ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนดรุณวิทยา เทศบาลเมืองน่าน (บ้านสวนตาล)

รหัสโครงการ ศรร.1123-013 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.13 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน สถานีการเรียนรู้เกษตรเพื่อเข้าสู่ระบบสหกรณ์และโครงการอาหารกลางวัน

สถานีการเรียนรู้เกษตร การเลี้ยงสัตว์ ปลูกพืชผักปลอดสารพิษ

จัดระบบแหล่งเรียนรู้ที่ดีและเป็นกระบวนการมากขึ้น เพื่อฝึกนักเรียนรุ่นต่อรุ่นและยั่งยืน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

การลงบัญชีที่เป็นปัจจุบันโดยใช้แบบฟอร์มของโครงการสหกรณ์นักเรียนและมีการจัดซื้อวัตถุดิบผักปลอดสารพิษจากแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและ ชุมชน สู่อาหารกลางวัน

มีการระดมทุน โดยรับสมัครเป็นสมาชิก หุ้นละ 10 บาท มีการจัดตั้งสหกรณ์นักเรียน โดยนักเรียนเป็นผู้ดำเนินการ โดยได้รับความรู้จากสหกรณ์จังหวัดน่าน ืมีการดำเนินการซื้อขายวัตถุดิบจากแหล่งเรียนรู้เกษตรในโรงเรียนและชุมชน ลงบัญชีที่เป็นปัจจุบัน และ วัตถุดิบนำสู่อาหารกลางวัน

จะสอดแทรกเข้าสู่กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนและชุมชน จะรับซื้อวัตถุดิบที่หลายกหลายและจำนวนเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้เพียงพอต่อโครงการอาหารกลางวัน และฝึกกระบวนการทำงานเป็นทีม ความรับผิดชอบของนักเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

จัดกิจกรรมบริการอาหารกลางวัน โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในการจัดโปรแกรมอาหารกลางวัน เพื่อให้นักเรียนได้รับสารอาหารครบถ้วนและเหมาะสมตามเกฑณ์ภาวะโภชนาการ

อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ครู แม่ครัว และแกนนำนักเรียน จัดเมนูอาหารโดยใข้โปรแรม TSL นำเมนูมาจัดบริการอาหารให้นักเรียน ตรวจสอบภาวะโภชนาการทุกเดือน

จะพัฒนาเมนูอาหารที่เหมาะสมกับวัตถุดิบในท้องถิ่น โดยทำ MOU กับชุมชน ให้จัดวัตถุดิบที่ทางโรงเรียนต้องการซึี่งต้องมีความสะอาดและความปลอดภัย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

ทางโรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการ โดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทุกเดือน ได้จัดลานสุขภาพ และอุปกรณ์กีฬาที่นักเรียนสนใจ ออกกำลังตอนเช้าก่อนเข้าเรียนในช่วงฤดุหนาว และก่อนกลับบ้าน ซึ่งการตามจะใช้โปรแกรม B2ti และ Thai Growth ในการติดตามภาวะโภชนาการ ได้รับการสนับสนุนจาก กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองน่าน สาธารณสุขจังหวัดน่าน และโรงพยาบาลน่าน ในการติดตามภาวะโภชนการ

การอบรมให้รู้

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

ลานสุขภาพ เครื่องเล่น ออกกำลังกาย กายบริหารก่อนเข้าห้องเรียน กิจกรรสุขบัญญัติ 10 ประการ

จัดกิจกรรมให้ความรู้กิจกรรมสุขบัญญัติ 10 ประการ และนำมาฝึกนักเรียนตามศักยภาพและความสนใจ

จะมีการตรวจนสอบสมรรถนะของนักเรียนแต่ละระดับ เพื่อประเมินสุขภาพอนามัย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

มีกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อม โดยได้รับรางวัล โรงเรียนปลอดขยะ รอบที่ 1 ติดต่อกัน 5 ปี เกี่ยวกับการจัดการขยะ และสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน พัฒนาเขตงานกตัญญู

ให้ความร้เกี่ยวกับการจัดการขยะ โรงเรียนปลอดขยะ และสิ่งแวดล้อมต่างๆ เกี่ยวกับโรงเรียปลอดภัย นำมาจัดเข้ากับการเรียนการสอนและบูรณาการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ดำเนินกิจกรรมต่อเนื่องและยั่งยืน

พัฒนาสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะโรงอาหารซึ่งได้ดำเนินการมาบ้างแต่ยังไม่เรียบร้อยและถูกสุขลักษณะ ห้องน้ำ ต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

มีการตรวจสุขภาพอนามัยที่ต่อเนื่อง และได้รับการสนับสนุนจากกกองสาธารณสุขเทศบาลเมืองน่าน เป็นอย่างดีในการให้ความรู้และร่วมมือตรวจสุขภาพ

ทำการตรวจสุขภาพ อนามัยจากครูที่ปรึกษา โดยภาพรวม ในแบบบันทึกการตรวจสุขภาพ

ฝึกนักเรียนแกนนำในการตรวจสุขภาพอนามัย จัดทำแบบบันทึกการตรวจสุขภาพที่เป็นปัจจุบัน และมีครูและวิทยากรคอยให้คำปรึกษา และนำผลที่ได้มาปรับปรุงแก้ไข

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

ได้จัดการเรียนเรียนรู้เกษตรทั้งภายในโรงเรียนและขยายสู่ชุมชน จัดตั้งสหกรณ์นักเรียน มีนักเรียนเป็นผู้ดำเนินการ แต่ยังไม่มีการรับซื้อผลผลิตจากเกตรในโรงเรียนและชุมชนยังไม่มาก

รับผลผลิตจากเกษตรในโรงเรียนและชุมชน มาและจัดส่งสู่อาหารลางวัน

จะทำเกษตรแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและชุมชนที่ต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ
  1. การจัดกิจกรรมอนามัยสิ่งแวดล้อม ทางโรงเรียนได้รับรางวัลโรงเรียนปลอดขยะ ติดต่อกันเป็น 5 ปี
  2. การจัดแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและแหล่งเรียนรู้สู่ชุมชน
  3. การบริหารจัดการบริการอาหารกลางวัน จากวัตถุดิบจากแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและชุมชนสู่่ระบบสหกรณ์นักเรียนตามแนวพระราชดำริและนำสู่อาหารกลางวันโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch

การจัดกิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะ ติดต่อกันเป็น 5 ปี ในเรื่องสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยในโรงเรียน รวมถึงเรื่องการจัดแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและแหล่งเรียนรู้สู่ชุมชน เพราะเป็นโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้รับการสนับสนุน ภาคีเครือข่ายจากชุมชนและท้องถิ่นเป็นอย่างดี อีกทั้งเป็นโรงเรียนที่อยู่ตัวเมือง สามารถบริหารจัดการบริการอาหารกลางวัน จากวัตถุดิบจากแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและชุมชนสู่่ระบบสหกรณ์นักเรียนตามแนวพระราชดำริและนำสู่อาหารกลางวันโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ได้เป็นอย่างดี

จัดกิจกรรมให้เป็นระบบและครบองค์ประกอบตามแนวทางทั้ง 8 แนวทาง ให้มากยิ่งขึ้น

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  • เทศบาลเมืองน่าน
  • กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองน่าน
  • สาธารณสุขจังหวัดน่าน
  • โรงพยาบาลน่าน
  • ชมรมผู้ปกครองนักเรียน
  • คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • ชุมชนบ้านสวนหอม

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนตั้งอยู่ในชุมชนเมืองจึงอยู่ใกล้กับหน่วยงานภาคีเครือข่ายง่ายต่อการประสานงานในการจัดกิจกรรม -ชุมชนมีอาชีพปลูกผักปลอดสารพิษจึงทำให้การประสานงานและจัดทำMOU ได้ง่าย

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

ทีมงานโรงเรียนที่เข้มแข็งมีลักษณะการทำงานเป็นทีม ช่วยเหลือกัน ปฏิบัติงานแบบพี่ๆน้องๆ -ได้รับความร่วมมือจากกัลยาณมิตรเครือข่ายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเช่นเกษตรจังหวัด,ประมงจังหวัด,โรงพยาบาลน่าน,สาธารณสุขจังหวัด,เทศบาลเมืองน่าน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

-มีการอบรมให้ความรู้ ชี้แจงวัตถุประสงค์ ,การศึกษาดูงาน,การนิเทศติดตามการดำเนินงานตามขั้นตอนคือก่อนดำเนินโครงการ ระหว่างดำเนินโครงการหลังดำเนินโครงการ การสรุปผลการติดตาม ,จัดกิจกรรมให้ความรู้หน้าเสาธง,จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการ,ส่งแม่ครัวเข้ารับการอบรมพัฒนาความรู้กับโรงพยาบาลน่าน

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

  • ผู้ปกครองมาเป็นวิทยากรให้กับนักเรียนในการสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ ,แปลงปลูกผักของชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับโรงเรียน, การดำเนินโครงการโดยใช้เทคนิคร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมประเมินผลของผู้ปกครองและชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

ผักจากแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนไม่เพียงพอ ต้องรับซื้อจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ส่วนผลไม้รับซื้อจากชุมชนและตลาดสดในเมืองน่าน

เมนูและบัญชีรายการอาหารโปรแกรม Thai School Lunch

จะพัฒนาเมนูอาหารที่มีคุณภาพและมีคุณค่าทางโภชนาการอาหารมากขึ้น ทำให้น่ารับประทานยิ่งขึ้นเหมาะสมกับวัยของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

มีการเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 50 ตัวเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ ซึ่งจะไข่ประมาณวันละ 30 ฟอง ซึ่งสัปดาห์หนึ่งจะได้ประมาณ 200 ฟอง ซึ่งไม่เพียงพอในการนำไปประกอบอาหารกลางวัน ต่อจำนวนนักเรียน ดังนั้นการเลี้ยงไก่ไข่จึงเป็นแค่การเรียนรู้ในโรงเรียน ซึ่งไม่เพียงพอต้องรับซื้อจากชุมชนและท้องตลาด

เมนูและบัญชีรายการอาหารโปรแกรม Thai School Lunch

จะขยายแหล่งเรียนรู้ การเลี้ยงไก่ไข่ไปสู่ชุมชนโดยให้นักเรียนนำแม่พันธุ์ไปเลี้่ยงต่อที่บ้าน และรับซื้อไข่ไก่จากนักเรียนนำเข้าสู่สหกรณ์นักเรียนและโครงการอาหารกลางวันโดยกำนดระยะเวลา่ในการดำเนินการ เพียงให้นักเรียนได้เรียนรู้การเลี้ยงไก่ไข่ และได้รับบริโภคอาหารที่ครบถ้วน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

มีการดำเนินการเลี้ยงปลาและกบเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้เพราะพื้นที่ไม่เพียงพอและไม่ได้นำมาประกอบอาหารกลางวัน แต่เป็นการเรียนรู้การเลี้ยง และมีการจัดจำหน่ายสู่สหกรณ์นักเรียน และผู้ปกครอง

บัญชีรับซื้อวัตถุดิบอาหารของสหกรณ์นักเรียน

ปรับเมนูอาหารให้สอดคล้องกับปลาที่โรงเรียนได้เลี้ยง และขยายผลต่อชุมชนในการเลี้ยงปลา เพื่อเป็นวัตถุดิบสู่อาหารกลางวัน ปรับการเลี้ยงกบ ซึ่งนักเรียนไม่นิยมรับประทาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

เมนูและบัญชีรายการอาหารโปรแกรม Thai School Lunch ซึ่งได้รับผักจากแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและแหล่งเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษจากชุมชน

เมนูและบัญชีรายการอาหารโปรแกรม Thai School Lunch และบัญชีการรับซื้อสหกรณ์นักเรียน

ผักผลไม้จะทำให้น่าสนใจและน่ารับประทาน ผักผลไม้สำหรับเด็กอนุบาลมากยิ่งขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

เมนูและบัญชีรายการอาหารโปรแกรม Thai School Lunch ซึ่งได้รับผักจากแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและแหล่งเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษจากชุมชน

เมนูและบัญชีรายการอาหารโปรแกรม Thai School Lunch และบัญชีการรับซื้อสหกรณ์นักเรียน

จัดผลไม้ตามฤดูกาลและที่มีในท้องถิ่นที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ได้ร่วมมือกับเกษตรจังหวัดน่าน ศูนย์วิจัยหม่อนไหม ประมงจังหวัดน่าน ในการให้ความรู้และจัดตั้งแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและในชุมชน เพื่อผลิตวัตถุดิบผักปลอดสารพิษโดยทางโรงเรียนได้นำเมล็ดพันธุ์ผักแจกให้กับแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนชุมชนและนำมาขายให้กับสหกรณ์นักำเรียนเพื่อสู่อาหารกลางวัน

กิจกรรมการปลูกพืชผักสวนครัว
กิจกรรมเดินแจกแลกผักรักพอเพียง

ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน ที่หลากหลาย และกำหนดวัตถุดิบ ผักที่ทางโรงเรียนต้องการตามเมนูอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ และขยายผลต่อไปยังศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองน่าน และโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองน่าน ให้ใช้ระบบการจัดการเช่นเดียวกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

นักเรียนมีภาวะโภชนการที่ดีขึ้น มีสุขภาพ

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

มีการอบรมให้ความรู้การใช้โปรแกรม Thai School Lunchให้กับผู้ปกครอง ครู แม่ครัว นักเรียนแกนนำ เพื่อจัดเมนูอาหาร

เมนูอาหารจากโปรแกรม Thai School Lunch

จัดปรุงแต่งหน้าตาอาหารให้น่าสนใจและชวนรับประทานมากยิ่งขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการวัดส่วนสูง และชั่งน้ำหนักทุกเดือน เพื่อติดตามภาวะทางโภชนการ ซึ่งมีกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองน่าน และโรงพยาบาลน่านคอยสนับสนุนให้คำปรึกษาในการติดตามอย่างต่อเนื่อง

แบบบันทึกการวัดส่วนสูงและการชั่งน้ำหนักของนักเรียนแต่ละชั้น โปรแกรม Thai Growth และ B2ti

จะจัดเครื่องชั่งน้ำหนักที่ได้มาตรฐาน ในระบบดิจิตอล และเครื่องวัดส่วนสูงมีการปรับเปลี่ยนให้ได้มาตรฐาน ที่ดีขึ้น เพื่อนำผลที่ได้มาประเมินสถานการณ์ภาวะโภชนาการที่ดีและได้มาตรฐานมากขึ้น

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/12562 2/22563 1/12563 1/22563 2/12563 2/22564 1/12564 1/22564 2/1
เตี้ย 7.72 7.72% 6.28 6.28% 7.59 7.59% 7.59 7.59% 4.89 4.89% nan nan% 2.56 2.56% 4.09 4.09% 4.91 4.91% 0.45 0.45% 0.00 0.00% 0.45 0.45% 2.80 2.80% 3.74 3.74% 0.93 0.93% 0.00 0.00% 4.55 4.55% 3.57 3.57% 3.06 3.06% 4.08 4.08% 5.29 5.29% 4.79 4.79% 4.26 4.26% 2.65 2.65% 8.84 8.84% 2.73 2.73% 2.73 2.73%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 14.23 14.23% 20.92 20.92% 17.30 17.30% 17.30 17.30% 11.11 11.11% nan nan% 6.41 6.41% 12.27 12.27% 13.39 13.39% 4.02 4.02% 4.44 4.44% 4.02 4.02% 3.27 3.27% 4.21 4.21% 0.93 0.93% 3.70 3.70% 8.59 8.59% 10.71 10.71% 10.20 10.20% 10.71 10.71% 8.47 8.47% 5.32 5.32% 5.32 5.32% 5.29 5.29% 17.13 17.13% 7.65 7.65% 7.65 7.65%
ผอม 8.98 8.98% 6.67 6.67% 11.93 11.93% 7.17 7.17% 10.67 10.67% 10.71 10.71% 8.97 8.97% 3.73 3.73% 9.82 9.82% 4.02 4.02% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 1.87 1.87% 0.93 0.93% 0.93 0.93% 0.46 0.46% 6.57 6.57% 7.14 7.14% 5.10 5.10% 2.04 2.04% 5.29 5.29% 5.29 5.29% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 2.73 2.73% 0.55 0.55% 0.00 0.00%
ผอม+ค่อนข้างผอม 16.33 16.33% 20.42 20.42% 31.19 31.19% 14.35 14.35% 17.78 17.78% 17.86 17.86% 18.38 18.38% 9.96 9.96% 19.20 19.20% 10.71 10.71% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 3.27 3.27% 1.87 1.87% 0.93 0.93% 1.39 1.39% 12.63 12.63% 11.73 11.73% 10.20 10.20% 3.57 3.57% 11.64 11.64% 6.88 6.88% 3.70 3.70% 3.17 3.17% 11.48 11.48% 3.28 3.28% 2.19 2.19%
อ้วน 8.16 8.16% 1.67 1.67% 5.96 5.96% 6.75 6.75% 5.33 5.33% 4.91 4.91% 5.56 5.56% 2.07 2.07% 6.25 6.25% 0.89 0.89% 0.89 0.89% 0.00 0.00% 5.14 5.14% 1.40 1.40% 1.85 1.85% 0.00 0.00% 7.07 7.07% 7.14 7.14% 6.12 6.12% 4.08 4.08% 8.99 8.99% 7.41 7.41% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 7.65 7.65% 2.19 2.19% 0.00 0.00%
เริ่มอ้วน+อ้วน 12.65% 12.65% 5.42% 5.42% 12.84% 12.84% 12.24% 12.24% 11.11% 11.11% 10.71% 10.71% 11.97% 11.97% 7.88% 7.88% 11.61% 11.61% 4.02% 4.02% 3.11% 3.11% 1.34% 1.34% 8.41% 8.41% 4.67% 4.67% 7.87% 7.87% 3.70% 3.70% 11.62% 11.62% 11.22% 11.22% 10.71% 10.71% 8.16% 8.16% 11.64% 11.64% 9.52% 9.52% 4.23% 4.23% 4.23% 4.23% 15.85% 15.85% 7.65% 7.65% 7.10% 7.10%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

มีสถิติภาวะอ้วนและเริ่มอ้วนลดลงตั้งแต่เริ่มดำเนินโครงการ

แบบบันทึกสถิติภาวะโภชนการนักเรียนปีการศึกษา 2558-2559

จะให้ความรู้ผู้ปกครอง นักเรียน ในการรณรงค์ลดอาหารหวาน กรุบกรอบ ให้ทานผักผลไม้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

แบบบันทึกสถิติภาวะโภชนการนักเรียนปีการศึกษา 2558-2559

คัดกรองนักเรียนที่ผอมและค่อนข้างผอม มาให้ความรู้นักเรียนและผู้่ปครองและจัดอาหารเสริมนมและอาหารกลางวันให้ปริมาณเพิ่มมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

สถิติค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย เพิ่มขึ้น เนื่องด้วยจากคนวัดแต่ละครั้งไม่ใช่คนเดียวกันและเครื่องวัดไม่ได้มาตรฐาน

แบบบันทึกสถิติภาวะโภชนการนักเรียนปีการศึกษา 2558-2559

จัดเครื่องวัดส่วนสูงให้ได้มาตรฐานและให้ครูรับผิดชอบการวัดคนเดียว เพื่อให้ได้ค่าที่ตรงตามความจริงผลจะได้คลาดเคลื่อนน้อยที่สุด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

ได้มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเป็นรายกลุ่ม ได้จัดกิจกรรมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการเป็นรายกลุ่ม และไม่ได้จัดรายบุคคลที่ชัดเจน ในการปฏิบัติตัว รวมถึงผู้ปกครอง

แบบบันทึกสถิติภาวะโภชนการนักเรียนปีการศึกษา 2558-2559

จัดกิจกรรมเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับนักเรียนที่มีทุพโภชนาการเป็นรายบุคคล คัดกรอง ศึกษารายกรณี ในด้านภาวะทางโภชนการทั้งที่บ้านและโรงเรียน โดยขอความร่วมมือจากผู้ปกครองด้วย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ทางโรงเรียนแจ้งผู้ปกครองรับทราบและให้ความร่วมมือในการดำเนินการ แต่ทางโรงเรียนยังไม่ได้ประสานการส่งเสริมกิจกรรมที่ต่อเนื่อง

แบบบันทึกสถิติภาวะโภชนการนักเรียนปีการศึกษา 2558-2559 และแบบสอบถามการประชุมผู้ปกครอง

จัดกิจกรรมส่งเสริมการให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะทางโดภชนาการให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง อย่างต่อเนื่องมีกิจกรรมร่วมกันในการแก้ปัญหา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ
  1. บุคลากร (ครู นักเรียน แม่ครัว ผู้ปกครอง ชุมชน) มีความรู้ความเข้าใจและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับ สุขอนามัยและภาวะโภชนาการได้ถูกต้องและเหมาะสมกับวัย
  2. มีการจัดการบริหารที่เป็นระบบในการนำผลผลิตทางการเกษตร มาเข้าสู่ระบบสหกรณ์นักเรียน และอาหารกลางวัน
  3. จัดแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและชุมชนที่ต่อเนื่องและยั่งยืน

รูปภาพกิจกรรม และ สรุปโครงการศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

จะมีการขยายผลการดำเนินการสู่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองน่าน และโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองน่าน และประสานภาคีเครื่อข่ายให้มากยิ่่งขึ้น

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  • เทศบาลเมืองน่าน
  • กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองน่าน
  • สาธารณสุขจังหวัดน่าน
  • โรงพยาบาลน่าน
  • ชมรมผู้ปกครองนักเรียน
  • คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • ชุมชนบ้านสวนหอม

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh