ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนเทศบาลวัดนางลาด


“ โรงเรียนเทศบาลวัดนางลาด ”

202 ถ.เสน่เจริญ ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางณัชชา รักนุ่ม

ชื่อโครงการ โรงเรียนเทศบาลวัดนางลาด

ที่อยู่ 202 ถ.เสน่เจริญ ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ ศรร.1423-106 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.16

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนเทศบาลวัดนางลาด จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 202 ถ.เสน่เจริญ ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนเทศบาลวัดนางลาด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนเทศบาลวัดนางลาด



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนเทศบาลวัดนางลาด " ดำเนินการในพื้นที่ 202 ถ.เสน่เจริญ ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ศรร.1423-106 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนเทศบาลวัดนางลาด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 625 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ
1) การเกษตรในโรงเรียน
2) สหกรณ์นักเรียน
3) การจัดการบริหารของโรงเรียน
4) การติดตามภาวะโภชนาการ
5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน
6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
7) การจัดบริการสุขภาพ
8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย

โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียนในโรงเรียน โรงเรียนอื่นๆ ตลอดจนชุมชนใกล้เคียง.
  2. 2. เพื่อแก้ปัญหานักเรียนทุพโภชนาการ และนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน.
  3. 3. เพื่อน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาใช้ในชีวิตประจำวัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. โรงเรียนมีการบริหารจัดการ ด้านส่งเสริมสุขภาพนักเรียนที่เป็นระบบ และมีประสิทธิภาพสู่การแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน
    2. นักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัยมีอารมณ์ สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิตที่ดี สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง
    3. พ่อแม่ ผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมด้านอาหารและสุขภาวะของนักเรียนที่ดี
    4. ชุมชนและสังคม มีความตระหนักรู้ ให้ความสำคัญกับการจัดการสิ่งแวดล้อมด้านอาหารและโภชนาการทีี่เอื้อต่อสุขภาพของเด็กวัยเรียน
    5. ผู้นำท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายให้ความสำคัญและมีส่วนร่วมในการจัดทำโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนในพื้นที่

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมการเลี้ยงปลาดุกในกระชัง

    วันที่ 9 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การเลี้ยงปลาในกระชังปลานิล ปลาทับทิม เนื่องจากสภาพพื้นที่ของโรงเรียนอยู่ติดกับ ล าคอลง จึงสามารถเลี้ยงปลาในกระชังได้ น าผลผลิตสู่อาหารกลางวัน บางส่วนอาจจ าหน่ายชุมชนใกล้เคียง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    0 0

    2. ไถปรับหน้าดิน

    วันที่ 17 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้พื้นที่พร้อมเพาะปลูก

     

    2 0

    3. อุปกรณ์สำหรับทำถั่วงอก

    วันที่ 1 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เป็นไปตามเป้าหมาย

     

    38 38

    4. การปลูกผักไร้ดิน

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1 เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้

     

    43 0

    5. เลี้ยงกบคอนโด ปลาดุกในบ่อ

    วันที่ 10 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เตรียมพื้นที่
    2. เตรียมล้อยางสิบล้อ 6 เส้น
    3. เลี้ยงกบ ใช้ล้อยาง 3 เส้นต่อ 1 คอนโด
    4. เลี้ยงกบ 2 คอนโด คอนโดละ 100 ตัว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กบมีขนาดโต โรคไม่ค่อยมี 

     

    54 34

    6. จัดทำบอร์ดความรู้ด้านการเกษตรและโภชนาการ

    วันที่ 20 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.  จัดทำบอร์ดให้ความรู้การเลี้ยงปลา การเลี้ยงกบ การเพาะเห็ดฟาง เห็ดนางฟ้า

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เป็นไปตามเป้าที่วางไว้

     

    35 35

    7. เพาะเห็ดฟาง เห็ดนางฟ้า

    วันที่ 21 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เตรียมเชื้อเห็ดฟาง ฟางข้าว ผักตบ ขี้เลื่อย รำข้าว กากน้ำตาล และสาธิตให้นักเรียนจำนวน 100คน แบ่งเป็นห้องละ 35 คน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เป็นไปตามเป้าหมาย นักเรียนสามาถทำได้และเข้าใจกระบวนการ

     

    104 104

    8. น้ำชีวภาพอีเอ็ม

    วันที่ 27 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เป็นตามเป้าหมาย

     

    105 105

    9. วิทยากรให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงสัตว์จากประมงจังหวัดพัทลุง

    วันที่ 8 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้ความรู้จากประมงเรื่องการเลี้ยงปลา 

     

    110 110

    10. อบรมโครงการลดพุงสักนิดชีวิตเป็นสุข

    วันที่ 24 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้ความรู้จากการอบรมลดพุงวันละนิดชีวิตเป็นสุข 

     

    123 0

    11. ผักสวนครัวรั้วกินได้

    วันที่ 9 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 2 3

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เด็กได้บริโภคผักปลอดสารพิษ

     

    115 0

    12. ประชุมปิดงวด ครั้งที่1

    วันที่ 13 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจรายงานตามแผน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รายงานเอกสารการเงินงวดที่ 1

     

    2 2

    13. กิจกรรมเขตรับผิดชอบของนักเรียน

    วันที่ 17 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รับผิดชอบตามเขตของแต่ละห้อง

     

    85 85

    14. ทัศนศึกษาดูงาน ครู นักเรียน

    วันที่ 22 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

     

    53 53

    15. อบรมพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบอาหาร

    วันที่ 23 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ประกอบอาหารได้นำความรู้ไปปรับใช้ในการทำอาหาร

     

    8 8

    16. กิจกรรมการออมเงิน

    วันที่ 12 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 เชิญวิทยากรเพื่อให้ความรู้ 2 จัดเตรียมเอกสารเพื่อใช้ในการประชุม 3 นักเรียนนำความรู้ไปใช้ในกิจกรรมสหกรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนรู้จักการใช้เงินและออมเงิน

     

    650 645

    17. ต้นไม้พูดได้

    วันที่ 20 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้รับข้อมูลจากป้ายความรู้ชื่อของต้นไม้ และชนิดของต้นไม้

     

    610 610

    18. การทำดินปลูกชีวภาพ

    วันที่ 16 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

     

    110 110

    19. ล้างมือ 7 ขั้นตอน

    วันที่ 18 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เตรียมอุปกรณ์การล้างมือ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนสามารถนำความรู้ในการอบรมไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

     

    53 53

    20. เลี้ยงปลาในกระชัง ครั้งที่ 2

    วันที่ 24 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เตรียมกระชังปลา เตรยมปลา 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถนำไปใช้ในชีวติประจำวันได้

     

    115 115

    21. การเลี้ยงกบคอนโด ครั้งที่2

    วันที่ 30 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เตรียมพื้นที่ เตรียมล้อยางสิบล้อ 6 เส้น เลี้ยงกบ 2 คอนโด คอนโดละ 100 ตัว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

     

    105 105

    22. การเพาะเห็ดนางฟ้า

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 ซ่อมแซ่มโรงเห็ด 2 จัดซื้อเห็ด 3 มอบหมายหน้าที่นักเรียนเพื่อดูและเก็บผลผลิต 4 จดบันทึกการเจริญเติมโตของเห็ด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เห็ดขายส่งเข้าสหกรณ์เพื่อส่งเข้าสู่อาหารกลางวัน

     

    105 105

    23. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการทุกกลุ่มสาระ

    วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เตรียมอุปกรณ์การจัดบอร์ด รูป
    ข้อมูลความรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

     

    132 130

    24. ทัศนศึกษาดูงานบุคลากร

    วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำไปศึกษาดูงานเกษตรและนำกลับมาพัฒนาในโรงเรียน

     

    10 10

    25. สิ่งแวดล้อมดี ชีวิตมีสุข

    วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 มอบหมายผู้รับผิดชอบ 2 ปรับพื้นที่ในการปลูก 3 ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1 ภูมิทัศน์ร่มรื่น

     

    65 65

    26. ทัศนศึกษาดูงานแกนนำ

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำนักเรียนแกนนำไปดูเกษตร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับนำไปใช้ดำเนินชีวิตประจำวัน

     

    22 22

    27. กิจกรรมหนูน้อยฟันสวย

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1  เชิญวิทยากรเพื่อให้ความรู้เรื่องการแปรงฟัน จาก สสจ. พัทลุง 2 นักเรียนแกนนำเข้าร่วมประชุมเพื่อไปขยายผลให้แก่นักเรียนในโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีสุขภาพฟันที่ดี

     

    55 32

    28. กิจกรรมเด็กไทยแก้มใสลด หวาน มัน เค็ม

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหาร ขนมขบเคี้ยว อาหารรอบรั้วโรงเรียน 2 จัดนิทรรศการ/ป้ายนิเทศน์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการอ่านฉลากโภชนาการ ฉลากอาหาร 3 จัดกิจกรรม/เกม/นิทรรศการ ด้านโภชนาการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เด็กนักเรียนเกิดความตระหนักในการเลือกซื้ออาหาร และสามารถอ่านฉลากอาหาร และฉลากโภชนาการได้อย่างเข้าใจ

     

    106 106

    29. อาหารเสริมภาวะโภชนาการ

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 สำรวจเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ (อ้วน เตี้ย ผอม) 2 ให้ความรู้เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและสร้างความตระหนักด้านโภชนาการ 3 จัดเตรียมอาหารเสริมให้เด็กที่มีภาวะ เตี้ย ผอม 4 จดบันทึกการเปลี่ยนแปลงของเด็ก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น

     

    105 105

    30. กิจกรรมเท่กินผัก คนน่ารัก กินผลไม้

    วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เด็กได้จำหน่ายผักในตลาดนัดของโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เด็กเกิดกระบวนการเรียนรู้การขายผัก กินผัก 

     

    605 615

    31. แกนนำแก้มใส ใส่ใจสุขภาพ

    วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 จัดกิจกรรมออกกำลังในช่วงเช้า 2 ประชาสัมพันธ์และรณรงค์การเลือกรับประทานอาหารให้ได้ตามหลักโภชนาการ 3 จัดกิจกรรมการแปรงฟันและล้างมือให้ถูกวิธิ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เด็กนักเรียนมีโภชนาการที่ดี สุขภาพดี

     

    30 18

    32. ผักสวนครัว รั่วกินได้ ครั้งที่ 2

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมหารือเพื่อวางแผนการปลูกผักสวนครัว
    2. มอบหมายหน้าที่และมอบหมายนักเรียนผู้รับผิดชอบแต่ละประเภท 3 จดบันทึกและสร้างการเรียนรู้ของผักแต่ละชนิด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เด็กนักเรียนเกิดการเรียนรู้การปลูกผักแต่ละชนิด 

     

    55 55

    33. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 4 เมษายน 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอนเงินเพื่อปิดบัญชีโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ปิดบัญชีโครงการ

     

    3 3

    34. ประชุมปิดงวดครั้งที่ 2

    วันที่ 4 เมษายน 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจเอกสารการเงินและเพิ่มเติมข้อมูลในเวปไซต์ให้ครบถ้วน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงข้อมูลในเวปครบทุกกิจกรรม ปิดงวดการเงิน

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียนในโรงเรียน โรงเรียนอื่นๆ ตลอดจนชุมชนใกล้เคียง.
    ตัวชี้วัด : มีแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียนและคนในชุมชน

    เป็นไปตามตัวชีวัด

    2 2. เพื่อแก้ปัญหานักเรียนทุพโภชนาการ และนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน.
    ตัวชี้วัด : มีนักเรียนน้ำหนักตามเกณฑ์มาขึ้น

    ประสบความสำเร็จและเป็นไปตามตัวชี้วัด

    3 3. เพื่อน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาใช้ในชีวิตประจำวัน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

    นักเรียนได้นำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในชีวติประจำวันได้

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียนในโรงเรียน โรงเรียนอื่นๆ ตลอดจนชุมชนใกล้เคียง. (2) 2. เพื่อแก้ปัญหานักเรียนทุพโภชนาการ และนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน. (3) 3. เพื่อน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาใช้ในชีวิตประจำวัน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนเทศบาลวัดนางลาด

    รหัสโครงการ ศรร.1423-106 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.16 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    เลี้ยงปลาในกระชัง , เลี้ยงกบในคอนโด,ปลูกผักปลอดสารพิษ

    ภาพถ่าย ขั้นตอนการการทำกระชัง การเตรียมสถานที่

    ทำกิจกรรมการเกษตรในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง และให้นักเรียนนำความรู้ไปใช้ที่บ้าน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

    ซื้อ,ขายผักปลอดสารพิษจากนักเรียนและชุมชน

    วางแผนการทำงานแบ่งหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ภาพถ่าย

    สร้างภาคีเครือข่ายกับชุมชน ให้ชุมชนมีส่วนร่วม

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

    มีอาหารกลางวันและอาหารเสริมให้กับนักเรียนทุกคน

    ใช้อาหารที่ปลอดสารพิษโดยใช้ผักจากโครงการ จากนักเรียนและชุมชนใกล้เคียง ภาพถ่าย

    สร้างภาคีเครือข่ายกับชุมชน ให้ชุมชนมีส่วนร่วม

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน
    • กิจกรรมการออกกำลังกายในตอนเช้าทุกวัน
    • การเลือกรับประทานอาหาร

    มีผู้นำการออกกำลังกายให้กับนักรียนออกกำลังกายในตอนเช้า การทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียน ให้ความรู้แก่นักเรียนในการเลือกรับประทานอาหาร จัดป้ายนิเทศ ภาพถ่าย

    สร้างภาคีเครือข่ายกับชุมชน ให้ชุมชนมีส่วนร่วม

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
    • กิจกรรมการแปรงฟันที่ถูกวิธี
    • หนูน้อยฟันสวย
    • การล้างมือ 7 ขั้นตอน

    การแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน และการล้างมือก่อนหลังรับประทานและหลังขับถ่าย ภาพถ่าย

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
    • สิ่งแวดล้อมดีชีวีมีสุข
    • ต้นไม้พูดได้

    วางแผนการปฏิบัติงาน แบ่งพื้นที่การรับผิดชอบ ภาพถ่าย

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

    การชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงของนักเรียนภาคเรียนละ2ครั้ง

    ครูประจำชั้นชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงพร้อมบันทึกและสรุปแบบรายงานถาวะโภชนาการ

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย
    • เชิญวิทยากรให้ความรู้แก่นักเรียน
    • แผนการสอนบูรณาการ

    วางแผนการปฏิบัติงาน ให้ความรู้แก่นักเรียน แผนการสอนบูรณาการ ภาพถ่าย

    สร้างภาคีเครือข่ายกับชุมชน ให้ชุมชนมีส่วนร่วม

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    1 เทศบาลเมืองพัทลุง 2 โรงพยาบาลพัทลุง 3 ศูนย์แพทย์ชุมชน 4 สสจ.พัทลุง 5 สำนักงานเกษตรอำเภอ,เกษตรจังหวัด

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    • กรรมการสถานศึกษาให้การดูแลช่วยเหลือ
    • ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    • นักเรียน ,ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการทำงาน

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    • มีแผนการดำเนินงานโครงการ

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    • นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมทุกกิจกรรมที่โรงเรียนจัดกิจกรรม เช่นผู้ปกครองและชุมชนนำผักปลอดสารพิษมาจำหน่ายให้กับโรงเรียน และให้ความรู้ในกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    โรงเรียนมีพื้นที่จำกัดในการทำเกษตรในโรงเรียนและจำนวนนักเรียนมีจำนวนมากไม่เพียงพอ

    รูปภาพแปลงเกษตร

    ให้ชุมชนและผู้ปกครองมีส่วนร่วม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    โรงเรียนมีพื้นที่จำนวนจำกัดและจำนวนนักเรียนมากไม่เพีงพอแต่ก็ใช้ได้ส่วนหนึ่งในการทำอาหารกลางวัน

    รูปภาพกระชังปลา ขั้นตอนการเลี้ยง

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

     

     

     

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

    ใช้โปรแกรมThai School Lunch มาอ้างอิง

    โครงการอาหารกลางวัน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    ใช้โปรแกรมThai School Lunch มาอ้างอิง

    โครงการอาหารกลางวัน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน
    • ชุมชน ครู ผู้ปกครองและนักเรียน

    ตลาดนัดนักเรียน ภาพถ่าย

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

    นำมาประกอบในการจัดทำอาหารกลางวัน

    โครงการอาหารกลางวัน ภาพถ่าย

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

    ครูประจำชั้นชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงของนักเรียนและบันทึกลงแบบสรุปภาวะโภชนาการ

    แบบบันทึกและแบบสรุปภาวะโภชนาการ

     

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/1
    เตี้ย 3.63 3.63% 2.11 2.11% 2.62 2.62% nan nan%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 19.31 19.31% 4.57 4.57% 7.17 7.17% nan nan%
    ผอม 2.81 2.81% 2.97 2.97% 2.97 2.97% 1.92 1.92%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 6.28 6.28% 7.34 7.34% 7.34 7.34% 6.46 6.46%
    อ้วน 9.92 9.92% 5.07 5.07% 7.17 7.17% 9.08 9.08%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 11.07% 11.07% 9.44% 9.44% 9.79% 9.79% 12.04% 12.04%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    1 เทศบาลเมืองพัทลุง 2 โรงพยาบาลพัทลุง 3 ศูนย์แพทย์ชุมชน 4 สสจ.พัทลุง 5 สำนักงานเกษตรอำเภอ,เกษตรจังหวัด

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนเทศบาลวัดนางลาด จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ ศรร.1423-106

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางณัชชา รักนุ่ม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด