แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนห้วยซวกคกเลาใต้


“ โรงเรียนห้วยซวกคกเลาใต้ ”

105 หมู่3 ตำบลบุฮม อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย

หัวหน้าโครงการ
นางนิววรรณ ทิมเขียว

ชื่อโครงการ โรงเรียนห้วยซวกคกเลาใต้

ที่อยู่ 105 หมู่3 ตำบลบุฮม อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย จังหวัด เลย

รหัสโครงการ ศรร.1312-055 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.9

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนห้วยซวกคกเลาใต้ จังหวัดเลย" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 105 หมู่3 ตำบลบุฮม อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนห้วยซวกคกเลาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนห้วยซวกคกเลาใต้



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนห้วยซวกคกเลาใต้ " ดำเนินการในพื้นที่ 105 หมู่3 ตำบลบุฮม อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย รหัสโครงการ ศรร.1312-055 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนห้วยซวกคกเลาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 194 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนห้วยซวกคกเลาใต้จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้ สรุปผลการดำเนินงาน ของโครงการฯ ปีที่ 1 พร้อมสถานการณ์ด้านอาหารและโภชนาการของเด็กนักเรียน ก่อน-หลัง เข้าร่วมโครงการ และกิจกรรมที่ประสบความสำเร็จที่เห็นผลผลิต ผลลัพธ์ หรือนวัตกรรม อย่างเป็นรูปธรรม
สถานการณ์ปัญหาการบริโภคอาหารและโภชนาการภายในโรงเรียนจากการสำรวจฝ่ายอนามัยโรงเรียน

ปีการศึกษา 2557 นักเรียนชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน180คน มีปัญหาน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์30คน คิดเป็นร้อยละ 16.95 น้ำหนักเกินกว่าเกณฑ์ 20 คน คิดเป็นร้อยละ 11.30แยกระดับชั้นอนุบาล 1-2 มีปัญหาน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์12คนร้อยละ 29.27 น้ำหนักเกินกว่าเกณฑ์ 3คน ร้อยละ 7.32 รวม 15 คน คิดเป็นร้อยละ 36.59 มีเด็กไม่กินผักผลไม้เลย1คน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6จำนวน 58 คน มีปัญหาน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์11 คน คิดเป็นร้อยละ 18.97 น้ำหนักเกินกว่าเกณฑ์6 คน คิดเป็นร้อยละ 10.34 รวม 17 คน ร้อยละ 29.31ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 จำนวน 38 คน มีปัญหาน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์1คนร้อยละ 2.63 น้ำหนักเกินกว่าเกณฑ์ 8คน ร้อยละ 21.05 รวม 9 คน คิดเป็นร้อยละ 23.68มีเด็กกินผักผลไม้ ไม่ถึง 4 ซ้อนโต๊ะในมื้อเช้า 180 คน ร้อยละ 100
ปีการศึกษา 2558นักเรียนชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน177 คน มีปัญหาน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์6คน คิดเป็นร้อยละ 3.38 น้ำหนักเกินกว่าเกณฑ์ 8 คน คิดเป็นร้อยละ 4.51แยกระดับชั้นอนุบาล 1-ประถมศึกษา6 มีปัญหาส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์21คนร้อยละ 11.36ชั้นอนุบาล1-ประถมศึกษา6 มีปัญหาส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์8คนร้อยละ 5.93มีเด็กไม่กินผักผลไม้เลย1คน ร้อยละ 0.56 นักเรียนไม่รับประทานอาหารเช้า0 คนคิดเป็นร้อยละ 0 คิดทั้งโรงเรียน ภาวะเตี้ย จำนวน21 คนร้อยละ 11.36 ผอม 6 คน ร้อยละ 3.38
ภาวะอ้วนปี 2557จำนวน 14 คน ร้อยละ 7.87 ปี 2558เหลือ8คนร้อยละ 4.49 ตารางที่ 1 เปรียบเทียบสถานการณ์ทุพโภชนาการของเด็กนักเรียน ระดับชั้น ปี 2557 ปี 2558 ผอม อ้วน ผอม อ้วน ระดับชั้นอนุบาล 1-2 6.67 1.67 0.00 2.25 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 6.11 3.33 2.25 1.12 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 4.44 0.56 1.12 1.12 รวม 16.95 11.30 3.38 4.51

Best Practice การบริหารจัดการอาหารในโรงเรียน (40 เมนูทองโดยกลุ่มแม่บ้านอาสา) 1. สร้างความเข้าใจเรื่องอาหารและโภชนาการระหว่างครู แม่ครัว แกนนำนักเรียน และผู้ปกครอง 2. ปริมาณวัตถุดิบอาหาร ราคาอาหาร ปริมาณพลังงานและสารอาหารเหมาะสมตามวัย 3. จัดทำทะเบียนวัตถุดิบอาหารที่สอดคล้องกับผลผลิตเกษตรปลอดภัยในชุมชนและครัวเรือนตามฤดูกาล สร้างเศรษฐกิจชุมชนและความมั่นคงทางอาหารอย่างยั่งยืน
4. จัดซื้อวัตถุดิบอาหารตามรายการ และปริมาณที่กำหนด โดยมีแกนนำชุมชน/ผู้ปกครองร่วมเป็นคณะกรรมการตรวจรับและตรวจสอบคุณภาพอาหารทุกวัน ปรุง ประกอบอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และอาหารปลอดภัย แม่ครัวมาจากแม่บ้านอาสาไม่มีกำไรทำด้วยความรักลูก : ได้รับการอบรมด้านการจัดการอาหารและโภชนาการ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้งได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพคกเลาใต้และโรงพยาบาลเชียงคานทุกปี
6. ตักอาหารให้เด็กมีสัดส่วนและปริมาณที่เพียงพอตามคำแนะนำในธงโภชนาการ และใช้อุปกรณ์การบรรจุอาหารที่ถูกหลักสุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย
7. บูรณาการและสอดแทรกความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสู่หลักสูตรการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียน เพื่อส่งเสริมความรู้ ทักษะ และปรับพฤติกรรมการกินของเด็ก 8. ประเมินผลคุณภาพอาหารที่เชื่อมโยงกับข้อมูลพฤติกรรมการกินภาวะโภชนาการ และสุขภาพของเด็ก อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง โดยชุมชนมีส่วนร่วม และนำผลการประเมินสื่อสารสู่สังคม และนำผลการประเมินมาพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มีวัสถุดิบในการจัดการอาหารกลางวันของโรงเรียน
  2. เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของเด็กและเยาวชน
  3. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น
  4. เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะเด็กและเยาวชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    • นักเรียนได้รับประทานผักผลไม้ที่ปลอดภัยและหลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวันที่เหมาะสมตามวัยโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch
    • นักเรียนได้เรียนรู้การสหกรณ์นักเรียนได้
    • นักเรียนได้รับสารอาหารครบ 5 หมู่ และถูกหลัดโภชนาการ ร้อยละ 100
    • นักเรียนอ้วนลดน้อยลง
    • นักเรียนปลอดทุพโภชนาการ ร้อยละ 100
    • นักเรียนสามารถปลูกผักปลอดสารพิษ นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การปลูกผักปลอดสารพิษ ครั้งที่ 1

    วันที่ 4 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ได้รับความรู้จาวิทยากร โดยนายสมชายคำพิมพ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนห้วยซวกคกเลาใต้ ให้ความเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ โดยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา 1 จำนวน 12 คน
    2. จัดซื้อ เมล็ดผักปุ้ยคอก
    3. นักเรียน คณะครู ร่วมกันเตรียมแปลงปลูกผัก และเตรียมดิน ในการปลูกผัก และลงมือปลูกผักรวมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ ประโยชน์ของการกินผักปลอดสารพิษ การดูแลรักษาผักที่ถูกวิธี
    2. เมล็ดพันธ์ผัก จำนวน 60 ซอง ปุ้ยคอก 8 กระสอบ แจกเมล็ดพันธ์ผักขยายสู่ชุมชน โดยให้นักเรียนทุกคนนำไปปลูกที่บ้าน
    3. ได้แปลงผัก ขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 8 เมตรสำหรับปลูกผักบุ้ง 3 แปลง คะน้า 3 แปลง ผักกาดขาว 3 และแปลงผักชี 1 รวมจำนวน 10 แปลง

     

    342 192

    2. ปลูกมะนาว

    วันที่ 5 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ได้รับความรู้จาวิทยากร โดยนายสมชายคำพิมพ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนห้วยซวกคกเลาใต้ ให้ความเกี่ยวกับการปลูกมะนาวและการดูแลมะนาว โดยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา 2 จำนวน 9 คน
    2. วางแผนจัดเตรียมสถานที่สำหรับการเพราะปลูกที่เหมาะสมโดยคณะครูและนักเรียน
    3. จัดซื้อมะนาวปุ้ยคอก น้ำยาเร่งราก ท่อปลูกมะนาว
    4. นักเรียนคณะครู ร่วมกันเตรียมดินและปุ้ยคอกผสมให้เข้ากันแล้วเอามะนาวลงปลูก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 9 คน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการเตรียมการปลูกมะนาว ประโยชน์ของมะนาว และการดูแลมะนาวให้ได้ผลผลิตที่ดี
    2. ได้มะนาว จำนวน 15 ต้น ท่อ จำนวน 10 ท่อ ปุ้ยคอก ตรานกแก้ว จำนวน 2 กระสอบน้ำยาเร่งรากจำนวน 1 ขวด
    3. ครู นักเรียน นำปุ้ยมาผสมกับดินที่เตรียมไว้แล้วนำมะนาว มาปลูกลงมาท่อที่เตรียมไว้แล้ว จำนวนท่อละ 1 ต้นได้ จำนวน 15 ท่อมะนาว 10 ต้น และปลูกนอกท่อ 5 ต้น

     

    342 14

    3. การเลี้ยงกบในบ่อลอย

    วันที่ 5 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. วิทยากรจากกรมประมงอำเภอเชียงคานมาให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงกบและการเตรียมบ่อเลี้ยงกบ ให้ครู นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 20 คน
    2. จัดเตรียมสถานที่หรือโรงเรือนเลี้ยงกบโดยนักเรียน ครู ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการทำบ่อเลี้ยงกบ
    3. จัดซื้อพันธุ์กบและหัวอาหาร
    4. ได้ดำเนินการปล่อยพันธ์กบโดยคณะครู นักเรียน และกรมประมงอำเภอเชียงคาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 20 คน และคณะครู มีความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงกบและการเตรียมบ่อเลี้ยงกบ
    2. มีบ่อเลี้ยงกบ จำนวน3 บ่อ 3.ได้จัดซื้อ จำนวน กบ 1,500 ตัวและได้รับการสนับสนุนจากกรมประมง 3,600 ตัว ร่วมกบทั้งหมด 5,100 ตัว หัวอาหาร 13 กระสอบ
    3. ปล่อยกบจำนวน 3 บ่อ บ่อที่ 1,2 บ่อละ จำนวน 1,800 ตัว และบ่อที่ 3 จำนวน 1,500 ตัว

     

    342 342

    4. ไปแหล่งเรียนรู้จังหวัดหนองบัวลำภู

    วันที่ 9 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำคณะครูนักเรียน ตัวแทนผู้ปกครอง ไปศึกษาดูงานที่โรงเรียนบ้านโคกป่ากุง อำเภอโนนสังข์ จังหวัดหนองบัวลำภู ในวันที่9 สิงหาคม 2559 จำนวน 61 คน

    1. ความรู้โภชนาการ การปลูกผักปลอดสารพิษ
    2. สหกรณ์
    3. การเกษตรในโรงเรียน
    4. การพัฒนาสุขนิสัย
    5. การส่งเสริมสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. คณะครู นักเรียน ผู้ปกครอง ได้ความรู้การปลูกผักปลอดสารพิษ โดยการทำเกษตรแบบผสมผสานโดยการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
    2. ได้รับความรู้สหกรณ์โดยการจัดทำบัญชี ลงรายรับรายจ่าย อย่างละเอียด และสามารถนำมาเป็นแบบอย่างได้อย่างดี
    3. การเลี้ยงสัตว์เพื่ออาหารกลางวัน มีการเลี้ยงไก่ไข่ 2 แบบ คือเลี้ยงแบบปล่อยกับขังกรงตับ การเลี้ยงปลาในบ่อดินและการเลี้ยงในนาข้าว การเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนและนักเรียน เช่น วัว ไก่ง่วง ห่าน ฯลฯ

     

    61 61

    5. การเพาะเห็ดนางฟ้า

    วันที่ 18 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. วิทยากรจากหน่วยงานการเกษตรและสหกรณ์จังหวัดเลยมาให้ความรู้เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงเห็ด ว่าเป็นอย่างไร เมื่อเห็ดติดเชื่อต้องทำอย่างไร
    2. คณะครูผู้ปกครอง นักเรียนและกรรมการสถานศึกษาร่วมกับสร้างโรงเรือนการเพาะเห็ดนางฟ้า
    3. จัดซื้อก้อนเชื้อห็ดนางฟ้า  โดยาเจ้าของฟาร์มให้ความรู้กับนักเรียนแกนนำอีกครั้งหนึ่ง
    4. เมื่อเห็ดพร้อมเปิดนักเรียนจะจะร่วมกันปฏิบัติจริง
    5. นักเรียนที่รับผิดชอบจะให้ความรู้เรื่องของการปลูกเห็ดและการเลี้ยงการดูแลโดยเป็นฐานการเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นำเห็ดที่ได้มาประกอบอาหารโดยดูรายการเกี่ยวกับเห็ด โดยคำนวณจากโปรแกรม thaischoolluc  ร้อยละ 100
    2. นักเรียนได้รับประทานเห็ดสดจากโรงเพาะเห็ดโรงเรียน
    3. เมื่อเหลือจากการประกอบอาหารสามารถจำหน่ายให้กับผู้ปกครองประกอบอาหารที่บ้านได้
    4. นักเรียนได้รับความรู้จากแหล่งเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี

     

    342 342

    6. การปลูกพืชสมุนไพร

    วันที่ 24 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นำนักเรียนไปเรียนรู้โดยการไปศึกษาดูงานจากของจริงคือศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดเลย
    2. วิทยากรให้ความรู้
    3. นักเรียนเดินศึกษาดูงานภายในศูนย์
    4. นักเรียนร่วมกันเตรียมดินและโรงเรือนสำหรับปลูกพืชสมุนไพร
    5. ดำเนิการจัดซื้ออุปกรณ์  พร้อมพืชสมุนไพร
    6. ขอความสนุนทางผู้ปกครองนำพืชสมุนไพรบ้างชนิดที่มีอยู่ในหมู่บ้านมาปลูกกับนักเรียนเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้
    7. นักเรียนทุกคนร่วมกันปลูกพืชสมุนไพร
    8. ได้แหล่งเรียนรู้ใหม่สำหรับการเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้มีความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพรมากขึ้้นและรู้คุณประโยชน์ของสมุนไพร
    2. นักเรียนสามารถนำไปเพาะปลูกที่บ้านได้
    3. นักเรียนมีความรับผิดชอบในการดูแลรักษาทรัพยากรของส่วนร่วม
    4. นักเรียนสามารถนำสมุนไพรไปแก้โ่รคต่างๆ ได้  เช่น วานหางจระเข้  สามารถรักษาแผลไฟไม้ได้  ฟ้าทะลายโจร นำไปต้มแต่ไข้หวัดได้เป็นต้น

     

    123 115

    7. ปลูกผักปลอดสารพิษ ครั้งที่ 2

    วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนร่วมกันเตรียมดินและแปลงสำหรับการเพาะปลูกผักปลอดสารพิษ
    2. ลงมือปลูก พร้อมดูแลและสังเกตการเจริญเติบโต
    3. เมื่อผักโต นำไปประกอบอาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนปลูกผักปลอดสารพิษ ประโยชน์ของการกินผักปลอดสารพิษ การดูแลรักษาผักที่ถูกวิธี
    2. เมล็ดพันธ์ผัก จำนวน 60 ซอง ปุ้ยคอก 8 กระสอบ แจกเมล็ดพันธ์ผักขยายสู่ชุมชน โดยให้นักเรียนทุกคนนำไปปลูกที่บ้าน
    3. ได้แปลงผัก ขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 8 เมตรสำหรับปลูกผักบุ้ง 3 แปลง คะน้า 4 แปลง ผักสลัด 3 แปลงผักชี 1 และต้นหอม 1 รวมจำนวน 11 แปลง
    4. มีผักปลอดสารพิษ ใช้ประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

     

    192 192

    8. กิจกรรมอบรมแม่ครัวอนามัยหัวใจรักเด็ก

    วันที่ 7 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุุมปรึกษาหารือคณะครู นักเรียน ในการจัดกิจกรรม "อบรมแม่ครัวอนามัยหัวใจรักเด็ก"
    2. ทำหนังสือเชิญผู้ปกครองกลุ่มแม่บ้่าน  18  กลุ่ม  จำนวน 45 คน
    3. เตรียมสถานที่และเอกสารสำหรับการประชุม
    4. วิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุฮมให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินและการปรุงอาหารสำหรับเด็ก
    5. กลุ่มแม่บ้านระดมความคิดเห็น ประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมสรุปผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้ปกครองได้รับความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับพฤติกรรมการกินและการปรุงอาหารที่ถูกหลักอนามัย
    2. ผู้ปกครองสามารถนำไปใช้ได้จริงโดยการระดมความคิดเห็น
    3. ผู้ปกครองร่วมสรุปประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นและหาวิธีการแก้ไขได้เป็นอย่างดี
    4. สังเกตการปรุงอาหารเปลี่ยนแปลงตามลำดับ

     

    45 45

    9. ปลูกผักปลอดสารพิษ ครั้งที่ 3

    วันที่ 13 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนร่วมกันเตรียมดินและแปลงสำหรับการเพาะปลูกผักปลอดสารพิษ
    2. ลงมือปลูก พร้อมดูแลและสังเกตการเจริญเติบโต
    3. นักเรียนเตรียมแปลงผักที่บ้าน แล้วนำไปขยายปลูกที่บ้าน
    4. เมื่อผักโต นำไปประกอบอาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนปลูกผักปลอดสารพิษ ประโยชน์ของการกินผักปลอดสารพิษ การดูแลรักษาผักที่ถูกวิธี
    2. เมล็ดพันธ์ผัก จำนวน 60 ซอง ปุ้ยคอก 8 กระสอบ แจกเมล็ดพันธ์ผักขยายสู่ชุมชน โดยให้นักเรียนทุกคนนำไปปลูกที่บ้าน
    3. ได้แปลงผัก ขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 8 เมตรสำหรับปลูกผักบุ้ง 5 แปลง คะน้า 2 แปลง ผักสลัด 2 แปลงผักชี 1 และต้นหอม 1 รวมจำนวน 11 แปลง
    4. มีผักปลอดสารพิษ ใช้ประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
    5. นักเรียนนำผักไปขยายในชุมชน โดยนำไปปลูกที่บ้าน

     

    292 292

    10. การพัฒนาศักยภาพ บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง โรงเรียนในตำบลบุฮม

    วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมปรึกษาหารือในการจัดเตรียมการอบรมพฤติกรรม
    2. ทำหนังสือเชิญโรงเรียนในเครือข่าย
    3. จัดทำป้ายไวนิล พร้อม จัดทำเอกสารในการประชุม
    4. เตรียมสถานที่ในการประชุม
    5. วิทยากรให้ความรู้ในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านสหกรณ์โรงเรียน เศรษฐกิจพอเพียง พฤติกรรมการกิน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้บริโภค การใช้โปรแกรม thai school lunch ในการจัดสำหรับอาหาร
    6. ร่วมระดมความคิดเห็น พร้อมสรุปผลการอบรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ครู นักเรียน ผู้ปกครอง โรงเรียนเครื่อข่ายได้รับความรู้เกี่ยวกับด้านต่าง ๆ
    2. ครู นักเรียน ผู้ปกครอง โรงเรียนเครื่อข่ายสามารถสรุปและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันได้เป็นอย่างดี
    3. ครู ในเครือข่ายสามารถนำเอาโปรแกรมthai school lunch ไปใช้ในการจัดสำหรับอาหารให้กับนักเรียนได้

     

    130 130

    11. ถอนเงินเปิดบัญชีธนาคารพร้อมดอกเบี้ย

    วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมเพื่อถอนเงินเปิดบัญชี และดอกเบี้ยธนาคาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำเงินดอกเบี้ยคืนโครงการเด็กไทยแก้มใส

     

    1 1

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้มีวัสถุดิบในการจัดการอาหารกลางวันของโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : - นำผลผลิตที่ได้จากการเกษตรมาใช้ในอาหารกลางวันร้อยละ 80

    ได้นำผลผลิตจาการปลูกผักปลอดสารพิษ ไข่ไก่ กบ มาใช้ในการประกอบอาหารกลางวันได้จริง ร้อยละ 80 % มีบางส่วนที่ได้รับการสนับสนุนจากเครือข่ายชุมชน

    2 เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของเด็กและเยาวชน
    ตัวชี้วัด : - นักเรียนเจริญเติบโตสมวัยโดยมี ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน 7% ภาวะผอม ไม่เกิน 7% ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 7% - มีการใช้โปรแกรม Thai School Lunch ออกเมนูอาหาร

    บรรลุวัตถุประสงค์ตามเกณฑ์ตัวชี้วัด

    3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น
    ตัวชี้วัด : - เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ในตำบลบุฮม จำนวน 4 หมู่บ้าน - นำผลผลิตในชุมชนมาใช้ในการประกอบอาหาร - ผู้ปกครองโดยจิตอาสามาประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

    1.สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรในตำบลบุฮม จำนวน 4 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านผาแบ่น บ้านอุมง บ้านบุฮม บ้านคกเลา

    2.สามารถนำผลผลิตจากชุมชนเครือข่าย 2 หมู่บ้าน เพื่อเป็นวัถตุดิบเพื่อเป็นโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนทำให้นักเรียนได้บริโภคอาหารที่มีคุณภาพและมีความปลอดภัย

    3.มีผู้ปกครองที่มีจิตอาสาหมุนเวียนมาประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนในโรงเรียนทุกวัน

    4 เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะเด็กและเยาวชน
    ตัวชี้วัด : 1. เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง (ติตตามผลโดยครูและผู้ปกครอง) 2. นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง 3. ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน (โดยเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ) 4. นักเรียนประมาณ 80 % ของจำนวนเด็กในโรงเรียน ให้ความร่วมมือทำกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

    -เด็กนักเรียนทุกคนสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมมากินผักและผลไม้ได้ตามปริมาณที่กำหนดโดยมีครูและผู้ปกครองติดตามผล

    -เด็กนักเรียนทุกคนมีการล้างมือก่อนรับประทานอาหารและแปรงฟันหลังรับประทานอาหาร ได้ตามวัตถุประสงค์ทุกคน

    -มีการส่งเสริมกิจกรรมออกกำลังกาย ผ่านกิจกรรมมาฉิ่ง (เต้นประกอบเพลงช่วงเช้าก่อนเข้าเรียนใช้เวลา 15 นาที )ทำให้เด็กมีร่างกายแข็งแรงสมองสดใส ส่งเสริมให้เด็กมีสมาธิในการเรียนเพิ่มขึ้น

    -เด็กนักเรียนทุกคนให้ความร่วมมือในกิจกรรมเด็กไทยแก้มใสได้ดีทุกคน

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีวัสถุดิบในการจัดการอาหารกลางวันของโรงเรียน (2) เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของเด็กและเยาวชน (3) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น (4) เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะเด็กและเยาวชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนห้วยซวกคกเลาใต้

    รหัสโครงการ ศรร.1312-055 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.9 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    บ่อเลี้ยงกบสมุนไพร

    โรงเรียนมีการเลี้ยงกบ จำนวน 3 บ่อ คือ บ่อซีเมนต์ จำนวน 1 บ่อ และบ่อดิน จำนวน 2 บ่อ ซึ่งรูปแบบการเลี้ยงบ่อดินมีวิธีการเลี้ยงในรูปแบบใหม่ คือ มีการปลูกพืชสมุนไพร เช่น ตะใคร้ ตะใคร้หอม ในบ่อเลี้ยงซึ่งช่วยลดกลิ่นคาวของบ่อเลี้ยงที่เกิดจากการหมักหมมของเศษอาหาร ตลอดจนการเลี้ยงที่เลียนแบบธรรมชาติ เป็นการเลี้ยงแบบปล่อย จากการนำกบมาประกอบอาหารมื้อกลางวันให้กับเด็กนักเรียน เพื่อเปรียบเทียบความแต่งต่างระหว่างกบที่เลี้ยงในบ่อซีเมนต์และบ่อดินที่มีการปลูกสมุนไพร มีความอร่อยและไม่มีกลิ่นคาว

    เพิ่มปริมาณบ่อเลี้ยงกบให้มากขึ้น เนื่องจากกำไรดี เด็กได้ทานอาหารประเภทโปรตีนที่มีประโยชน์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    ไข่แลกผัก

    โรงเรียนมีการขยายพันธุ์ผัก เช่น คะน้า กวางตุ้ง ผักบุ้ง ไปสู่ชุมชนโดยให้เด็กนักเรียนนำไปปลูกที่บ้าน โดยให้มีการปลูกในรูปแบบอินทรีย์โดยจะเวียนเป็นรอบการปลูกโดยเริ่มทดลองจากชั้นมัธยมจำนวน 42 คน นำผักไปปลูกที่บ้านแลกกับไข่ที่โรงเรียนโดยผัก 1 กิโลกรัมต่อไข่ 2 ฟอง และเมื่อได้ผักแล้วจะนำไปผ่านสหกรณ์โรงเรียนเพื่อนำไปประกอบอาหารกลางวัน โดยสหกรณ์จะรับซื้อผักในราคากิโลกรัมที่ถูกว่าท้องตลาด และมีความปลอดภัย

    เพิ่มปริมาณไก่ไข่ที่เลี้ยงให้มีมากขึ้น เพื่อนักเรียนจะได้มีไข่คุณภาพและได้กินผักปลอดสารพิษ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    40 เมนูทองจากแม่ให้ลูกรัก

    โรงเรียนมีการจัดเรื่องของการรบริการอาหารของนักเรียนโดยใช้โปรแกรม Thaischool luch และมีกลุ่มแม่บ้านอาสาหมุนเวียนมาประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนในโรงเรียน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    มาร์ชิ่งความดีเพื่อสุขภาพ

    การนำกิจกรรมมาร์ชิ่งเข้ามาใช้ในการออกกำลังกายทำให้เด็กที่มีปัญหาด้านโภชนาการมีร่างกายแข็งแรงสสมบูรณ์ โดยมีการเดินมาร์ชิ่งตามจังหวะเพลงทุกเช้าก่อนเข้าห้องเรียน เป็นการฝึกให้เด็กมีสมาธิ ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 15 นาที

    นำกิจกรรมนี้ไปขยายไปสู่โรงเรียนในเครือข่าย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    คู่หูฟันดี

    กิจกรรมนี้เกิดขึ็นได้เพราะว่า ภายในโรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนดูแลสุขภาพฟัน โดยส่งเสริมให้เด็กมีการแปรงฟันหลังอาหาร ซึ่งมีการจับคู่การตรวจฟันระหว่างพี่ดูแลน้อง จนทำให้ได้ีัรับรางวัล "คู่หูฟันดี" จากสำนักงานสาธารณสุข

    มีการขยายความรู้ให้กับโรงเรียนในเครือข่ายนำความรู้ไปใช้กับเด็กนักเรียน เพือ่ให้มีสุขภาพฟันที่ดี ฟันขาว ยิ้มสวย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    กิจกรรม 5 ห้องชีวิต

    กิจกรรมที่ทางโรงเรียนจัดขึ้น เป็นกิจกรรมในตอนเช้า ที่เรียกว่า "กิจกรรม โซนทำความสะอาด" โดยมีการแบ่งโซนออกเป็น 5 โซนมีครูและนักเรียนประจำโซนรับผิดชอบ การกวาดถนน ขัดห้องน้ำ เก็บใบไม้ แยกขยะ รดน้ำต้นไม้ กวาดถูอาคาร และซึ่งแต่ละโซนก็จะมีการหมุนเวียนกันทุกวัน เพื่อให้นักเรียนได้รับผิดชอบทุกๆโซน ทั่วโรงเรียน

    สนับสนุนให้มีอุปกรณ์อย่างเพียงพอ เพื่อให้เด็กนักเรียนได้มีส่วนร่วมในการทำความสะอาดกันทุกคน และจะได้เป็นการปลูกฝังลักษณะนิสัยให้กับเด็ก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนห้วยซวกคกเลาใต้ จังหวัด เลย

    รหัสโครงการ ศรร.1312-055

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนิววรรณ ทิมเขียว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด