด : โรงเรียนใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในจัดอาหารกลางวัน เพื่อลดปัญหาโภชนาการของนักเรียนและมีแนวทางส่งเสริมสุขภาพ อย่างมีประสิทธิภาพ |
||||
3 | พัฒนาครูและบุคลากรด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการที่เชื่อมโยงเกษตร-อาหาร-โภชนาการ-สุขภาพ เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครู ผู้ปกครอง ชุมชน และโรงเรียนในเครือข่าย ตัวชี้วัด : ครูและบุคลากรมีการพัฒนาด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการที่เชื่อมโยงเกษตร-อาหาร-โภชนาการ-สุขภาพ เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครู ผู้ปกครอง ชุมชน และโรงเรียนในเครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพ |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ ศรร.1412-105
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางมาตา แก้วเซ่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......