แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน
“ โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน ”
596 ม.10 ตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
หัวหน้าโครงการ
นายณัฐพล แสงอรุณ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน
ที่อยู่ 596 ม.10 ตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัด เชียงใหม่
รหัสโครงการ ศรร.1112-004 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.04
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน จังหวัดเชียงใหม่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 596 ม.10 ตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน " ดำเนินการในพื้นที่ 596 ม.10 ตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ รหัสโครงการ ศรร.1112-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 369 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ปัญหาการบริโภคอาหารและโภชนาการภายในโรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยนโดยภาพรวม นักเรียนมีอัตราการบริโภคผัก ผลไม้ในอัตราที่ต่ำมาก การบริโภคอาหารไม่ถูกหลักโภชนาการ นักเรียนส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจ ด้านโภชนาการ และยังมีวัฒนธรรมการกินอาหารที่ผิดๆเช่น ชอบกินอาหารหมักดอง ดื่มน้ำอัดลม เป็นต้น อีกทั้งนักเรียนยังมีพื้นฐานอนามัยส่วนบุคคล ไม่สะอาด เพราะติดนิสัยจากครอบครัวที่เป็นชนเผ่าและมีฐานะยากจนในส่วนของโรงเรียนเองก็มีพื้นที่สำหรับทำการเกษตรไม่เพียงพอ และโรงเรียนก็สามารถจัดอาหารให้นักเรียนได้เพียงวันละ 1 มื้อ ตามงบประมาณที่ได้รับเท่านั้น
บทเรียนความสำเร็จในการจัดการปัญหาด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพนักเรียนที่ผ่านมาโรงเรียนได้ดำเนินการดังนี้
- ปรับพื้นที่การเกษตรในโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ โดยมีกิจกรรม เช่น เลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ ,การเลี้ยงกบในบ่อซีเมนต์,การปลูกผักโดยไม่ใช้ดินและการเลี้ยงไก่พันธ์ไข่
- ทำโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในโรงเรียน มีกิจกรรม เช่น การตรวจเล็บผมร่างกาย การแปรงฟันหลงอาหาร ,การตรวจสุขภาพจากเจ้าหน้าที่สาธารณะสุข โรงพยาบาลฝาง การรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออก และการรณรงค์ป้องกันยาเสพติดในโรงเรียน
เพื่อให้การแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและสุขภาพนักเรียนบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายต่อเนื่องยั่งยืน โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยนจึงได้จัดทำโครงการโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ขึ้น โดยมีปณิธานอย่างมุ่งมั่นในการเจริญรอยตามพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการน้อมนำรูปแบบการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียนอย่างครบวงจรมาปฏิบัติและพัฒนาสู่โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้กินอิ่มอย่างมีคุณภาพ แก้มใส โภชนาการสมวัย สุขภาพแข็งแรง และมีคุณภาพชีวิตที่ดี เติบโตเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- นักเรียนมีสุขภาวะโภชนาการที่ดีมีศักยภาพด้านความรู้ในการดำรงตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง สมบูรณ์เหมาะสมวัย
- นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในสถานศึกษาและภายนอกสถานศึกษา
- ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุนในกิจกรรมและดำเนินการร่วมกับของสถานศึกษา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนทุกคนมีสุขภาวะโภชนาการที่ดีมีศักยภาพด้านความรู้ในการดำรงตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง สมบูรณ์เหมาะสมวัย
- นักเรียนทุกคนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในสถานศึกษาและภายนอกสถานศึกษา
- ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุนในกิจกรรมและดำเนินการร่วมกับของสถานศึกษา
- โรงเรียนสามารถตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโครงการเด็กไทยแก้ใสถวายเจ้าห้านักโภชนาการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมผู้ปกครองเรื่องแนวทางการปลูกผักโดยไม่ใช้ดิน
วันที่ 14 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00-16.00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ทางโรงเรียนได้นัดหมายผู้ปกครองมาร่วมกิจกรรมรับความรู้การปลูกผักโดยไม่ใช้ดิน
- นักเรียนพร้อมคณะครูและผู้ปกครองพร้อมกันรับทราบถึงสถานการณ์ภัยแล้งที่ส่งผลกระทบต่อการทำเกษตรตระกรรมและภัยอันตรายที่ได้รับจากสารเคมีที่ปเปื้อนในพืชผักที่ใช้บริโภค
- วิทยากรได้ความรู้ในการปลูกผักโดยไม่ใช้ดินแนะนำอุปกรณ์ และวิธีการดำเนินงานโดยนักเรียนได้ทดลองฝึกปฏิบัติให้ผู้ปกครองและคณะครูได้ชม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้เข้าร่วมรับฟังการอบรมทั้งหมด 57คนทุกคนมีความรู้ความเข้าใจวิธีการปลูกผักโดยไม่ใช้ดิน
- ผู้ปกครองอาสาเข้ามาร่วมงานเพื่อช่วยเหลือนักเรียนในการดำเนินงาน
- จากผลการอบรมทำให้มีนักเรียนแกนนำเข้าร่วมโครงการปลูกผักโดยไม่ใช้ดินและจะนำผลผลิตที่ได้ส่งขายให้กับสหกรณ์นัก้รียนเพื่อส่งต่อเป็นอาหารให้กับนักเรียนต่อไป
- นักเรียนมีพฤติกรรมรักในการปลูกผักโดยไม่ใช้ดิน มีความเอาใจใส่ในการดำเนินงานและสามารถสร้างรายได้ระหว่างเรียน
57
57
2. ประชุมผู้ปกครองปลูกผักในวงบ่อ
วันที่ 20 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมวางแผนการจัดกิจกรรมอบรมการปลูกพืชบนแปลงซีเมน
- เชิญวิทยากรมาให้ความรู้ในกิจกรรมเรื่อง การปลูกพืชบนแปลงซีเมน ให้แก่ครู นักเรียน และผู้ปกครอง
- ลงมือปฏิบัติ การปลูกพืชบนแปลงซีเมน โดยให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีส่วนร่วม
- สรุปการจัดกิจกรรม การปลูกพืชบนแปลงซีเมน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ในเรื่อง การปลูกผักบนแปลงซีเมน
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ฝึกปฏิบัติจริงและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
26
27
3. ค่ายปลูกผักโดยไม่ใช้ดิน
วันที่ 21 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00-16.00น น.กิจกรรมที่ทำ
- ครูผู้รับผิดชอบโครงการประกาศรับสมัครนักเรียนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมปลูกผักโดยไม่ใช้ดิน
- วิทยากรร่วมกับครูผู้รับผิดชอบโครงการและนักเรียนร่วมวางแผนขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม
- ครูผู้รับผิดชอบโครงการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์เพื่อให้นักเรียนได้ลงมือปฎิบัติ
- นักเรียนลงมือเพาะเมล็ดผักในฟองน้ำตามขั้นตอนที่ได้อบรมมา
- นักเรียนส่วนหนึ่งร่วมกับผู้รับผิดชอบกิจกรรมร่วมกันออกแบบและประกอบแปลงปลูกผัก
- นักเรียนนำผักที่เพาะลงปลูกในแปลงตามกระบวนการขั้นตอน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมการปลูกผักโดยไม่ใช้ดิน(ไฮโดรโพนิกส์)เป็นนวัตกรรมการเกษตรแนวใหม่ที่ใช้พื้นที่น้อยไม่ต้องอาศัยดินในการปลูกและใช้น้ำน้อย กิจกรรมนี้ทำให้นักเรียนมีความรู้เรื่องการปลูกผักโดยไม่ใช้ดินและสามารถเพาะเมล็ดผักและปลูกผักโดยไม่ใช้ดินได้ ในขณะการดำเนินกิจกรรมนักเรียนให้ความสนใจและใส่ใจในการดูแล รู้จักสังเกตการเจริญเติบโตของเมล็ดผัก ขณะทำกิจกรรมนักเรียนได้สนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน รู้จักดูแลช่วยเหลือกัน และทำให้มีความสนิทสนมเป็นกันเองกับครูจึงเล่าเรื่องราวต่างๆให้ครูได้รับฟัง ครูจึงช่วยแนะนำการปฎิบัติตนและมารยาทที่เหมาะสมแก่นักเรียน
31
36
4. อบรมและฝึกปฎิบัติการเลีัยงปลาในบ่อซิเมนต์
วันที่ 25 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ครูและนักเรียนเข้าร่วมศึกษาการเลี้ยงปลาหมอเทศและดำเนินการเลี้ยงปลาหมอเทศในโรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-นักเรียนมีแหล่งอาหารโปรตีน(ปลาหมอเทศ)ในโรงเรียน
-นักเรียนมีความรู้เรื่องการเลี้ยงปลา
14
16
5. ค่ายเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษ
วันที่ 28 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้รับผิดชอบโครงการวางแผนร่วมกับคณะครูในการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติจริงในการสร้างแปลงปลูกผักบนพื้นซีเมนต์ โดยได้รับความร่วมมือจากค่ายจิตอาสาของนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ สถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิคในการเข้าร่วมกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้รับความรู้และฝึกปฏิบัติจริงในการสร้างอิฐประสานเพื่อนำมาใช้ในการทำแปลงปลูกผัก
- นักเรียนได้รับความรู้และฝึกปฏิบัติจริงในการสร้างแปลงปลูกผักบนพื้นซีเมนต์
30
29
6. กิจกรรมการศึกษานอกสถานที่การปลูกผักไฮโดรโพนิค
วันที่ 9 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้รับผิดชอบโครงการวางแผนร่วมกับคณะครูและดำเนินการติดต่อศูนย์การศึกษาการเกษตรหลวงดอยอ่างขางแล้วกำหนดจุดประสงค์การศึกษาดูงานและใบงานให้นักเรียนรับทราบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนและครูได้รับความรู้และนำความรู้ที่ได้รับ มาปรับปรุงการดำเนินงานปลูกผักโดยไม่ใช้ดินที่นักเรียนทำอยู่แล้วและได้มีการนำเสนอผลผลิตโดยการแปลรูปผลผลิตเป็นอาหารเพื่อสุขภาพได้ นักเรียนได้รับทั้งความรู้มีความสนุกสนานและมีรายได้จากการลงมือปฏิบัติด้วย
16
30
7. ศึกษาดูงานการเลี้ยงปลาในบ่อซิเมนต์
วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
โครงการศึกษาดูงานการเลี้ยงปลาในบ่อซิเมนต์ มีนีกเรียนเข้าร่วม 15 คน ได้ศึกษาดูงาน และลงมือปฏิบัติจริง ในการเลี้ยงปลาตั้งแต่การเตรียมสถานที่ การล้างทำความสะอาดบ่อปลา การให้อาหารปลา การจับปลา เป็นต้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนมีความรู้และได้ฝึกปฏิบัติจริงในการเลี้ยงปลาในบ่อซีเมนต์
2.นักเรียนได้นำความรู้สู่การปฏิบัติจริงโดยได้เลี้ยงปลาในบ่อซีเม็นต์ภายในโรงเรียน
3.นักเรียนมีความรับผิดชอบ รู้จักหน้าที่ และทำงานร่วมกัน
10
17
8. กิจกรรมการศึกษานอกสถานที่การปลูกผักปลอดสารพิษ
วันที่ 6 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
คณะครูจำนวน 2 คน นักเรียน 14 คน ศึกษาดูงานสวนเกษตรดอยอ่างข่าง ดูการเพาะเมล็ด การอนุบาลต้นกล้า การปลูกต้นกล้า การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและการตลาด โดยได้รับความอนุเคราะห์จากเจ้าหน้าที่สวนเกษตรดอยอ่างข่างในการให้ความรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนได้รับความรู้จากการศึกษาดูงานครบขั้นตอนกระบวนการตั้งแต่การเพาะจนถึงการเก็บเกี่ยว
2.นักเรียนเห็นสภาพการปฏิบัติจริงที่สวนเกษตรทำให้สามารถวางแผนการปฏิบัติและการแก้ไขปัญหาในการจัดกิจกรรมที่โรงเรียนได้
23
16
9. การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร
วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ทำกล้วยฉาบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนสามารถทำกล้วยฉาบได้และจำหน่ายผลิตภัณฑ์
22
22
10. อบรมการดำเนินการสหกรณ์นักเรียน
วันที่ 1 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เริ่มโครงการด้วยการร้องเพลงสหกรณ์เพื่อให้นักเรียนมีอารมณ์ร่วมในการอบรม ต่อจากนั้นอบรมให้ความรู้นักเรียนเรื่องการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย และการรวมกลุ่มสหกรณ์นักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญในการออมเงิน
2.นักเรียนมีการจดบันทึกรายรับ-รายจ่าย
3.นักเรียนเห็นความสำคัญของการรวมกลุ่มสหกรณ์นักเรียน
23
23
11. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารศูนย์การศึกษาวัชรสกุณีประสิทธิ์ ณ โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
วันที่ 14 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วันที่ 14 กันยายน 2559 เวลา 11.10 น.สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารศูนย์การศึกษาวัชรสกุณีประสิทธิ์ ณ โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ในการนี้ นายประวิณ ชำนิประศาสน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ นายพะโยม ชิณวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน พร้อมหัวหน้าส่วนราชการเฝ้ารับเสด็จ ฯ จากนั้น สมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จทรงเปิดแพรคลุมป้ายอาคารศูนย์ศึกษาวัชรสกุณีประสิทธิ์และเสด็จทอดพระเนตรนิทรรศการและการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน เสด็จเยี่ยมชมนิทรรศการพหุวัฒนธรรมชนเผ่า และห้องสมุดตลอดจนศูนย์อาเซี่ยนศึกษาของโรงเรียน โอกาสนี้ ดร.สิทธิชัย มูลเขียน ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 ร่วมเฝ้ารับเสด็จ
620
410
12. เข้าร่วมการประชุมปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2
วันที่ 18 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ท่านผู้จักการโครงการเด็กไทยแก้มใสกล่าวเปิดพิธี โดยท่านได้กล่าวถึงความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ ต่อจากนั้นท่านได้ให้ผู้เข้าร่วมอบรมร่วมกันสงบนิ่ง ไว้อาลัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จสวรรตค ต่อจากนั้นเริ่มการประชุมปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมอบรมได้ทราบถึงแนวทางในการรายงานเอกสารการดำเนินโครงการ เอกสารการเงิน และการสรุปโครงการที่ได้ดำเนินการไปแล้ว และเตรียมขออนุมัติเงินในงวดที่ 2 เพื่อดำเนินโครงการต่อไป
2
2
13. ถอนเงินเปิดบัญชี
วันที่ 25 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ถอนเงินเปิดบัญชีคืนโรงเรียน
2
2
14. คณะทำงานโครงการศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส เยี่ยมชมโรงเรียน
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ท่านผู้จัดการโครงการ เยี่ยมชมโรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน และให้แนวทางในการดำเนินดครงการแก่ผู้บริหาร คณะครู และนักเรียน
119
0
15. กิจกรรมการฝึกปฏิบัติการเลี้ยงไก่ไข่
วันที่ 7 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติการเลี้ยงไก่ไข่ เพื่อเป็นประสบการณ์ในการประกอบอาชีพในอนาคต
35
25
16. การศึกษาดูงานฟาร์มเลี้ยงไก่
วันที่ 8 ธันวาคม 2559 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนได้ศึกษาจากสถานที่จริง จากผู้มีประสบการณ์ตรงในการเลี้ยงไก่ และนักเรียนสนใจ กระตือรือร้นที่จะศึกษาหาความรู้
28
40
17. กิจกรรมฝีกอบรมการเลี้ยงไก่ไข่
วันที่ 27 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนที่รับความรู้จากวิทยากรในเรื่องการเลี้ยงไก่
30
64
18. การจัดนิทรรศการแสดงผลการปฏิบัติงานเด็กไทยแก้มใส
วันที่ 16 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครู ผู้ปกครอง และนักเรียน ได้ชมผลงานของโครงการศูนย์เรียนรู็เด็กไทยแก้มใส
228
120
19. คืนดอกเบี้ยธนาคารเพื่อปิดโครงการ
วันที่ 31 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คืนเงินดอกเบี้ยธนาคารเพื่อปิดโครงการ
2
2
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
นักเรียนมีสุขภาวะโภชนาการที่ดีมีศักยภาพด้านความรู้ในการดำรงตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง สมบูรณ์เหมาะสมวัย
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ90 มีสุขภาวะโภชนาการที่ดีมีศักยภาพด้านความรู้ในการดำรงตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์เหมาะสมตามวัย
2
นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในสถานศึกษาและภายนอกสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : โรงเรียนสามารถดำเนินการเป็นศูนย์การเรียนรู้ที่เป็นแบบอย่างแก่ชุมชนและโรงเรียนใกล้เคียงได้ร้อยละ90
3
ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุนในกิจกรรมและดำเนินการร่วมกับของสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : ชุมชนและผู้ปกครองนักเรียนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมของสถานศึกษาอย่างน้อยร้อยละ 80
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน จังหวัด เชียงใหม่
รหัสโครงการ ศรร.1112-004
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายณัฐพล แสงอรุณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน
“ โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน ”
596 ม.10 ตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่หัวหน้าโครงการ
นายณัฐพล แสงอรุณ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน
ที่อยู่ 596 ม.10 ตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัด เชียงใหม่
รหัสโครงการ ศรร.1112-004 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.04
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน จังหวัดเชียงใหม่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 596 ม.10 ตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน " ดำเนินการในพื้นที่ 596 ม.10 ตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ รหัสโครงการ ศรร.1112-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 369 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ปัญหาการบริโภคอาหารและโภชนาการภายในโรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยนโดยภาพรวม นักเรียนมีอัตราการบริโภคผัก ผลไม้ในอัตราที่ต่ำมาก การบริโภคอาหารไม่ถูกหลักโภชนาการ นักเรียนส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจ ด้านโภชนาการ และยังมีวัฒนธรรมการกินอาหารที่ผิดๆเช่น ชอบกินอาหารหมักดอง ดื่มน้ำอัดลม เป็นต้น อีกทั้งนักเรียนยังมีพื้นฐานอนามัยส่วนบุคคล ไม่สะอาด เพราะติดนิสัยจากครอบครัวที่เป็นชนเผ่าและมีฐานะยากจนในส่วนของโรงเรียนเองก็มีพื้นที่สำหรับทำการเกษตรไม่เพียงพอ และโรงเรียนก็สามารถจัดอาหารให้นักเรียนได้เพียงวันละ 1 มื้อ ตามงบประมาณที่ได้รับเท่านั้น
บทเรียนความสำเร็จในการจัดการปัญหาด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพนักเรียนที่ผ่านมาโรงเรียนได้ดำเนินการดังนี้
- ปรับพื้นที่การเกษตรในโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ โดยมีกิจกรรม เช่น เลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ ,การเลี้ยงกบในบ่อซีเมนต์,การปลูกผักโดยไม่ใช้ดินและการเลี้ยงไก่พันธ์ไข่
- ทำโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในโรงเรียน มีกิจกรรม เช่น การตรวจเล็บผมร่างกาย การแปรงฟันหลงอาหาร ,การตรวจสุขภาพจากเจ้าหน้าที่สาธารณะสุข โรงพยาบาลฝาง การรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออก และการรณรงค์ป้องกันยาเสพติดในโรงเรียน
เพื่อให้การแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและสุขภาพนักเรียนบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายต่อเนื่องยั่งยืน โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยนจึงได้จัดทำโครงการโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ขึ้น โดยมีปณิธานอย่างมุ่งมั่นในการเจริญรอยตามพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการน้อมนำรูปแบบการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียนอย่างครบวงจรมาปฏิบัติและพัฒนาสู่โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้กินอิ่มอย่างมีคุณภาพ แก้มใส โภชนาการสมวัย สุขภาพแข็งแรง และมีคุณภาพชีวิตที่ดี เติบโตเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- นักเรียนมีสุขภาวะโภชนาการที่ดีมีศักยภาพด้านความรู้ในการดำรงตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง สมบูรณ์เหมาะสมวัย
- นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในสถานศึกษาและภายนอกสถานศึกษา
- ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุนในกิจกรรมและดำเนินการร่วมกับของสถานศึกษา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนทุกคนมีสุขภาวะโภชนาการที่ดีมีศักยภาพด้านความรู้ในการดำรงตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง สมบูรณ์เหมาะสมวัย
- นักเรียนทุกคนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในสถานศึกษาและภายนอกสถานศึกษา
- ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุนในกิจกรรมและดำเนินการร่วมกับของสถานศึกษา
- โรงเรียนสามารถตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโครงการเด็กไทยแก้ใสถวายเจ้าห้านักโภชนาการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมผู้ปกครองเรื่องแนวทางการปลูกผักโดยไม่ใช้ดิน |
||
วันที่ 14 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00-16.00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
57 | 57 |
2. ประชุมผู้ปกครองปลูกผักในวงบ่อ |
||
วันที่ 20 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
26 | 27 |
3. ค่ายปลูกผักโดยไม่ใช้ดิน |
||
วันที่ 21 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00-16.00น น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมการปลูกผักโดยไม่ใช้ดิน(ไฮโดรโพนิกส์)เป็นนวัตกรรมการเกษตรแนวใหม่ที่ใช้พื้นที่น้อยไม่ต้องอาศัยดินในการปลูกและใช้น้ำน้อย กิจกรรมนี้ทำให้นักเรียนมีความรู้เรื่องการปลูกผักโดยไม่ใช้ดินและสามารถเพาะเมล็ดผักและปลูกผักโดยไม่ใช้ดินได้ ในขณะการดำเนินกิจกรรมนักเรียนให้ความสนใจและใส่ใจในการดูแล รู้จักสังเกตการเจริญเติบโตของเมล็ดผัก ขณะทำกิจกรรมนักเรียนได้สนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน รู้จักดูแลช่วยเหลือกัน และทำให้มีความสนิทสนมเป็นกันเองกับครูจึงเล่าเรื่องราวต่างๆให้ครูได้รับฟัง ครูจึงช่วยแนะนำการปฎิบัติตนและมารยาทที่เหมาะสมแก่นักเรียน
|
31 | 36 |
4. อบรมและฝึกปฎิบัติการเลีัยงปลาในบ่อซิเมนต์ |
||
วันที่ 25 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำครูและนักเรียนเข้าร่วมศึกษาการเลี้ยงปลาหมอเทศและดำเนินการเลี้ยงปลาหมอเทศในโรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-นักเรียนมีแหล่งอาหารโปรตีน(ปลาหมอเทศ)ในโรงเรียน -นักเรียนมีความรู้เรื่องการเลี้ยงปลา
|
14 | 16 |
5. ค่ายเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษ |
||
วันที่ 28 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้รับผิดชอบโครงการวางแผนร่วมกับคณะครูในการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติจริงในการสร้างแปลงปลูกผักบนพื้นซีเมนต์ โดยได้รับความร่วมมือจากค่ายจิตอาสาของนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ สถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิคในการเข้าร่วมกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
30 | 29 |
6. กิจกรรมการศึกษานอกสถานที่การปลูกผักไฮโดรโพนิค |
||
วันที่ 9 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้รับผิดชอบโครงการวางแผนร่วมกับคณะครูและดำเนินการติดต่อศูนย์การศึกษาการเกษตรหลวงดอยอ่างขางแล้วกำหนดจุดประสงค์การศึกษาดูงานและใบงานให้นักเรียนรับทราบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนและครูได้รับความรู้และนำความรู้ที่ได้รับ มาปรับปรุงการดำเนินงานปลูกผักโดยไม่ใช้ดินที่นักเรียนทำอยู่แล้วและได้มีการนำเสนอผลผลิตโดยการแปลรูปผลผลิตเป็นอาหารเพื่อสุขภาพได้ นักเรียนได้รับทั้งความรู้มีความสนุกสนานและมีรายได้จากการลงมือปฏิบัติด้วย
|
16 | 30 |
7. ศึกษาดูงานการเลี้ยงปลาในบ่อซิเมนต์ |
||
วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำโครงการศึกษาดูงานการเลี้ยงปลาในบ่อซิเมนต์ มีนีกเรียนเข้าร่วม 15 คน ได้ศึกษาดูงาน และลงมือปฏิบัติจริง ในการเลี้ยงปลาตั้งแต่การเตรียมสถานที่ การล้างทำความสะอาดบ่อปลา การให้อาหารปลา การจับปลา เป็นต้น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนมีความรู้และได้ฝึกปฏิบัติจริงในการเลี้ยงปลาในบ่อซีเมนต์ 2.นักเรียนได้นำความรู้สู่การปฏิบัติจริงโดยได้เลี้ยงปลาในบ่อซีเม็นต์ภายในโรงเรียน 3.นักเรียนมีความรับผิดชอบ รู้จักหน้าที่ และทำงานร่วมกัน
|
10 | 17 |
8. กิจกรรมการศึกษานอกสถานที่การปลูกผักปลอดสารพิษ |
||
วันที่ 6 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำคณะครูจำนวน 2 คน นักเรียน 14 คน ศึกษาดูงานสวนเกษตรดอยอ่างข่าง ดูการเพาะเมล็ด การอนุบาลต้นกล้า การปลูกต้นกล้า การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและการตลาด โดยได้รับความอนุเคราะห์จากเจ้าหน้าที่สวนเกษตรดอยอ่างข่างในการให้ความรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนได้รับความรู้จากการศึกษาดูงานครบขั้นตอนกระบวนการตั้งแต่การเพาะจนถึงการเก็บเกี่ยว 2.นักเรียนเห็นสภาพการปฏิบัติจริงที่สวนเกษตรทำให้สามารถวางแผนการปฏิบัติและการแก้ไขปัญหาในการจัดกิจกรรมที่โรงเรียนได้
|
23 | 16 |
9. การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร |
||
วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำทำกล้วยฉาบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนสามารถทำกล้วยฉาบได้และจำหน่ายผลิตภัณฑ์
|
22 | 22 |
10. อบรมการดำเนินการสหกรณ์นักเรียน |
||
วันที่ 1 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเริ่มโครงการด้วยการร้องเพลงสหกรณ์เพื่อให้นักเรียนมีอารมณ์ร่วมในการอบรม ต่อจากนั้นอบรมให้ความรู้นักเรียนเรื่องการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย และการรวมกลุ่มสหกรณ์นักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญในการออมเงิน 2.นักเรียนมีการจดบันทึกรายรับ-รายจ่าย 3.นักเรียนเห็นความสำคัญของการรวมกลุ่มสหกรณ์นักเรียน
|
23 | 23 |
11. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารศูนย์การศึกษาวัชรสกุณีประสิทธิ์ ณ โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ |
||
วันที่ 14 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวันที่ 14 กันยายน 2559 เวลา 11.10 น.สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารศูนย์การศึกษาวัชรสกุณีประสิทธิ์ ณ โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ในการนี้ นายประวิณ ชำนิประศาสน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ นายพะโยม ชิณวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน พร้อมหัวหน้าส่วนราชการเฝ้ารับเสด็จ ฯ จากนั้น สมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จทรงเปิดแพรคลุมป้ายอาคารศูนย์ศึกษาวัชรสกุณีประสิทธิ์และเสด็จทอดพระเนตรนิทรรศการและการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน เสด็จเยี่ยมชมนิทรรศการพหุวัฒนธรรมชนเผ่า และห้องสมุดตลอดจนศูนย์อาเซี่ยนศึกษาของโรงเรียน โอกาสนี้ ดร.สิทธิชัย มูลเขียน ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 ร่วมเฝ้ารับเสด็จ
|
620 | 410 |
12. เข้าร่วมการประชุมปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2 |
||
วันที่ 18 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำท่านผู้จักการโครงการเด็กไทยแก้มใสกล่าวเปิดพิธี โดยท่านได้กล่าวถึงความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของโครงการ ต่อจากนั้นท่านได้ให้ผู้เข้าร่วมอบรมร่วมกันสงบนิ่ง ไว้อาลัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จสวรรตค ต่อจากนั้นเริ่มการประชุมปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมอบรมได้ทราบถึงแนวทางในการรายงานเอกสารการดำเนินโครงการ เอกสารการเงิน และการสรุปโครงการที่ได้ดำเนินการไปแล้ว และเตรียมขออนุมัติเงินในงวดที่ 2 เพื่อดำเนินโครงการต่อไป
|
2 | 2 |
13. ถอนเงินเปิดบัญชี |
||
วันที่ 25 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นถอนเงินเปิดบัญชีคืนโรงเรียน
|
2 | 2 |
14. คณะทำงานโครงการศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส เยี่ยมชมโรงเรียน |
||
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นท่านผู้จัดการโครงการ เยี่ยมชมโรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน และให้แนวทางในการดำเนินดครงการแก่ผู้บริหาร คณะครู และนักเรียน
|
119 | 0 |
15. กิจกรรมการฝึกปฏิบัติการเลี้ยงไก่ไข่ |
||
วันที่ 7 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนได้ฝึกปฏิบัติการเลี้ยงไก่ไข่ เพื่อเป็นประสบการณ์ในการประกอบอาชีพในอนาคต
|
35 | 25 |
16. การศึกษาดูงานฟาร์มเลี้ยงไก่ |
||
วันที่ 8 ธันวาคม 2559 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนได้ศึกษาจากสถานที่จริง จากผู้มีประสบการณ์ตรงในการเลี้ยงไก่ และนักเรียนสนใจ กระตือรือร้นที่จะศึกษาหาความรู้
|
28 | 40 |
17. กิจกรรมฝีกอบรมการเลี้ยงไก่ไข่ |
||
วันที่ 27 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนที่รับความรู้จากวิทยากรในเรื่องการเลี้ยงไก่
|
30 | 64 |
18. การจัดนิทรรศการแสดงผลการปฏิบัติงานเด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 16 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครู ผู้ปกครอง และนักเรียน ได้ชมผลงานของโครงการศูนย์เรียนรู็เด็กไทยแก้มใส
|
228 | 120 |
19. คืนดอกเบี้ยธนาคารเพื่อปิดโครงการ |
||
วันที่ 31 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคืนเงินดอกเบี้ยธนาคารเพื่อปิดโครงการ
|
2 | 2 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | นักเรียนมีสุขภาวะโภชนาการที่ดีมีศักยภาพด้านความรู้ในการดำรงตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง สมบูรณ์เหมาะสมวัย ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ90 มีสุขภาวะโภชนาการที่ดีมีศักยภาพด้านความรู้ในการดำรงตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์เหมาะสมตามวัย |
||||
2 | นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในสถานศึกษาและภายนอกสถานศึกษา ตัวชี้วัด : โรงเรียนสามารถดำเนินการเป็นศูนย์การเรียนรู้ที่เป็นแบบอย่างแก่ชุมชนและโรงเรียนใกล้เคียงได้ร้อยละ90 |
||||
3 | ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุนในกิจกรรมและดำเนินการร่วมกับของสถานศึกษา ตัวชี้วัด : ชุมชนและผู้ปกครองนักเรียนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมของสถานศึกษาอย่างน้อยร้อยละ 80 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน จังหวัด เชียงใหม่
รหัสโครงการ ศรร.1112-004
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายณัฐพล แสงอรุณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......