ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ


“ โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ ”

หมู่ 9 ตำบลบ้านโคก อำเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี

หัวหน้าโครงการ
นางอัจฉราภรณ์ ศรีบุตตะ

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ

ที่อยู่ หมู่ 9 ตำบลบ้านโคก อำเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี จังหวัด อุดรธานี

รหัสโครงการ ศรร.1312-058 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.12

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ จังหวัดอุดรธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ 9 ตำบลบ้านโคก อำเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ 9 ตำบลบ้านโคก อำเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี รหัสโครงการ ศรร.1312-058 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 190 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ 8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้ (สรุปผลการดำเนินงาน ของโครงการฯ ปีที่ 1 พร้อมสถานการณ์ด้านอาหารและโภชนาการของเด็กนักเรียน ก่อน-หลัง เข้าร่วมโครงการ และกิจกรรมที่ประสบความสำเร็จที่เห็นผลผลิต ผลลัพธ์ หรือนวัตกรรม อย่างเป็นรูปธรรม ตามข้อมูลในใบสมัครส่วนที่3) อาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยเรียน นักเรียนโรงเรียนบ้านดอนเดื่อมีปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อย ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหารภาวะโภชนาการเกินการขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้องและที่สำคัญรับประทานอาหารไม่ครบ 5 หมุ่
หลังจากโรงเรียนบ้านดอนเดื่อ ได้เข้าร่วมโครงการจึงได้จัดโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันซึ่งมีกิจกรรมหลายอย่าง เช่น กิจกรรมการปลูกพืชผักตามฤดูกาลการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่การเพาะเห็ดการเลี้ยงปลาในบ่อดินการเลี้ยงกบการปลูกกล้วยหอมทอง กิจกรรมหนึ่งคนหนึ่งท่อ การปลูกกล้วยการทำสวนสมุนไพรฯลฯ นอกจากนั้นยังได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนอาหารปลอดภัยปลอดโรคโครงการศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงโครงการเด็กกินอิ่มเรายิ้มได้โครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกาย หลังจากการดำเนินโครงการต่างๆ ส่งผลให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีอาหารบริโภคและถูกหลักโภชนาการ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
  2. เพื่อให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาภาวะโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองและคนในชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริม ความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน มีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพของนักเรียนตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
  4. พื่อขยายผลโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสสู่โรงเรียนเครือข่ายธรรมฐิติญาณ จำนวน โรงเรียน ได้แก่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำเนินชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
    2. โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญญาโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
    3. พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนตระหนักรู้ ตื่นตัวและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนานักเรียนในด้านต่างๆช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและเข้มแข็งให้กับครอบครัวและท้องถิ่นตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การทำน้ำสมุนไพร

    วันที่ 1 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    น้ำสมุนไพร ประกอบด้วยน้ำตะไคร้ ใบเตย อัญชัน กระเจี๊ยบ และน้ำมะตูม ในการทำเราจะทำน้ำสมุนไพร จะทำสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง ครั้งละ 1-3 ชนิด

    วิธีการทำอยู่ในไฟล์ที่แนบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้องค์ความรู้ และการทำน้ำสมุนไพร
    2. ในการทำน้ำสมุนไพรแต่ละครั้ง จะได้น้ำสมุนไพรชนิดละประมาณ 25-30 ขวด
    3. ได้แผ่นพับวิธีการทำน้ำดื่มสมุนไพร จำนวน50แผ่น

     

    27 27

    2. การเลี้ยงปลาในบ่อดิน

    วันที่ 25 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะทำงาน ผู้ปกครอง ครู นักเรียน เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
    2. ให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงปลา โดยวิทยากรท้องถิ่น
    3. แบ่งกลุ่มนักเรียนรับผิดชอบในการขุดบ่อดิน
    4. สั่งซื้อปลาดุก ปลานิล ปลาตะเพียน และอาหารปลา
    5. นักเรียนนำปลาดุก ปลานิล ปลาตะเพียน ปล่อยลงในบ่อ
    6. นักเรียนที่รับผิดชอบให้อาหารปลา อย่างสม่ำเสมอ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงปลาในบ่อดิน และการดูแลรักษา
    2. ได้บ่อปลา จำนวน 6 บ่อ
    3. ได้ปลาดุก ปลานิล ปลาตะเพียนอย่างละ 1,000 ตัว

     

    110 110

    3. การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่

    วันที่ 25 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมคณะทำงาน ผู้ปกครอง ครู นักเรียน เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (2 มิ.ย.59)
    2. ให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงไก่พันธ์ุไข่ โดยวิทยากรท้องถิ่น (3 มิ.ย.59)
    3. สั่งซื้ออุปกรณ์ ยารักษาโรค วัคซีน และอาหารไก่
    4. นักเรียนดำเนินการดูแลรักษา ให้ยารักษาโรค วัคซีน และอาหารไก่ อย่างสม่ำเสมอ
    5. นักเรียนที่รับผิดชอบเก็บไข่ เพื่อส่งสหกรณ์นักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้องค์ความรู้ในเรื่องการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ และการดูแลรักษา
    2. ได้วัสดุอุปกรณ์ (ถังน้ำ ลางอาหาร ลางน้ำ ยารักษาโรค และอาหาร )

     

    76 76

    4. การปลูกพืชผักหมุนเวียนตามฤดูกาล

    วันที่ 5 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สร้างองค์ความรู้การปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้โดยวิทยากรท้องถิ่น 16 มิย.
    2. เตรียมพื้นที่เพาะปลูก โดยแบ่งเป็นแปลง จำนวน 8 แปลง และแบบท่อจำนวน 24 ท่อ
    3. นักเรียนทำการเพาะปลูกผักสวนครัว เช่น ผักบุ้ง ถั่ว ผักชี เป็นต้น
    4. นักเรียนรดน้ำทุกวัน ดูแลรักษาอย่างสม่ำเสมอ
    5. เก็บเกี่ยวผลผลิต จัดจำหน่ายสหกรณ์โรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้องค์ความรู้เรื่องการปลูกพืชผักสวนครัว และการดูแลรักษา
    2. ได้ผักสวนครัว อาทิตย์ละประมาณ 10 กิโลกรัม เพื่อใช้ประกอบอาหาร

     

    112 78

    5. กิจกรรมเยี่ยมบ้าน

    วันที่ 8 กันยายน 2016 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดทำเอกสารการเยี่ยมบ้านนักเรียน
    2. ออกเยี่ยมบ้านนักเรียน โดยดูสภาพความเป็นอยู่ที่แท้จริง และสอบถามผู้ปกครองนักเรียนเกี่ยวกับพฤติกรรมต่างๆของนักเรียน พร้อมบันทึกตามเอกสาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ครูผู้รับผิดชอบได้เห็นสภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่แท้จริงของนักเรียนและผู้ปกครอง
    2. นำข้อมูลที่ได้มาช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาทางด้านต่างๆ

     

    22 28

    6. สอส.นัด ตรวจรายงานโครงการ

    วันที่ 21 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มาตรวจรายงานความก้าวหน้าโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อเสนอแนะ และได้ทราบวิธีการจัดทำที่ถูกต้อง

     

    0 2

    7. การเพาะเห็ดนางฟ้า

    วันที่ 16 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมแบ่งกลุ่มผู้ปกครองนักเรียนและนักเรียนตามความสนใจและความถนัด โดยแบ่งเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ 2.การปลูกพืชหมุนเวียนตามฤดูกาล 3.การปลูกเห็ดนางฟ้า 4.การเลี้ยงปลาในบ่อดิน 5.การปลูกกล้วยน้ำว้าและกล้วยหอมทอง
    2. นำวิทยากรท้องถิ่นที่มีความเชี่ยวชาญทางการเกษตรด้านต่างๆมาให้ความรู้ ขั้นตอน วิธีการและการดูแลรักษา มาให้ความรู้ให้กับผู้ปกครองนักเรียน ครู และผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ
    3. ผู้ปกครองและนักเรียนที่แบ่งกลุ่มเรียบร้อยแล้ว ลงมือปฏิบัติกิจกรรม 4.ผู้ปกครองและนักเรียน ช่วยกันดูแลจนสามารถบริโภคและจำหน่ายได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ประชุมคณะทำงาน ผู้ปกครอง นัเรียน เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 2.ให้ความรู้เรื่องการเพาะเห็ด  การเก็บ การดูแลรักษา โดยวิทยากรท้องถิ่น 3.สั่งซื้อก้อนเห็ด 4.นักเรียนดำเนินการดูแลรักษาอย่างสม่ำเสมอ นักเรียนที่รับผิดชอบเก็บเห็ดเพื่อส่งสหกรณ์นักเรียน เพื่อเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน

     

    98 98

    8. การปลูกกล้วยน้ำว้าและกล้วยหอมทอง

    วันที่ 22 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.สร้างองค์ความรู้การปลูกกล้วยน้ำว้าและกล้วยหอมทอง โดยวิทยากรท้องถิ่น
    2.เตรียมพื้นที่เพาะปลูก โดยแบ่งเป็นแปลง จำนวน 10 แปลง แปลงละ 10 ต้น 3.นักเรียนทำการปลูกกล้วยน้ำว้าและกล้วยหอมทอง
    4.นักเรียนรดน้ำทุกวัน ดูแลรักษาอย่างสม่ำเสมอ 5.เก็บเกี่ยวผลผลิต จัดจำหน่ายสหกรณ์โรงเรียน และเข้าสู่อาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้องค์ความรู้การปลูกกล้วยน้ำว้าและกล้วยหอมทอง  และลงมือปฎิบัติ

     

    105 103

    9. ส่งเสริมกิจกรรมการออกกำลังกาย

    วันที่ 23 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมสัปดาห์ละ ๓ วัน วันละ ๑ ชั่วโมง - จัดกิจกรรมตามแผน ได้แก่ กิจกรรมแอโรบิก กิจกรรมกระโดดเชือก กิจกรรมกีฬาสี - กิจกรรมชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และวัดรอบเอว
    -จัดประกวด กิจกรรมเต้นแอโรบิก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพใจที่ดี
    2. เด็กได้ร่วมกิจกรรมด้วยความสนุกสนาน และเกิดความสามัคคี 3.ได้ทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน

     

    252 290

    10. สหกรณ์นักเรียน

    วันที่ 14 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชุม แต่งตั้งคณะกรรมการเจ้าหน้าที่สหกรณ์  และเวรประจำวัน 2.ทุกวันพฤหัสบดีของสัปดาห์ นักเรียนนำผลผลิตจากโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันบางส่วนออกขายที่ตลาดนัดชุมชน 3.บันทึกกิจกรรมรายรับรายจ่าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์  เช่น  การทำงานร่วมกัน  การประชุม  การทำบัญชี  การค้าขาย 

     

    124 122

    11. ประชุม อบรม ชี้แจงให้ ความรู้พ่อ แม่ ผู้ปกครอง

    วันที่ 20 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ผู้ปกครองและผู้ที่เข้ารับการอบรมลงทะเบียน 2.ผู้ปกครองรับฟังการประชุม อบรม ชี้แจง เกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กโดยนำระบบ Thai School Lunch โดยวิทยากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ปกครองได้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กโดยนำระบบ Thai School Lunch โดยวิทยากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ

     

    380 322

    12. คืนดอกเบี่ยปิดบัญชีโครงการ

    วันที่ 21 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนดอกเบี้ยปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้คืนดอกเบี้ยเรียบร้อย

     

    0 0

    13. สอส. นัดตรวจโครงการงวดที่2

    วันที่ 21 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานสรุปการเงินปิดโครงการและรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำรายงานสรุปการเงินปิดโครงการและรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ เสร็จเรียบร้อย สามารถขอเบิกงวด 3 และปิดโครงการได้

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนมีอาหารบริโภคและถูกหลักโภชนาการ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
    ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียนปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์โดยการมีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและภาคีเครือข่าย 2. โรงเรียนนำ Thai School Lunch Program มาวางแผนปรุง ประกอบอาหารกลางวันถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลและปลอดภัย 3. โรงเรียน ผู้ปกครองและชุมชนเป็นสิ่งแวดล้อมที่ดีด้านอาหารแก่นักเรียนตามหลักโภชนาการอย่างต่อเนื่องทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน

    โรงเรียนได้ปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์โดยการมีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและภาคีเครือข่าย โรงเรียนมีการนำ Thai School Lunch Program มาวางแผนปรุง ประกอบอาหารกลางวันถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลและปลอดภัย นักเรียนได้รับประทานอาหารตามหลักโภชนาการอย่างต่อเนื่องทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน

    2 เพื่อให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาภาวะโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการด้านอาหารและสุขภาพของนักเรียน 2. ผู้ปกครอง ชุมชนมีส่วนในการเสริมสร้างภาวะโภชนาการที่ถูกต้องแก่นักเรียนทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน 3. ผู้ปกครอง ชุมชนให้ความร่วมมือ สนับสนุนการดำเนินงานทุกกิจกรรมจนเกิดความมั่นคงทางอาหารทั้งที่บ้านและโรงเรียน นักเรียนในศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสมีสุขภาวะที่ดี 4. โรงเรียนบ้านดอนเดื่อบริหารจัดการอาหาร โภชนาการและสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจร

    ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการด้านอาหารและสุขภาพของนักเรียนมีส่วนในการเสริมสร้างภาวะโภชนาการที่ถูกต้องแก่นักเรียนทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน ทำให้นักเรียนมีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรงสมวัย

    3 เพื่อให้ผู้ปกครองและคนในชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริม ความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน มีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพของนักเรียนตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
    ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการครบ ๘ องค์ประกอบ โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส 2. โรงเรียน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ภาคีความร่วมมือต่าง ๆ ให้บริการแก่ผู้สนใจในศูนย์เรียนรู้ต้นแยบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส(ศรร.)อย่างมีคุณภาพ

    โรงเรียน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ภาคีความร่วมมือต่าง ๆ ให้บริการแก่ผู้สนใจในศูนย์เรียนรู้ต้นแยบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส(ศรร.)อย่างมีคุณภาพ

    4 พื่อขยายผลโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสสู่โรงเรียนเครือข่ายธรรมฐิติญาณ จำนวน โรงเรียน ได้แก่
    ตัวชี้วัด : ขยายผลไปสู่โรงเรียนในเครือข่าย โรงเรียน

    โรงเรียนได้ขยายผลการดำเนินงานไปสู่โรงเรียนในเครือข่าย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีอาหารบริโภคและถูกหลักโภชนาการ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ (2) เพื่อให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาภาวะโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อให้ผู้ปกครองและคนในชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริม ความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน มีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพของนักเรียนตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน (4) พื่อขยายผลโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสสู่โรงเรียนเครือข่ายธรรมฐิติญาณ จำนวน โรงเรียน ได้แก่

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ

    รหัสโครงการ ศรร.1312-058 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.12 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน
    1. อุโมงค์เรียนรู้เกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    2. การปลูกพืชไร้ดิน

    1.รายละเอียดกิจกรรมอุโมงค์เรียนรู้เกษตรเพื่ออาหารกลางวัน - นำไม้ไผ่มาสานเป็นอุโมงค์ จำนวน 2 อุโมงค์ - ปลูกผักไม้เลื้อย เช่น บวบ
    - ครูให้ความรู้ เรื่องการปลูก การดูแลรักษา แะแบ่งให้นักเรียนรับผิดชอบดูแล - นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีความสุขในการทำ หลักฐาน ภาพถ่ายกิจกรรม 2. รายละเอียดกิจกรรมการปลูกผักไร้ดิน - ทำรางโดยใช้ท่อพีวีซี เพื่อลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ - นำพืชมาปลูก ตามรางข้างต้น โดยนักเรียนเป็นผู้ดำเนินการ ครูผู้รับผิดชอบแนะนำ - จุดเด่น นักเรียนให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะเป็นนวัตกรรมใหม่ ซึ่งเป็นการปลูกพืชที่ไม่ต้องใช้ดิน และไม่ใช้น้ำเยอะ ได้ผลิตเร็วและเยอะ

    ขยายผลต่อผู้ปกครองและชุมชน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

    1.กิจกรรมสหกรณ์ร่วมมือร่วมใจ แก้มใสบริการ

    1.รายละเอียดกิจกรรม - รับซื้อผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียนเข้าสู่ระบบสหกรณ์ - นำผลผลิตออกจำหน่ายตลาดชุมชนทุกวันพฤหัสบดี จุดเด่น
    - นักเรียนได้เรียนรู้ระบบบัญชีรายรับ รายจ่ายของสหกรณ์ - นักเรียนได้เรียนรู้มิติของการตลาดในการจัดหาสิ่งของมาขาย

    นักเรียนแกนนำ ให้ความรู้ระบบบัญชีรายรับ รายจ่ายของสหกรณ์แก่โรงเรียนเครือข่าย

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

    1.อาหารปลอดภัย แก้มใสเริงร่า

    รายละเอียดของกิจกรรม 1. นำผลผลิตของโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันมาใช้เป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร
    2. โดยนำโปรแกรม Thai school lunch มาช่วยในการกำหนดเมนูอาหาร 3. ประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนอย่างเพียงพอ จุดเด่น - ชุมชนนำผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษมาประกอบอาหาร - นักเรียนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย เพียงพอและเหมาะสม

    ให้ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมThai school lunch แก่โรงเรียนเครือข่าย

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    1.กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหาร

    รายละเอียดของกิจกรรม - นักเรียนรับประทานอาหารกลางวัน 11.30-12.20 น. - หลังจางจากรับทานอาหารเสร็จ นักเรียนทุกคนแปรงฟันพร้อมกัน 12.20-12.30 น. โดยมีครูที่ปรึกษาควบคุมดูแล

    จัดกิจกรรมประกวดฟันสวย

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

    1.กิจกรรมตาวิเศษ

    รายละเอียดกิจกรรม 1. กำหนดบริเวณที่นักเรียนเก็บขยะ - บ่อทราย - สนามนอกอาคารทั้ง 2 ด้าน - ภายในอาคารเรียน 2. กำหนดเวลาเก็บขยะ -ประเมินกิจกรรมหน้าเสาธงเวลา 08.30 – 08.35 น. 3. ประเมินผลการจัดกิจกรรมส่งสรุปรายงานทุกเดือน สิงที่ได้รับ 1. นักเรียนมีวินัย มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกัน 2.นักเรียนรู้จักใช้และรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

    ให้นักเรียนรู้จักแยกขยะเพื่อทำให้เกิดรายได้

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

    กิจกรรมการเต้นแอโรบิกทุกวันศุกร์

    รายละเอียดกิจกรรม - ทุกวันศุกร์ เวลา 15.00 - 15.30 น. นักเรียนทุกคนรวมกันที่สนามฟุตบอล - นักเรียนแกนนำนำนักเรียนเต้นแอโรบิก จุดเด่น - นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้น

    เชิญชวนผู้ปกครอง ชุมชน มาร่วมกิจกรรม

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    1.กิจกรรมเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    รายละเอียดของกิจกรรม -1.ประชุมแบ่งกลุ่มผู้ปกครองนักเรียนและนักเรียนตามความสนใจและความถนัด โดยแบ่งเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ 2.การปลูกพืชหมุนเวียนตามฤดูกาล 3.การปลูกเห็ดนางฟ้า 4.การเลี้ยงปลาในบ่อดิน 5.การปลูกกล้วยน้ำว้าและกล้วยหอมทอง 2.นำวิทยากรท้องถิ่นที่มีความเชี่ยวชาญทางการเกษตรด้านต่างๆมาให้ความรู้ ขั้นตอน วิธีการและการดูแลรักษา มาให้ความรู้ให้กับผู้ปกครองนักเรียน ครู และผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ 3.ผู้ปกครองและนักเรียนที่แบ่งกลุ่มเรียบร้อยแล้ว ลงมือปฏิบัติกิจกรรม 4.ผู้ปกครองและนักเรียน ช่วยกันดูแลจนสามารถบริโภคและจำหน่ายได้ 5.ผลผลิตที่ได้จากแต่ละกิจกรรม นำส่งที่สหกรณ์ แล้วส่งต่อที่โครงการอาหารกลางวัน เพื่อทำอาหารที่ปลอดภัยและมีประโยชน์ต่อนักเรียน ทำให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี

    นำผลผลิตที่เหลือจากการส่งให้โครงการอาหารกลางวัน มาขายต่อที่ตลาดนัดชุมชน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ
    1. การจัดทำไข่ม้วนไข่กระทะ

    ลักษณะโครงการ - เป็นการร่วมมือระหว่างนักเรียน โรงเรียน ครู นำผลผลิตที่มีที่บ้าน(ผัก) เพื่อมาเป็นส่วนประกอบของไข่ม้วน ไข่กระทะ
    จุดเด่น 1. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กกินผัก
    2. ส่งเสริมทักษะอาชีพ การหารายได้ระหว่างเรียน

    นอกจากการทำไข่ม้วนไข่กระทะ ยังนำผลิตภัณฑ์ไข่มาทำอาหารประเภทอื่น เช่น ไข่เค็มสมุนไพร

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    ชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น รพ.สต.

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมทางด้านเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน มีน้ำอย่างเพียงพอ มีดินที่เหมาะแก่การเพาะปลูก ทำให้ได้ผลผลิตเพียงพอต่อความต้องการและมีคุณภาพ

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    โรงเรียนได้มีการวางแผนประสานงานกับภาคีเครือข่าย เช่น ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน และหน่วยงานอื่นๆ เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    ครูมีการอบรมการดำเนินการเพื่อมาขยายผลสู่นักเรียนและแม่ครัว

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    ประชุม ชี้แจง การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนเพื่อปรับปรุงและพัฒนาโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

     

     

     

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

     

     

     

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/1
    เตี้ย 7.36 7.36% 3.30 3.30% 2.75 2.75% 2.75 2.75% 2.20 2.20% 10.18 10.18%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 15.95 15.95% 3.30 3.30% 9.89 9.89% 9.89 9.89% 14.29 14.29% 15.57 15.57%
    ผอม 3.68 3.68% 12.09 12.09% 10.44 10.44% 5.49 5.49% 3.30 3.30% 9.58 9.58%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 9.20 9.20% 23.08 23.08% 23.63 23.63% 21.43 21.43% 14.84 14.84% 22.75 22.75%
    อ้วน 0.61 0.61% 0.55 0.55% 0.55 0.55% 0.55 0.55% 0.55 0.55% 0.60 0.60%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 4.29% 4.29% 1.65% 1.65% 2.20% 2.20% 3.30% 3.30% 2.75% 2.75% 3.59% 3.59%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    ชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น รพ.สต.

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ จังหวัด อุดรธานี

    รหัสโครงการ ศรร.1312-058

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอัจฉราภรณ์ ศรีบุตตะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด