ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนพัฒนาปากน้ำ |
สังกัด | สพป.สุพรรณบุรี เขต 3 |
หน่วยงานต้นสังกัด | สพป.สุพรรณบุรี เขต 3 |
ที่อยู่โรงเรียน | ตำบลปากน้ำ อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี 72120 |
จำนวนนักเรียน | 73 คน |
ช่วงชั้น | ประถม,มัธยมต้น |
ผู้อำนวยการ | นางอรุณ จันทร์นาลาว |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางสาวกาญจนา สุนันท์ชัย |
- LINE_ALBUM_9มี.ค.65ทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนครั้งที่ 1_๒๒๐๕๒๖_42.jpg
- LINE_ALBUM_9มี.ค.65ทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนครั้งที่ 1_๒๒๐๕๒๖_45.jpg
- LINE_ALBUM_9มี.ค.65ทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนครั้งที่ 1_๒๒๐๕๒๖_61.jpg
- LINE_ALBUM_9มี.ค.65ทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนครั้งที่ 1_๒๒๐๕๒๖_103.jpg
- LINE_ALBUM_9มี.ค.65ทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนครั้งที่ 1_๒๒๐๕๒๖_104.jpg
- LINE_ALBUM_9มี.ค.65ทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนครั้งที่ 1_๒๒๐๕๒๖_112.jpg
- ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงนักเรียนเดือนละ 1 ครั้งด้วยเครื่องชั่งวัดที่ได้มาตรฐาน จดบันทึกข้อมูลเป็นรายบุคคล
- คัดกรองนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ
- แก้ไขติดตามเยี่ยมบ้านนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการโดยร่วมมือกับผู้ปกครองและ
ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงนักเรียนภาคเรียนละ 2 ครั้งและทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนภาคเรียนละ 1 ครั้ง
- LINE_ALBUM_9มี.ค.65โครงการเด็กพัฒนาปากน้ำสุขภาพดีไม่มีพุง_๒๒๐๕๒๖_6.jpg
- LINE_ALBUM_9มี.ค.65โครงการเด็กพัฒนาปากน้ำสุขภาพดีไม่มีพุง_๒๒๐๕๒๖_9.jpg
- LINE_ALBUM_9มี.ค.65โครงการเด็กพัฒนาปากน้ำสุขภาพดีไม่มีพุง_๒๒๐๕๒๖_20.jpg
- LINE_ALBUM_9มี.ค.65โครงการเด็กพัฒนาปากน้ำสุขภาพดีไม่มีพุง_๒๒๐๕๒๖_36.jpg
- LINE_ALBUM_9มี.ค.65โครงการเด็กพัฒนาปากน้ำสุขภาพดีไม่มีพุง_๒๒๐๕๒๖_38.jpg
- LINE_ALBUM_9มี.ค.65โครงการเด็กพัฒนาปากน้ำสุขภาพดีไม่มีพุง_๒๒๐๕๒๖_50.jpg
- LINE_ALBUM_9มี.ค.65โครงการเด็กพัฒนาปากน้ำสุขภาพดีไม่มีพุง_๒๒๐๕๒๖_51.jpg
- ส่งเสริมให้นักเรียนปฏิบัติตนตามหลักสุขบัญญัติ 10 ข้อและตามคำแนะนำของกรมอนามัย
- ของบสนับสนุนจากเทศบาลตำบลปากน้ำเพื่อทำ”กิจกรรมเด็กพัฒนาปากน้ำสุขภาพดีไม่มีพุง”
ดำเนินโครงการเด็กพัฒนาปากน้ำสุขภาพดีไม่มีพุง ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลปากน้ำ
- LINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียงเลี้ยงชีพได้_๒๒๐๓๒๙_0.jpg
- LINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียงเลี้ยงชีพได้_๒๒๐๓๒๙_1.jpg
- LINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียงเลี้ยงชีพได้_๒๒๐๓๒๙_3.jpg
- LINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียงเลี้ยงชีพได้_๒๒๐๓๒๙_4.jpg
- LINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียงเลี้ยงชีพได้_๒๒๐๓๒๙_7.jpg
- LINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียงเลี้ยงชีพได้_๒๒๐๓๒๙_8.jpg
- LINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียงเลี้ยงชีพได้_๒๒๐๓๒๙_11.jpg
1.ส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนมีการเรียนรู้และฝึกทักษะด้านการเกษตรในโรงเรียน 2. ของบประมาณสนับสนุนจาก สสส. (ผ่านมูลนิธิ มอส.) 3. ดำเนินการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน จำหน่วยผลผลิตให้กับโครงการอาหารกลางวัน
จัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ปลูกผักปลอดสารพิษ/เพาะนางฟ้าและปลูกผักไฮโดรบล๊อค ซึ่งใช้เงินงบประมาณที่ ได้รับจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)
- ประชุมครู ชี้แนะแนวทางการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีกิจกรรมสอดคล้องกับเรื่องโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6
- นิเทศ ติดตาม ประเมินผล และสรุปผล
โรงเรียนจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการโดยเปิดสอน 5 วิชาหลักรายวิชาที่เหลือบูรณาการ
- ส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนร่วมกับครู ผู้ปกครอง โดยสภานักเรียนเป็นแกนนำให้กินผักผลไม้ ลดหวานเค็มมันและกินอาหารไม่ทิ้ง
- จัดระบบการรณรงค์ สร้างแรงจูงใจแก่นักเรียน โดยประชุม ถอดบทเรียน สรุปผล และถ่ายถอดกิจกรรมจากรุ่นต่อรุ่น
จัดสำรับอาหารกลางวันให้นักเรียนพร้อมชี้แนะการบริโภค /ชั่งเศษอาหารทุกวัน
- จัดห้องครัวให้มีแสงสว่าง อากาศถ่ายเทสะดวก
- จัดทำอ่างล้างมือให้ผู้ประกอบอาหารแยกเป็นสัดส่วน
ห้องประกอบอาหารมีหน้าต่างระบายอากาศที่ดี จัดที่ล้างผักและภาชนะแยกเป็นสัดส่วน
- จัดการขยะโดยจัด คัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
- จัดระบบระบายน้ำทิ้งจากห้องครัว ให้มีบ่อดักเศษอาหาร บ่อดักไขมัน
โรงเรียนดำเนินกิจกรรมชุมนุมเปลี่ยนขยะเป็นรอยยิ้มและกิจกรรมหมอดินน้อย โดยนำเศษอาหารมาใช้ในการทำน้ำหมักชีวภาพ
- ตรวจรับและจัดเก็บนมในอุณหภูมิที่เหมาะสมโดย เก็บนมถูกสุขลักษณะ วางสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม.
- ตรวจสอบนมก่อนให้นักเรียนดื่ม
แจกนมให้นักเรียนทันทีที่เทศบาลตำบลปากน้ำนำนมกล่องมาส่ง
- สุ่มตรวจคุณภาพอาหารว่าง ขนม เครื่องดื่มที่จำหน่ายในโรงเรียนอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
- สรุปรายงาน รายงานผล ปรับปรุงและแก้ไขปัญหา
โรงเรียนมีสหกรณ์ร้านค้าของโรงเรียน ไม่มีร้านค้าข้างนอกมาขายในโรงเรียนทำให้ควบคุมสินค้าที่จำหน่ายได้อย่างเหมาะสม
- จัดบริการอาหารกลางวันให้นักเรียนที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่จำเป็นต่อการพัฒนาร่างกายตามวัยของนักเรียนในแต่ละวันมีสารอาหารครบเฉลี่ยต่อสัปดาห์ตาม Thai School Lunch
- คณะกรรมการตรวจสอบคุณภาพอาหารกลางวันอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
- สำรวจความพึงพอใจของนักเรียน
- สรุปผล แจ้งให้แม่ครัวทราบ ปรับปรุงการดำเนินการให้มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
จัดสำรับอาหารให้นักเรียนสะอาดถูกหลักอนามัย มีคุณค่าทางอาหารครบถ้วนเหมาะสมตามวัยของผู้เรียน
- จัดซื้อจัดหาวัตถุดิบประกอบอาหารสะอาดปลอดภัย
- ปรุงอาหารโดยไม่ใส่ผงชูรส เน้น ลดหวาน มัน เค็ม สีอาหารไม่ฉูดฉาด
- อุปกรณ์ เครื่องใช้ปฏิบัติตามสุขลักษณะของภาชนะ อุปกรณ์และเครื่องใช้อื่นๆ 11 ข้อ
- จัดบริเวณเตรียมปรุงประกอบอาหารปฏิบัติตามเกณฑ์สุขาภิบาลอาหารสำหรับโรงเรียน 8 ข้อ
- จัดบริเวณที่บริโภคอาหารปฏิบัติตามเกณฑ์สุขาภิบาลอาหารสำหรับโรงเรียน 6 ข้อ
- จัดเตรียมน้ำดื่มน้ำใช้โดยปฏิบัติตามเกณฑ์สุขาภิบาลอาหารสำหรับโรงเรียน 4 ข้อ
- จัดเตรียมน้ำแข็งโดยปฏิบัติตามเกณฑ์สุขาภิบาลอาหารสำหรับโรงเรียน 3 ข้อ
- สร้างข้อตกลงกับแม่ครัวคือต้องมีสุขภาพดี ไม่แสดงอาการเจ็บป่วยในขณะปฏิบัติงานมีหลักฐานการตรวจสุขภาพ/แต่งกายสะอาดและมีสุขนิสัยที่ดี
โรงเรียนจัดซื้อวัตถุดิบที่สะอาด ปลอดภัยมาประกอบอาหาร โดยนำผลผลิตจากกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษของโรงเรียนมาเป็นวัตถุดิบ
- ประสานงานกับเทศบาลปากน้ำด้านงบประมาณ
- ประสานงานกับสถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่ รพ.สต./รพ.ชุมชนเพื่อร่วมพัฒนาบุคลากรและแก้ไขปัญหาสุขภาพเด็กวัยเรียน
โรงเรียนประสานความร่วมมือกับเทศบาลตำบลปากน้ำของบประมาณสนับสนุน โครงการเด็กพัฒนาปากน้ำสุขภาพดีไม่มีพุงและติดต่อเจ้าหน้าที่รพสต.ตำบลปากน้ำเป็นวิทยากรให้ความรู้กับนักเรียนเรื่องการดูแลสุขภาพ และการออกกำลังกายให้เหมาะสมตามวัย
- จัดทำแผนพัฒนาบุคลากร
- อบรมผู้บริหาร ครู แม่ครัว นักเรียนแกนนำและผู้ปกครอง
ผู้บริหารและครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวันได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
- เบิกจ่ายเงินทันเวลาถูกต้องตามระเบียบการเงินการคลัง
- จัดซื้อจัดจ้างถูกต้องตามระเบียบ
- การนำส่งนำฝากเงินโครงการอาหารกลางวันจัดการงบคงเหลือนำส่งเงินคืนถูกต้องตามระเบียบ
- ควบคุมดูแลพัสดุให้มีการใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อสถานศึกษา
โรงเรียนเบิกจ่ายเงินถูกต้องตามระเบียบการเงินการคลัง
- ประกาศแต่งตั้งผู้นำนักเรียนฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ
- กำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้นำนักเรียนด้านการส่งเสริมสุขภาพ
ผู้นำฝ่ายส่งเสริมสุขภาพนักเรียน จะนำสาระน่ารู้เรื่องการบริโภคอาหารแจ้งให้นักเรียนทุกคนทราบในช่วงดีเจน้อยจัดรายการพักกลางวัน
- ประชุมคณะครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันกำหนดนโยบายการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในสถานศึกษาทั้งอาหาร ขนม เครื่องดื่ม ในบริเวณโรงเรียนและรอบรั้วโรงเรียน
- แต่งตั้งคณะกรรมการและกำหนดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาหารโภชนาการและการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
- ขับเคลื่อนและบริหารกิจกรรม
- นิเทศ ติดตามและสรุปผล แก้ไขพัฒนางานอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง
คณะครูร่วมกันกำหนดอาหารที่จำหน่ายในโรงเรียน รวมทั้งสำรับอาหารกลางวันของนักเรียนและกิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของโรงเรียน