แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านโนนสูง


“ โรงเรียนบ้านโนนสูง ”

โรงเรียนบ้านโนนสูง หมู่ 9 ตำบลโนนสูง อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ

หัวหน้าโครงการ
นางสาวดนตรี บุญลี

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านโนนสูง

ที่อยู่ โรงเรียนบ้านโนนสูง หมู่ 9 ตำบลโนนสูง อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัด ศรีสะเกษ

รหัสโครงการ ศรร.1312-078 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.32

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านโนนสูง จังหวัดศรีสะเกษ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านโนนสูง หมู่ 9 ตำบลโนนสูง อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านโนนสูง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านโนนสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านโนนสูง " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านโนนสูง หมู่ 9 ตำบลโนนสูง อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ รหัสโครงการ ศรร.1312-078 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านโนนสูง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 254 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
  2. เพื่อให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
  3. เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
  4. เพื่อให้ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
    2. โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
    3. พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
    4. ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่

    วันที่ 2 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ซ่อมแซมโรงเรือนเพื่อใช้ในการเลี้ยงไก่สาวพันธ์ุไข่ (อายุ 16 สัปดาห์) จำนวน 20 ตัว
    -ปรับปรุงซ่อมแซมเล้าไก่เพื่อรองรับไก่สาวพร้อมไข่ จำนวน 40 ตัว - แบ่งเวรนักเรียนชั้นป.4-6 รับผิดชอบให้อาหาร ให้น้ำไก่ในแต่ละวัน ไข่ไก่ที่นักเรียนเก็บได้ในแต่ละวันเฉลี่ยที่ 35-40 ฟอง นำไข่ที่ได้ไปเป็นประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนได้รับประทานโดยการจำหน่ายไข่ไก่ ผ่านกระบวนการสหกรณ์ของโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต -นักเรียนเก็บไข่ไก่ได้เฉลี่ยวันละ 35-40 ฟอง ผลลัพธ์ -นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง -นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น -นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย
    -นักเรียนมีจิตอาสาบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม รู้จักรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย

     

    46 51

    2. กิจกรรมเลี้ยงสุกรพื้นเมือง

    วันที่ 2 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 รับผิดชอบให้อาหารในวันราชการปกติ และครูเวรรับผิดชอบในวันเสาร์และอาทิตย์ โดยให้อาหารจากเศษอาหารจากอาหารกลางวัน เช่น เศษผัก เศษอาหาร รวมทั้ง เศษผักหญ้าจากแปลง สวนผักสวนครัว ผสมกับ ปลายข้่าวและรำเพื่อเพิ่มจำนวนอาหารเนื่องจากสุกรมีจำนวนมากขึ้นอายุมากขึ้นทำให้สุกรกินอาหารมากขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับลูกสุกรจาก ร้อยตำรวจโทประหยัด มงคลศรีวิทยา จำนวน 2 ตัว นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 รับผิดชอบให้อาหาร และดูแล สุกรคลอดลูกครอกแรกจำนวน 3 ตัว และครอกที่ 2 จำนวน 10 ตัว ตาย 1 ตัว จำหน่ายเป็นลูกสุกรชุดแรกจำนวน 8 ตัว ตัวละ 750 บาท เป็นเงิน 6000 บาท ขายชุดที่ 2 สุกรขุน จำนวน 2 ตัว ตัวละ 95 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 50 บาท เป็นเงิน 9500 บาท 

     

    46 50

    3. เลี้ยงปลาดุก

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดำเนินการซื้อลูกปลาดุกจำนวน 1000 ตัว ราคาตัวละ 1 บาท รวมเป็นเงิน 1000 บาท และอาหาร ปลาดุกเล็กจำนวน 12 ก.ก. กิโลกรัมละ 30 บาท เป็นเงิน 360 บาทอาหารปลาใหญ่จำนวน 1 กระสอบ กระสอบละ 440 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1800 บาท โดยให้นักเรียนชั้น ป.4-6 แบ่งเวรให้นักเรียนรับผิดชอบ วันจันทร์-ศุกร์ และครูเวรในวัน เสาร์-อาทิตย์
    2 คัดเลือกปลาดุกที่ได้ขนาด นำมาประกอบอาหาร และตัวที่ มีไม่ได้ขนาดก็ต้องเลี้ยงเป็นรุ่นๆต่อไป หากไม่นำปลาทีมีขนาดใหญ่ ออกก่อนก็จะทำให้ปลาดุกใหญ่เกินขนาดไม่น่ารับประทาน
    3.นำปลาดุกรุ่นต่อไปลงในบ่อที่ 2 จำนวน 700 ตัว ตัวละ 1 บาท และซื้ออาหารปลาดุก จำนวน 3 กระสอบ กระสอบละ 500 บาท เป็นเงิน 1500 บาท รวมเงินทั้งสิ้น 2200 บาทซึ้งรวมเงินทั้งหมดตลอดโครงการ 4000 บาท ซึ้งเงินที่ได้จากการขายปลาดุก ก็จะไว้เป็นทุนหมุนเวียนในรอบการผลิดต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • นักเรียนแกนนำมีความรู้การปรับ กรด-ด่าง ในบ่อเลี้ยง การปล่อยปลาโดยต้องแช่ปลาในน้ำก่อนที่จะเปิดถุง การให้อาหารปลาตามขนาดอายุ การเปลี่ยนน้ำและรักษาน้ำให้มีคุณภาพดี
    • นักเรียนรู้จักการคัดเลือกปลาดุกเป็นรุ่นๆ เพื่อจำหน่าย
    • นักเรียนได้เรียนรู้การใช้ตาชั่ง
    • นักเรียนได้ลงมือจับปลาดุกเเละเทคนิคการเลือกปลาที่มีขนาดพอดี

     

    47 45

    4. ตรวจสุขภาพนักเรียน

    วันที่ 24 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองบัวตรวจสุขภาพนักเรียน ตั้งแต่เวลา 9.00 - 16.30 น. และได้ทำใบส่งตัวนักเรียนที่มีปัญหาด้านสุขภาพส่งต่อทางโรงพยาบาลขุนหาญรักษาสุขภาพนักเรียนต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พบนักเรียนเกิด ฝันผุ โรคผิวหนัง

     

    123 120

    5. การเพาะเห็ด

    วันที่ 13 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียน ชั้น ป.4-6 เป็นผู้รับผิดชอบ เเบ่งเวรรับผิดชอบนักเรียนและครูเวรประจำวัน ในวันราชการปกติ วันหยุดราชการ ผู้รับผิดชอบครูเวรและพนักงานจ้างทั่วไป โดยมีหน้าที่รดน้ำในตอนเช้าและเย็น เมื่อเห็ดพร้อมที่จะเก็บได้ต้องเก็บดอกเห็ดก่อนที่จะรดเพื่อป้องกันเห็ดฉ่ำน้ำเพื่อที่จะเก็บรักษาให้เห็ดอยู่ได้นาน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายเป็นอย่างดี มีความรู้ในการดูแลเห็ดจากการค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตและปรับใช้ในการทำกิจกรรมของตนเองได้ นักเรียนรู้จักแบ่งหน้าที่ได้อย่างเหมาะสมกับความสามารถส่วนบุคคล และรู้จักคิดคำนวณน้ำหนัก ราคา จำนวนผลผลลิตที่ได้ ประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์กับกิจกรรมของตนเองได้อย่างสมเหตุสมผล มีการแบ่งหน้าที่ไปจำหน่ายเห็ดแก่ชุมชนในราคาที่ถูกกว่าท้องตลาดในช่วงปิดเทอม และยังเป็นกันใช้เวลาว่างของนักเรียนให้เกิดประโยชน์สูงสุด

     

    46 51

    6. ศึกษาดูงานโรงเรียนต้นแบบ (โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง อ.ลำปลายมาศ จ.บุรีรัมย์)

    วันที่ 30 กันยายน 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เดินทางจากโรงเรียนบ้านโนนสูง เวลา 05.30 น. ถึงโรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง 8.30 น.
    - ดูงานการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ได้แก่ การปลูกผักโดยใช้การจัดการน้ำด้วยแผงโซลาเซลล์ ฐานเรียนรู้ การเลี้ยงปลาดุกปลานิลในบ่อดิน เลี้ยงหมูป่า ปลูกผักกางมุ้ง การใช้พื้นหน้าอาคารเรียนปลุกผักสวนครัวแทนการปลูกไม้ประดับในพื้นที่จำกัด - การบูรณาการกิจกรรมเกษตรกับการออกกำลังกายเช่น การสูบน้ำโดยใช้มือโยกเพื่อรดเเปลงผัก - การนำระบบ ไอซีที มาใช้ประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน การส่งการบ้านของนักเรียนเพื่อลดภาระงานกระดาษ ซิ่งเป็นจุดเด่นของโรงเรียนนี้
    - กองทุนข้าวเปลือกจากชุมชน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มแกนนำคณะกรรมการสถานศึกษาได้เรียนรู้โรงเรียนต้นแบบที่สำคัญ
    - กองทุนข้าวจากชุมชน - การจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานโรงเรียน - การส่งเสริมกิจกรรมสันทนาการในเวลากลางวัน เพื่อให้ง่ายต่อการดูเเลนักเรียน - ผู้นำชุมชนมองเห็นความสำคัญกับโรงเรียนมากขึ้นและให้คำมั่นสัญญากับทางโรงเรียนว่าจะให้ความร่วมมือในกิจกรรมที่เหมาะสมกับพื้นที่ เช่น กองทุนข้าว การดูเเลความสะอาด เป็นต้น

     

    32 11

    7. การปลูกพืชปลอดสารพิษ

    วันที่ 2 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต นักเรียนได้ผักปลอดสารพิษ ผลลัพธ์ 1.นักเรียนปลูกพืชปลอดสารพิษ  เพื่อสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน  โดยจัดหมุนเวียนตามฤดูการ  เช่น ผักกาด  ผักบุ้ง  กวางตุ้ง  ผักชี  ถั่ว  บวบ  ถั่วแปบ  ตำลึง  พริก  มะเขือ  ชะอม  มะนาว
    กล้วย  มะละกอ 2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการกับวิชาคณิตศาสตร์  เรื่องการคิดคำนวณ  การชั่ง  ตวง  วัด 3. ส่งเสริมการจำหน่ายสู่สหกรณ์นักเรียน

     

    236 0

    8. การอบรมผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้นำชุมชนครูและนักเรียน เพื่อจัดกิจกรรมโรงเรียนประเมินตนเอง

    วันที่ 8 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
    • มีพิธีเปิดการอบรมโดยท่านปลัดอาวุโสอำเภอขุนหาญ นายทองแดง  เกตหงษ์ โดยได้บรรยายพิเศษเกี่ยวกับเรื่องภาวะโภชนาการสำหรับชาวบ้าน
    • วิทยากรจากทางสาธารณสุขอำเภอขุนหาญมาให้ความรู้ในเรื่องของ พยาธิใบไม้ในตับและการสร้างภูมิคุ้มกันในวันที่สอง
    • ดำเนินกิจกรรม PLC การสร้างชุมชนการเรียนรู้ตามโครงการเด็กไทยแก้มใส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต กลุ่มเป้าหมายเกิดมีความรู้ความเข้าใจอย่างยั่งยืน

    ผลลัพธ์ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้นำชุมชนครูและนักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในโครงการเด็กไทยแก้มใส และมีแนวทางในการพัฒนาอย่างยั่งยืน

     

    180 158

    9. การจัดการเรียนรู้บูรณาการเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 11:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆละ4-5คน
      2.ครูแจกใบงานให้นักเรียนศึกษา
    1. ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนครูคอยกำกับดูแลให้การเสนอแนะ
    2. นักเรียนส่งตัวแทนสรุปรายงาน
      1. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจผลงานแล้วสรุปบทเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนทุกชั้นได้เรียนรู้ทุกกิจกรรมตามความเหมาะสม  บางชั้นนำมาบูรณาการกับวิชาต่างๆได้เป็นอย่างดี  นักเรียนสนุก  เข้าใจบทเรียนได้ดี  นักเรียนชั้นสูงสามารถอภิปรายสรุปนำเสนอได้  และสามารถวิเคราะห์นำไปสู่ความพอเพียงได้

     

    15 46

    10. การอบรมบุคลากรในการจัดจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ

    วันที่ 19 ธันวาคม 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดำเนินการอบรมการบูรณาการการเรียนการสอน กิจกรรมเด็กไทยแก้มใส กิจกรรมการเกษตร กิจกรรมอื่นๆที่มีได้โรงเรียนให้สัมพันธ์กับ สาระการเรียนรู้แกนกลางปีพุทธศักราช 2551 เพื่อเชื่อมโยงการเรียนรู้ให้เข้ากับสภาพจริง ครูได้ศึกษาตัวอย่างการบูรณาการเรื่อง ตะขบ ของสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดา ในการบูรณาการ เรื่องตะขบ ให้เข้ากับสาระการเรียนรู้ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครูตระหนักถึงการบูรณาการเรื่องที่อยู่ใกล้ตัว ให้สามารถเข้ากับสาระการเรียนรู้ 8 วิชาหลักได้
    จัดการเรียนรู้โดยบูรณาการ ให้สามารถเข้ากันได้ทุกเรื่อง 

     

    12 16

    11. การพัฒนาอนามัยและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

    วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แต่งตั้งคณะกรรมการ  รับผิดชอบงานอาคารสถานที่  จัดครูนักเรียนร่วมกันทำความสะอาดในแต่ละวัน -จัดตั้งกรรมการตรวจห้องเรียนในแต่ละวัน -ดำเนินการตรวจห้องเรียนโดยมีครูเวรคอยกำกับดูแล -รายงานผลการตรวจห้องเรียนหน้าเสาธง -ครูเวรประจำวันมอบธงให้แต่ละห้องเรียน แต่งตั้งคณะครูโครงการอาหารกลางวันตรวจอุปกรณ์เครื่องใช้ในครัวให้ได้มาตรฐาน ดูแลอุปกรณ์เครื่องใช้ต่างๆให้เรียบร้อยและปลอดภัย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต นักเรียนมีจิตสำนึกในความรับผิดชอบในหน้าที่ ครู แม่ครัวรักษาความสะอาดร่วมกัน ผลลัพธ์ อาคารสถานที่ ห้องครัว ห้องเรียนและห้องต่างๆมีความสะอาดเรียบร้อยถูกสุขลักษณะ นักเรียนมีความรับผิดชอบ

     

    120 121

    12. การติดตามภาวะโภชนาการสมรรถภาพทางกายของนักเรียน

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดำเนินทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียน เป็นฐาน 4 ฐาน เพื่อวัดความสามารถการทำงานของร่างกาย
    ครูอธิบาย สาธิตวิธีการปฏิบัติของแต่ละทักษะ รวมทั้งบอกให้นักเรียนปฏิบัติทักษะด้วยความระมัดระวัง เพื่อไม่ได้เกิดอันตราย
    ครูอธิบาย ลักษณะของรางกายหลังจากที่ปฏิบัติเสร็จควรที่จะเดินไปมาเพื่อให้ร่างกายได้รับออกซิเจนมากกว่าการที่จะหยุดอยู่กับที่
    ครูให้นักเรียนลงมือปฏิบัติที่ละชุด แบ่ง เป็น 4 กลุ่ม ชาย 2 กลุ่ม หญิง 2 กลุ่ม เพื่อง่ายต่อการปฏิบัติ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนรักการออกกำลังกาย เนื่องจากนักเรียนทำกิจกรรม ออกกำลังกายหลังเลิกเรียนนั้น มี ฟูตบอล กรีฑา วิ่งมาราธอน วอลเลย์บอล เป็นกิจกรรมพื้นฐานที่ปฏิบัติ แต่ได้ทดสอบสมรรถภาพทางกาย โดย บอดี้ เวทเทรนนิ่ง นักเรียนรู้สึกตื่นเต้นกับกิจกรรมใหม่ๆ ทำให้นักเรียนรู้ว่าที่นักเรียนออกกำลังกายโดยใช้กิจกรรม เดิมๆนั้นบางครั้งอาจไม่ทำให้สมรรถภาพทางกายนั้นพัฒนาไปมากนัก หากนักเรียนยังไม่ปรับเพิ่มความหนัก ระยะเวลาบ่อยระยะเวลาความนาน และความมุ่งมั่นในการฝึกทักษะกีฬาที่เพิ่มมากขึ้น

     

    123 65

    13. เลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ ครั้งที่ 2

    วันที่ 6 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เเบ่งเวรครูรับผิดชอบประจำวัน พร้อมนักเรียนเวร ประจำวัน มีหน้าที่ ให้อาหาร เช้าและเย็น เติมน้ำสำหรับไก่ไข่ 3 เวลา เช้า กลางวัน เเละเย็น ในวันเสาร์-อาทิตย์ ให้ครูเวรประจำวันและนักการภารโรงเป็นผู้ดูแล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีแม่ไก่พันธุ์ จำนวน 40 ตัว ให้ไข่ประมาณวันละ 35-40 ฟอง จำหน่ายให้ทางสหกรณ์โรงเรียน และชุมชนใกล้เคียง 

     

    44 44

    14. เลี้ยงสุกร ครั้งที่ 2

    วันที่ 6 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แบ่งหน้าที่ครูเวรประจำวัน รับผิดชอบ พร้อมกับนักเรียน วันเสาร์-อาทิตย์ ครูเวรและนักการภารโรง ดูแลการให้อาหาร สังเกตุการติดสัดหลังจากแม่สุกรคลอด พร้อมทั้งผสมพันธุ์แม่สุกรเป็นสัด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีลูก หลังจากคลอด 10 ตัว จำหน่ายเป็นลูกสุกรให้แก่ผู้ที่สนใจ

     

    44 48

    15. เลี้ยงปลาดุก ครั้งที่ 2

    วันที่ 22 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดำเนินการซื้อพันธ์ุปลา และอาหารสำหรับเลี้ยงปลา ลูกปลาดุกจำนวน 700 ตัว อาหาร 3 กระสอบ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีพันธุ์ปลาและอาหารตามที่ต้องการ  มีปลาดุกไว้รับประทานเอง โดยจำหน่ายผ่านสหกรณ์อาหารกลางวัน

     

    44 48

    16. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย

    วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมการปิดโครงการและการคืนดอกเบี้ย 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครูมีความรู้และสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ 

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
    ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง

    ในภาพรวมนักเรียนมีสุขภาพแข็งแรงไม่เจ็บป่วยเจรฺิญเติบโตสมวัย อ่านออกเขียนได้ทุกคนและสามารถแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัยมีข้อมูลทางภาวะโภชนาการดังนี้ - นักเรียนอ้วนร้อยละ2.7 (พันธุกรรม) - นักเรียนเริ่มอ้วน 1.83 - ท้วม 1.83 - สมส่วน 85.32 - ค่อนข้างผอม6.4 - ผอม 1.83

    2 เพื่อให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ

    โรงเรียนมีความพยายามที่จะหาวิธีการแก้ไขปัญหาสุขภาพของนักเรียน ดังนี้ 1. จัดอาหารกลางวันให้ครบ5 หมู่ ทุกวัน ทุกคน พยายามใช้โปรแกรมไทยสคูลลัน 2.ดูแลนักเรียนผอมโดยการให้อาหารเพิ่ม จากการสังเกตุพบว่านักเรียนผอมจะไม่ชอบรับประทานอาหาร จะชอบทานขนมหวานขบเคี้ยว3.ชั่งหน้ำหนักวัดส่วนสูง ทุกๆเดือน 4.จัดนักเรียนออกกำลังกายหลังเลิกเรียนทุกคนทุกวันยกเว้นคนอ้วนจะดูแลเป็นพิเศษ จนจะให้สุขภาพรวมดีขึ้น5.ส่งเสริมให้ครูนักเรียนจัดกิจกรรมเกษตรทุกห้องเรียน เพื่อนำเข้าโครงการอาหารกลางวัน ทำให้นักเรียนได้รับประทานอาหารปลอดสารพิษ กิจกรรมนี้นักเรียนนทำได้ดีมาก ทำให้เด็กมีทักษะในการทำงาน และบูรณาการสู่วิชาอื่นๆได้

    3 เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
    ตัวชี้วัด : พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน

    โรงเรียนได้จัดกิจกรรมส่งเสริมความร่วมมือ จากชุมชนและองค์กรท้องถิ่น ได้โดยเฉพาะคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง ได้สร้างความเข้าใจโดยการจัดประชุมอบรม ร่วมกับเด็กทำให้ชุมชนช่วยจัดหางบประมาณมาสนับสนุนกิจกกรรมต่างๆที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์โครงการ1. จัดกิจกรรมบ้านน่าอยู่ โดยให้นักเรียนและผู้ปกครองได้ทำงานพัฒนาสิ่งแวดล้อมร่วมกันกับนักเรียน2. ผู้ปกครองบริจาควัตถุดิบที่ปลอดภัยให้โรงเรียนประกอบอาหารกลางวัน3.ผู้ปกครองผลิตพืชผักส่งโครงการอาหารกลางวันทำให้ได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย4. สร้างความตระหนักโดยการนำเรื่องสุขภาพเข้าสู่ที่ประชุมผู้ปกครองทุกครั้ง

    4 เพื่อให้ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน
    ตัวชี้วัด : ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน

    ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัว ในการจัดการด้านอาหารและโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนพบว่าผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องสุขภาพมากขึ้น จะเห็นได้จากการให้ความร่วมมือในการดูแลอาหารกลางวันนักเรียน เดิมเด็กนักเรียนห่อกับข้าวประเภทลูกชิ้นสีแดง โครงไก่ชุปแป้งทอด หมูยอราคาถูกๆ ระยะหลังเกิดการเปลี่ยนแปลง หันมาทานไข่ ผัด ปลา และให้ความร่วมมือกับโรงเรียนมากขึ้น จากการสอบถามส่วนมากบอกว่าเป็นโครงการที่ดี ทำให้นักเรียนได้รับประโยชน์โดยตรง ให้โรงเรียนทำโครงการนี้อย่างต่อเนื่อง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง (2) เพื่อให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน (4) เพื่อให้ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านโนนสูง

    รหัสโครงการ ศรร.1312-078 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.32 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    กิจกรรม"เกษตรคิดสนุก"

    จัดทำแปลงผักเป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสามเหลี่ยมมุมฉาก สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้าและรูปวงกลมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้บูรณาการกิจกรรมเกษตรกับคณิตศาสตร์ในเรื่องการวัดความยาวการหาเส้นรอบรูปการคำนวณบวกลบคูณหารการหาพื้นที่การหาปริมาตรนอกจากนี้ยังได้บูรณาการเรียนรู้ในเรื่องการจัดทำบัญชีรายรับรายจ่าย การคำนวณกำไรขาดทุนอีกด้วยซึ่งครูแต่ละชั้นสามารถนำไปสอนได้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหาตัวชี้วัดของแต่ละชั้นได้

    กิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเป็นกิจกรรมที่ฝึกการทำงานจากประสบการณ์ตรง เป็นประโยชน์สำหรับผู้เรียนอย่างมากเพราะ ได้ฝึกทักษะกระบวนการทำงานสร้างคุณธรรมในเรื่องความขยัน ประหยัด อดทน กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม โรงเรียนได้จัดทำแปลงสาธิตการเรียนรู้แบบถาวรโรงเรียนจะนำไปเป็นสื่อการเรียนการสอน บูรณาการในวิชาคณิตศาสตร์และวิชาอื่นๆในปีต่อไปได้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    กิจกรรม "ร้านค้าพาเด็กทำดี"

    โรงเรียนได้จัดกิจกรรมบูรณาการเกษตร สหกรณ์และโภชนาการโดยการจัดตั้งสหกรณ์ร้านค้าเพื่อรับซื้อผลผลิตเกษตรจากนักเรียนแล้วนำไปจำหน่ายที่ร้านสหกรณ์นักเรียนเช่น กล้วยผักบุ้งผักกาด บวบและผักอื่นๆ นอกจากนี้โรงเรียนยังได้บูรณาการการเรียนการสอนงานอาชีพการทำขนมไทยเพื่อส่งขายให้ร้านค้าสหกรณ์ แล้วนำไปจำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวัน ได้แก่ ขนมเทียนข้าวต้มผัด กล้วยบวชชีถั่วเขียวต้มน้ำตาลกิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ในการทำงานเป็นทีมได้เป็นอย่างดีที่สำคัญนักเรียนได้ฝึกทำบัญชีรายรับรายจ่ายการคำนวณกำไรขาดทุนการส่งเสริมคุณธรรมในด้านความขยันความประหยัดอดออมได้เป็นอย่างดี

    การปลูกฝังคุณธรรมต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ และต้องอาศัยความร่วมมือของบุคลการในโรงเรียนทุกฝ่ายทุกคน ถ้าจะให้ได้ผลดียิ่งขึ้นการประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมจะทำให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    กิจกรรม "แก้มใสใส่ใจคุณธรรม นำสุขภาพเด็ก"

    โรงเรียนมีความพยายามจัดอาหารกลางวันให้ได้ตามโปรแกรมเมนูอาหารแต่ด้วยข้อจำกัดของชุมชนและท้องถิ่นในบางวันไม่สามารถจัดได้เนื่องจากวัสดุที่นำมาประกอบอาหารขาดตลาดทางโรงเรียนจึงได้จัดหาวัตถุดิบจากแหล่งที่ปลอดภัยมาใช้ในการปรุงอาหารให้นักเรียนรับประทานโดยมีนโยบายคือ งดหวาน มันเค็ม ส่งเสริมให้นักเรียนรับประทานผักและผลไม้ที่มีในท้องถิ่นเช่นกล้วยส้ม เงาะลำใยและมะละกอ เพราะในท้องถิ่นเป็นแหล่งที่มีการผลิตผลไม้ตามฤดูกาลส่งออกจำหน่ายไปยังจังหวัดใกล้เคียงอยู่แล้ว - การจัดอาหารกลางวันจัดทำโดยจ้างแม่ครัวและครูเวรประจำวันเป็นคนจัดซื้ออาหารที่สามารถเลือกวัสดุที่สดใหม่มาประกอบอาหารมีการให้ความรู้ ปฐมนิเทศแม่ครัวและครูเป็นประจำทุกเดือน หรือมีการเสนอแนะในเรื่องการทำความสะอาดของบริเวณโรงครัวเป็นประจำ -การจัดกิจกรรมสร้างนิสัยให้นักเรียนมีมารยาทในการรับประทานอาหารโดยการให้ผู้นำพาน้องๆนั่งสมาธิก่อนรับประทานอาหารประมาณ 5นาทีแล้วพิจารณาอาหารและนั่งรับประทานอาหารพร้อมกันอย่างเรียบร้อย - ครูเวรประจำวันให้ความรู้เรื่องสุขภาพ ก่อนรับประทานอาหารทุกวัน - จัดเวรนักเรียนช่วยเก็บกวาด ล้างจานวันละ 6 คนเพื่อส่งเสริมทักษะการทำงานด้วยจิตอาสาช่วยเหลือ ตอบแทนส่วนร่วม

    การส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการผลิตวัตถุดิบที่ปลอดสารพิษส่งจำหน่ายให้โรงเรียนนำมาประกอบอาหาร กลางวันและการบูรณาการวิชาการงานอาชีพกับอาหารกลางวันจะทำให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการผลิตอาหารที่สดใหม่ สะอาด ปลอดภัยต่อผู้บริโภคเช่นการทำขนมไทยกล้วยบวชชีเป็นต้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    กิจกรรม "ดูแลใกล้ชิต พิชิตโรค"

    โรงเรียนได้เฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการโดยการของนักเรียนโดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเดือนละ 1ครั้งนอกจากนี้ยังส่งเสริมให้นักเรียนออกกำลังกายทุกวันๆละ20 -30นาทีหลังเลิกเรียน มีการทดสอบสมรรถภาพทางกายภาคเรียนละ1 ครั้งทีสำคัญโรงเรียนได้ดูแลนักเรียนที่มีปัญหาด้านสุขภาพอย่างใกล้ชิดจัดแบ่งนักเรียนออกเป็น3กลุ่มคือกลุ่มน้ำหนักเกินกลุ่มผอมและกลุ่มปกติ ได้ให้ความรู้และดูแลในเรื่องการจัดอาหารอย่างใกล้ชิดจากการสอบถามนักเรียนอ้วนพบว่านักเรียนทุกคนชอบซื้ออาหารประเภททอดซื้อจากจากรถเร่ในชุมชน ผู้ปกครองไม่ปรุงอาหารรับประทานเอง ทำให้เด็กมักง่าย ซื้ออาหารตามใจชอบส่วนเด็กผอมส่วนใหญ่เป็นกรรมพันธ์รับประทานน้อย และไม่ชอบออกกำลังกายจะชอบเล่นตามใจชอบ

    การดูแลภาวโภชนาการอย่างใกล้ชิตเป็นประจำและจัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องโดยการบูรณาการเข้ากับกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้อย่างน้อยสัปดาห์ละ3 วัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    กิจกรรม"ปลอดโรคปลอดภัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม"

    โรงเรียนได้จัดกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อมทั้งภายในห้องเรียน และนอกห้องเรียนได้แก่การจัดกิจกรรมประกวดห้องเรียนสะอาดโดยให้ครูเวรประจำวันร่วมกันตรวจความสะอาดทุกวันรายงานหน้าเสาธง เสนอแนะ ปรับประและมอบธงห้องที่ผ่านเกณฑ์ - อบรมแม่ครัวในการรักษาสิ่งแวดล้อมในและนอกห้องประกอบอาหารกลางวันโดยส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการกวาด เช็ดถูและการล้างภาชนะอุปกรณ์การปรุงอาหาร -การจัดกิจกรรมพัฒนาทรัพยากรสิ่งแวดล้อมโดยการสอนให้ปิดนำ้ ปิดไฟฟ้าเมื่อให้งานโดยเขียนป้ายประชาสัมพันธ์และปฏิบัติเป็นแบบอย่าง -การจัดกิจกรรมจิตอาสาพาน้องเดินโดยให้นักเรียนรุ่นพี่พาสมาชิกในกลุ่มออกเก็บขยะทุกวันจันทร์ แล้วนำขยะที่ได้มาคัดแยก - กิจกรรมประกวดโครงงานขยะรีไซเคิล - การจัดทำปุ๋ยหมักจากเศษใบไม้ไว้ใช้ในการปลูกพืชปลอดสารพิษเป็นการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง - โรงเรียนได้รับรางวัลโรงเรียนคุณภาพ 5 ดาวด้านสิ่งแวดล้อมและโล่โรงเรียนปลอดขยะระดับดีเด่นจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษเขต4 รางวัลโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทองจากจังหวัดศรีสะเกษและเป็นโรงเรียนต้นแบบSMARTCHILDREN ในวาระ"ขุนหาญเมืองสะอาด SMART CITY" ปี 2560

    การสร้างสุขนิสัยในการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทั้งที่โรงเรียนและที่บ้านตลอดจนการส่งเสริมให้ผู้ปกครองเข้ามารับรู้และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดความยั่งยืน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนบ้านโนนสูง จังหวัด ศรีสะเกษ

    รหัสโครงการ ศรร.1312-078

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวดนตรี บุญลี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด