แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านม่วงชุม


“ โรงเรียนบ้านม่วงชุม ”

248 ม.10 ตำบลม่อนปิ่น อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 50110

หัวหน้าโครงการ
นายสิทธิพร นันตาวงค์

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านม่วงชุม

ที่อยู่ 248 ม.10 ตำบลม่อนปิ่น อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 50110 จังหวัด เชียงใหม่

รหัสโครงการ ศรร.1113-003 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.03

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านม่วงชุม จังหวัดเชียงใหม่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 248 ม.10 ตำบลม่อนปิ่น อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 50110

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านม่วงชุม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านม่วงชุม



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านม่วงชุม " ดำเนินการในพื้นที่ 248 ม.10 ตำบลม่อนปิ่น อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 50110 รหัสโครงการ ศรร.1113-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านม่วงชุม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 1391 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนบ้านม่วงชุม เป็นโรงเรียนชายขอบติดกับประเทศพม่า เป็นโรงเรียนชยายโอกาสทางการศึกษา ประกอบไปด้วย 4 ชนเผ่า ได้แก่ เผ่าไทยใหญ่ (ไตย) เผ่าลาหู่ (มูเซอ) เผ่าดาราอั้ง (ประหร่อง) และชนพื้นเมือง (คนล้านนา) จำนวนนักเรียนในปีการศึกษา 2559 จำนวน 701 คน เด็กส่วนมากเป็นเด็กที่มีปัญหาทุพภาวะโภชนาการ เพราะการบริโภคอาหารของเด็กที่ขาดคุณค่าทางอาหาร จากสถานการณ์ดังกล่าวโรงเรียนบ้านม่วงชุม จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้ สรุปผลการดำเนินงาน ของโครงการฯ ปีที่ 1 พบว่า เด็กนักเรียนได้เรียนรู้ในการดำเนินชีวิตอย่างมั่นคง โดยผ่านโครงการเด็กไทยแก้มใส การดำเนินงานเริ่มจากการทำกิจกรรมเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ขายผ่านระบบบัญชีฟาร์ม ของแต่ละกิจกรรม ให้แม่ครัวทางโรงเรียนได้ประกอบอาหารเพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวัน ทำให้เด็กนักเรียนในระดับปฐมวัย และประถมศึกษา ได้รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ มีภาวะโภชนาการที่ดี จึงปรากฏผลดังนี้ เด็กอ้วนลดลงร้อยละ 1.25เด็กผอมลดลง ร้อยละ 2.25 1.นักเรียนมีสุขภาพสุขภาวะ พัฒนาการด้านร่างกาย เติบโตสมวัย อารมณ์ สติปัญญาดีขึ้น รวมทั้งทักษะเพื่อการดำรงชีวิต 2.โรงเรียนมีกิจกรรม ลดปัญหาโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียนได้
3.ผู้ประกอบการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้และแนวทางในการจัดการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ 4.คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านม่อนปิ่นมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน 5.สร้างเครือข่าย ชุมชน มีความตระหนักรู้ และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างสุขภาพสุขภาวะให้กับนักเรียนให้มี พัฒนาการด้านร่างกาย เติบโตสมวัย อารมณ์ สติปัญญาดีขึ้น รวมทั้งทักษะเพื่อการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม
  2. 2.เพื่อให้โรงเรียนมีกิจกรรม ลดปัญหาโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียนได้
  3. 3.เพื่อให้ผู้ประกอบการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้และแนวทางในการจัดการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
  4. 4. เพื่อให้คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านม่วงชุมมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
  5. 5.เพื่อสร้างเครือข่าย ชุมชน มีความตระหนักรู้ และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนมีสุขภาพสุขภาวะ พัฒนาการด้านร่างกาย เติบโตสมวัย อารมณ์ สติปัญญาดีขึ้น รวมทั้งทักษะเพื่อการดำรงชีวิต
    2. กิจกรรม สามารถ ลดปัญหาโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน
    3. ผู้ประกอบอาหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้และแนวทางในการจัดการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
    4. คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านม่อนปิ่นมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
    5. สามารถ สร้างเครือข่าย ชุมชน มีความตระหนักรู้ และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรม ประชุม แถลงนโยบาย มอบหมายหน้าที่ ให้คณะครู

    วันที่ 20 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 จัดประชุมคณะครู กำหนดทิศทางการพัฒนาคุณภาพอาหาร ตามโครงการเด็กไทยแก้มใส เพื่อยกระดับเป็นศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้ม 2 ทวบทวนการดำเนินงานเด็กไทยแก้มใสครั้งที่ผ่านมา สรุป ปัญหา อุปสรรค์ แนวทางการแก้ปัญหา 3 จัดทำแผนปฏิบัติงาน เด็กไทยแก้มใส ปีการศึกษา 2559 4 กำหนดทิศทางการพัฒนาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส 5 กำหนด การกำกับ  ติดตาม  การรายงานการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. การประชุมสร้างความตระหนักถึงภาระกิจการพัฒนาโครงการเด็กไทยแก้มใส ให้เป็นศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส ภายในปี 2559 ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนต้องให้ความร่วมมือกับผู้รับผิดชอบโครงการ ครูต้องเข้าใจในเรื่องภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนรายบุคคล  มีความรู้ในเรื่องการจัดการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน
    2. สามารถจัดทำแผนปฏิบัติงาน เด็กไทยแก้มใส ปีการศึกษา 2559 สามารถนำไปใช้จริงได้
    3. สามารถจัดตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน เด็กไทยแก้มใส

     

    38 0

    2. กิจกรรมพออยู่ พอกิน พอเพียง ตามรอยเท้าพ่อ การเลี้ยงไก่ไข่

    วันที่ 20 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สามารถขยายการเลี้ยงไก่ไข่ให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้ประกอบอาหาร โดยการจัดซื้อไก่ไข่เพิ่มอีก 100ตัว
    2. ผู้รับผิดชอบกิจกรรมนายทรงธรรม เสรีรัตน์ ทำบันทึกข้อความขออนุมัติงบประมาณเพื่อดำเนินการ
    3. บันทึกข้อความเสนอฝ่าย แผนงานและการเงินของโรงเรียน
    4. แต่งตั้งคณะทำงาน
    5. แต่งตั้งคณะกรรมการนักเรียน ผู้ดูแล ไก่ไข่ การให้อาหาร ทำความสะอาดโรงเรือน และการจำหน่ายไข่ไก่ ุ6. จัดทำแผนการเรียนรู้ตาม ฐานการเรียนรู้การเลี้ยงไก่ไข่ ึ7. จัดทำบัญชีฟาร์มควบคุมการผลิต
    6. จำหน่ายผ่านสหกรณ์นักเรียนเข้าสู่กระบวนการผลิตอาหารกลางวัน
    7. หมุนเวียนการเงิน เพื่อจัดซื้ออาหารไก่ไข่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนเครื่อข่าย ฐานการเรียนรู้ การเลี้ยงไก่ไข่ สามารถฝึกปฏิบัติการเลี้ยงไก่ไข่ได้ สามารถนำไปประกอบอาชีพ ต่อยอดที่บ้านได้
    2. นักเรียนสามารถทำบัญชีฟาร์มจำหน่ายสินค้าผ่านระบบสหกรณ์นักเรียน
    3. ผลผลิตไข่ไก่ มีเพียงพอต่อความต้องการของผู้ประกอบการ สามารถนำไข่ไก่ มาประกอบอาหารให้กับนักเรียนได้อย่างเพียงพอ
    4. ไข่ไก่ที่นักเรียนได้บริโภคเป็นไข่ไก่ ปลอดภัย 100% จากสารพิษที่มาจากการเร่งไข่แดง
    5. สามารถแก้ไขปัญหาทุพภาวะโภชนาการได้ในระดับหนึ่ง นักเรียนได้บริโภคอาหารที่สะอาด และปลอดภัย

     

    776 105

    3. กิจกรรม พออยู่ พอกิน พอเพียง ตามรอยเท้าพ่อ การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์

    วันที่ 27 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สามารถขยายการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้ประกอบอาหาร
    2. ผู้รับผิดชอบกิจกรรมนายทรงธรรม เสรีรัตน์ ทำบันทึกข้อความขออนุมัติงบประมาณเพื่อดำเนินการ
    3. บันทึกข้อความเสนอฝ่าย แผนงานและการเงินของโรงเรียน
    4. แต่งตั้งคณะทำงาน
    5. แต่งตั้งคณะกรรมการนักเรียน ผู้ดูแลการให้อาหาร ทำความสะอาดบ่อเลี้ยงปลาและการจำหน่ายปลาดุกในบ่อซีเมนต์ ุ6. จัดทำแผนการเรียนรู้ตาม ฐานการเรียนรู้การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ ึ7. จัดทำบัญชีฟาร์มควบคุมการผลิต
    6. จำหน่ายผ่านสหกรณ์นักเรียนเข้าสู่กระบวนการผลิตอาหารกลางวัน
    7. หมุนเวียนการเงิน เพื่อจัดซื้ออาหารปลาดุก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนเครือข่าย ฐานการเรียนรู้ การเลี้ยงไก่ไข่ สามารถฝึกปฏิบัติการเลี้ยงไก่ไข่ได้ สามารถนำไปประกอบอาชีพ ต่อยอดที่บ้านได้ 2. นักเรียนสามารถทำบัญชีฟาร์มจำหน่ายสินค้าผ่านระบบสหกรณ์นักเรียน 3. ผลผลิตไข่ไก่ มีเพียงพอต่อความต้องการของผู้ประกอบการ สามารถนำปลาดุกในบ่อซีเมนต์มาประกอบอาหารให้กับนักเรียนได้อย่างเพียงพอ 4. ไข่ไก่ที่นักเรียนได้บริโภคปลาดุก ปลอดภัย 100% จากสารพิษที่มาจากการเร่งโตไว 5. สามารถแก้ไขปัญหาทุพภาวะโภชนาการได้ในระดับหนึ่ง นักเรียนได้บริโภคอาหารที่สะอาด และปลอดภัย

     

    746 0

    4. กิจกรรม อบรมให้ความรู้พัฒนาคุณภาพอาหารให้ผู้ประกอบการ คณะครู

    วันที่ 27 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายละเอียดการปฏิบัติกิจกรรม ใช้กระบวนการ PDCA ในการควบคุมคุณภาพ 1.  คณะทำงานประชุมร่วมกันวางแผนการจัด อบรมให้ความรู้พัฒนาคุณภาพอาหารให้ผู้ประกอบการ คณะครู ในวันที่ 23 พฤษภาคม 2559 2.  จัดทำรูปแบบการทำกิจกรรม  เขียนกิจกรรม ขออนุมัติกิจกรรมจากผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านม่วงชุม 3.  คณะทำงาน  ออกหนังสือเชิญ คณะกรรมการสถานศึกษา  ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบ้านม่วงชุม ผู้ประกอบอาหาร ร้านค้า 3.  ดำเนินงานตามกิจกรรมที่วางไว้ในแผนงาน  ดังนี้     3.1  08.00 น. - 08.30 น.  ลงทะเบียน  รับเอกสาร     3.2  08.30 น. - 09.00 น.  พิธีเปิด การอบรม โดยท่าน ผอ. สิทธิพร  นันตาวงค์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านม่วงชุม พร้อมบรรยายพิเศษ     3.3  09.30 น. - 10.00 น.  ปัญหาทุพภาวะโภชนาการของนักเรียนโรงเรียนบ้านม่วงชุม โดย นางเพ็ญนภา  สันฟู  ครูอนามัยโรงเรียน     3.4  10.00 น. - 10.30 น.  การกระตุ้นพัฒนาการทางสมองของเด็ก โดยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์  นายประสงค์  ธิยศ  ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบ้านม่วงชุม     3.5  10.30 น. - 11.00 น.  สะท้อนปัญหาการประกอบอาหาร ในรอบปีที่ผ่านมา  ผู้ประกอบอาหาร     3.6  11.00 น. - 11.30 น.  แนวทางการพัฒนา สถานที่ประกอบอาหาร  วัสดุ อุปกรณ์  และ คุณค่าทางโภชนาการ ตาม โปรแกรม Thai School Lunch  นางเพ็ญนภา  สันฟู  ครูอนามัยโรงเรียน     3.7  11.00 น. - 12.00 น.  การทำ  MOU การประกอบอาหารเพื่อเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านม่วงชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประเด็นที่ 1 การจัดอบรมให้ความรู้พัฒนาคุณภาพอาหารให้ผู้ประกอบการ คณะครู สามารถกระตุ้นความคิดให้กับคณะครูทุกคน ไม่เพียงเฉพาะครูอนามัยโรงเรียนเท่านั้น ที่ให้ความสำคัญต่อการประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนได้รับประทานมีคุณค่าทางโภชนาการ
    ประเด็นที่ 2 ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนบ้านม่วงชุม ได้เกิด องค์ความรู้ในการพัฒนาสมองของนักเรียน ไม่เฉพาะสอนแต่ในห้องเรียน แต่อาหารที่นักเรียนบริโภคเข้าไป มีผลต่อการพัฒนาการทางด้าน สติปัญญา และร่างกาย ทำให้เกิดแนวความคิดที่ว่า การรับประทานอาหารของนักเรียนต้องให้ผู้ปกครองเป็นคน คอยดูแล เพราะนักเรียนรับประทานอาหารที่โรงเรียน 1 มื้อ 5 วันเท่านั้น  นอกนั้นนักเรียนรับประทานที่บ้าน ประเด็นที่ 3 ผู้ประกอบการเกิดความตระหนักถึง เครื่องปรุงรส  ผักปลอดสารพิษ  คุณค่าทางอาหารที่นักเรียนจะได้รับ ครบ 5 หมู่ ประเด็นที่ 4 คณะกรรมการสถานศึกษาเข้ามามีบทบาทในการ ควบคุม  กำกับ  ดูแล คุณภาพอาหาร โดยใช้ครูทุกคนเป็นผู้ประเมิน คุณค่าทางอาหาร  รสชาติ  และวัถตุดิบในการปรุงอาหาร

     

    48 43

    5. กิจกรรม สร้างเครือข่าย ผู้ปกครอง ชุมชน

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมประชุมนักเรียนแกนนำ ผู้ปกครอง คณะครู โดยร่วมกันรับฟังการบรรยายจากวิทยากร พร้อมทั้งอภิปราแนวทางการดำเนินงาน โดยมีแนวทางจัดกิจกรรมดังนี้ 1. ผู้บริหารสถานศึกษา ประธานพิธีเปิดการอบรม พร้อมทั้ง บรรยายสรุปการจัดการอาหารกลางวัน ตามแนวทางโครงการเด็กไทยแก้มใส 2. วิทยากรบรรยายในภาคเช้าจาก สำนักงานปศุสัตว์อำเภอฝาง  เกษตรกรตัวอย่าง
    3. วิทยากรบรรยายในภาคบ่ายจาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบ้านม่วงชุม และจาก องค์การบริหารส่วนตำบลม่อนปิ่น 4. สรุป อภิปราย แนวทางการดำเนินงานให้ยั่งยืน และเป็นผู้ผลิตอาหารที่ปลอดภัยส่งจำหน่ายผ่านระบบสหรกรณ์นักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ปกครองและนักเรียนมีความสนใจในการผลิตวัตถุดิบ พืช ผัก ปลอดสารพิษ ส่งขายผ่านระบบสหกรณ์นักเรียน

     

    130 0

    6. กิจกรรม อย น้อย ใส่ใจสุขภาพ

    วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.  วางแผนการปฏิบัติงาน
      -  ประชุมคณะครู   -  เสนอกิจกรรมต่อผู้บริหาร     -  แต่งตั้งคณะกรรมการประจำศูนย์ กิจกรรมการอบรมนักเรียนแกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน กิจกรรมตรวจสอบคุณภาพอาหารและขนมในโรงเรียน 2.  ดำเนินการ     - คัดเลือกนักเรียนแกนนำ จำนวน 20 คน เป็น อย. น้อยประจำโรงเรียน     - จัดอบรมให้นักเรียนแกนนำ โดยผสานขอความร่วมมือกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบ้านม่วงชุม     -  ลงภาคสนามในการตรวจสอบคุณภาพอาหารและขนมในโรงเรียน ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข     - จัดบอร์ดให้ความรู้กับนักเรียน 4.  สรุปผลการดำเนินการ
          -  รายงานผลการปฏิบัติกิจกรรม
          -  นำผลการประเมินมาปรับปรุง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เพื่อให้นักเรียนแกนนำได้อบรมมีความรู้เกี่ยวกับกิจกรรม อย. น้อยในโรงเรียน 2. เพื่อลดเครื่องดื่ม  น้ำอัดลม ขนมที่ไม่มีประโยชน์ในโรงเรียน 3. เพื่อตรวจสอบคุณภาพอาหารกลางวัน ให้ความรู้ในการจัดบอร์ด เรื่องการรับประทาน   อาหาร

     

    104 6

    7. กิจกรรม นิทรรศการสุขภาพ

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เด็กนักเรียนแกนนำได้จัดนิทรรศการเด็กไทยแก้มใส นิทรรศการสุขภาพในโรงเรียน เช่น การแปรงฟัน  การกำจัดเหา  การลดพุงลดโรค การลดอาหารหวาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เด็กนักเรียนแกนนำทุกคนได้เรียนรู้ในการจัดกิจกรรมนิทรรศการเด็กไทยแก้มใส ได้เรียนรู้ร่วมกัน

     

    280 0

    8. กิจกรรม พออยู่พอกิน พอเพียง ตามรอยเท้าพ่อ การปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดฝึกอบรมการเตรียมดิน  การปลูก  การดูแลรักษา มะนาว  จากวิทยากรท้องถิ่น ที่ประสบความสำเร็จ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน ผู้ปกครอง  ชุมชน ให้ความสนใจในการปลูกมะนาว สามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในการพัฒนาการปลูกมะนาวในบ่อซีเมตน์ไปปลูกที่บ้านส่งขายมายังสหกรณ์นักเรียนได้

     

    776 265

    9. กิจกรรม พัฒนาคุณภาพอาหารศึกษาดูงานโรงเรียนต้นแบบ

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    P :1. การจัดโครงการในครั้งนี้ ทางโรงเรียนได้มีการประชุมเพื่อหาข้อยุติในการศึกษาดูงาน โดยจัดประชุม
    2. จัดทำโครงการ นำเสนอต่อผู้บริหาร 3. ขออนุมัติโครงการจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 3
    D : 1. ใช้เงินในโครงการเด็กไทยแก้มใส ร่วมกับเงินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2. กำหนดการเดินทางในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 60-4 มีนาคม 60 3. ศึกษาดูงานในวันที่ 1 มีนาคม 60 ณ มหา"ลัยบ้านนอก วิถีชุมชนพึ่งพาตนเอง บ้านจำรุง ต.เนินฆ้อ อ.แกลง จ.ระยอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การไปทัศนศึกษาในครั้งนี้  ความรู้ที่ได้รับ คือ     การศึกษาวิถีชีวิตการดำรงชีวิต แบบเรียบง่าย แต่แผงไปด้วยศาตร์ของพระราชา มหาลัยบ้านนอกเป็น พื้นที่เรียนรู้การเกษตร และวิถีชีวิตที่พึ่งพาตนเองตามธรรมชาติ ในแบบฉบับชาวบ้านแท้ๆ  ประกอบด้วยศูนย์รวมผลผลิตทางการเกษตร คือ  พืชผัก สมุนไพรพื้นบ้าน รวมทั้งผลไม้ทั้งมังคุด เงาะ สละ แก้วมังกร มะยงชิด ลองกองที่ผิวไม่สวยแต่หวานกรอบ และปราศจากสารเคมี ทั้งยังมีแหล่งผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ ที่ชาวบ้านร่วมมือกันผลิตใช้เองในหมู่บ้าน แบ่งการศึกษา     นอกจากนี้ ยังเปิดแหล่งท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ มีรถพาชมสวน ได้ทั้งการพักผ่อนใกล้ชิดธรรมชาติ และความรู้จากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแบบชาวบ้าน ทั้งเกษตรพื้นบ้านไร้สารเคมี เกษตรธรรมชาติกองทัพมด เป็นตัวอย่างนำกลับไปใช้ได้จริง จากการสรุปกิจกรรมในห้องประชุมพบว่า
        1.  นักเรียนแกนนำทุกคนมีความตระหนักถึงการดำรงชีวิต แบบยั่งยืน และมั่นคง โดยเริ่มจากตัวเองก่อน สนใจสุขภาพของตนเอง โดยการรับประทานอาหารที่ผลิตขึ้นเอง มีอยู่ในชุมชน และปลอดสารเคมี     2.  ผู้ประกอบการทางด้านอาหารเห็นคุณค่าของการประกอบอาหารที่ปลอดภัย สะอาด และใช้ผลผลิตของชุมชน     3.  คณะกรรมการสถานศึกษาเป็นแรงผลักให้ชุมชน ปลูกพืชปลอดสารพิษ โดยส่งขายผ่านระบบสหกรณ์นักเรียนมากขึ้น     4.  ครูและผู้บริหาร ตระหนักถึงพฤติกรรมการกินของนักเรียน เข้าใจถึงระบบการผลิตอาหาร     5.  มหาลัยบ้านนอก  เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ครบกระบวนการ คือ การผลิต การบริโภค การแปรรูป และการจำหน่าย จนเกิดการต่อยอดที่โรงเรียน คือ     1.  จัดระบบการบริการจัดการอาหารกลางวัน โดยการรับซื้อวัตถุดิบจากตลาด มาเป็นการใช้วัตถุดิบที่มีในชุมชน  สร้างเครือข่ายเกษตรกรรมที่สามารถผลิตวัตถุดิบ ส่งขายให้สหกรณ์นักเรียน     2.  ระบบการปรุงอาหาร โดยผู้ประกอบการเน้นในเรื่องคุณภาพอาหาร  อาหารปลอดสารพิษ และสะอาดมีคุณภาพ     3.  สร้างแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนให้ยั่งยืน  ขยายผล ในเรื่องการเลี้ยงปลา  เลี้ยงไก่ไข่ เลี้ยงหมู และเพาะเห็ด โดยการจัดตั้งเป็นกลุ่มผู้ที่สนใจมีแหล่งเงินกู้ยืมให้ลงทุน


     

    92 100

    10. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 31 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนเงินดอกเบี้ยธนาคาร เพื่อปิดโครงการ

     

    3 2

    11. เบิก-ถอน เงินเปิดบัญชี

    วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถอนเงินเปิดบัญชีคืนโรงเรียน

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อสร้างสุขภาพสุขภาวะให้กับนักเรียนให้มี พัฒนาการด้านร่างกาย เติบโตสมวัย อารมณ์ สติปัญญาดีขึ้น รวมทั้งทักษะเพื่อการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีสุขภาพสุขภาวะที่ดี มีพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย อารมณ์ สติปัญญาดีขึ้น ดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม

     

    2 2.เพื่อให้โรงเรียนมีกิจกรรม ลดปัญหาโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียนได้
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนจัดกิจกรรม ลดปัญหาโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียนได้ โดยการใช้นักเรียนแกนนำ อย.น้อย มีโครงการส่งเสริมการเกษตรเพื่อโครงการอาหารกลางวัน

     

    3 3.เพื่อให้ผู้ประกอบการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้และแนวทางในการจัดการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้และแนวทางในการจัดการอาหารกลางวันให้ครบ 5 หมู่ อาหารมีภาวะโภชนาการที่ดี

     

    4 4. เพื่อให้คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านม่วงชุมมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
    ตัวชี้วัด : คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านม่อนปิ่นมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน

     

    5 5.เพื่อสร้างเครือข่าย ชุมชน มีความตระหนักรู้ และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนมาสารถสร้าง เครือข่าย ชุมชน มีความตระหนักรู้ และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน โดยการอบรมให้ความรู้โภชนาการอาหารให้ลูกหลานได้กิน ได้บริโภค สามารถขยายสู่ชุมชนและโรงเรียนในรอบข้าง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างสุขภาพสุขภาวะให้กับนักเรียนให้มี พัฒนาการด้านร่างกาย เติบโตสมวัย อารมณ์ สติปัญญาดีขึ้น รวมทั้งทักษะเพื่อการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม (2) 2.เพื่อให้โรงเรียนมีกิจกรรม ลดปัญหาโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียนได้ (3) 3.เพื่อให้ผู้ประกอบการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้และแนวทางในการจัดการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ (4) 4. เพื่อให้คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านม่วงชุมมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน (5) 5.เพื่อสร้างเครือข่าย ชุมชน มีความตระหนักรู้ และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านม่วงชุม

    รหัสโครงการ ศรร.1113-003 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.03 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    กิจกรรมการเลี้ยงไก่ไข่

    1.เป็นกิจกรรมที่พัฒนามาจาก เด็กไทยแก้มใสปีที่ 1 โดยในปีที่ 2 นี้ ทางโรงเรียนได้พัฒนาผลผลิต จากการเลี้ยง 100 ตัว เป็น 200 ตัวขยายโรงเรือนเพิ่ม
    2. การเพิ่มผลผลิตนี้นักเรียนได้คิดวิธีการเพิ่มผลผลิต โดยการใช้นมนักเรียนที่เหลือจากนักเรียนที่ขาดเรียนในแต่ละ เดือน มาผสมอาหารให้ไก่ไข่ โดยสามารถเก็บผลผลิตเพิ่มขึ้นจากเดิม จาก ไก่ไข่ 2 วันไข่ 1 ฟอง เป็น 3 วันไข่ 2 ฟอง ไข่มีขนาดที่ใหญ่ขึ้น

    พัฒนาต่อยอดให้ชุมชนเข้ามาดูงานจัดอบรม ให้ผู้ปกครอง แล้วนำกลับไปเลี้ยงที่บ้าน ส่งขายผ่านระบบสหกรร์นักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    กิจกรรมระบบบริหารสหกรณ์

    1. ทางโรงเรียนพัฒนาโรงอาหารเดิม ปรับปรุงให้เป็นศูนย์ภาวะโภชนาการเด็กไทยแก้มใส และห้องสหกรณ์นักเรียน โดยการร่วมหุ้น บริหารงานโดยนักเรียนแกนนำ ในปีการศึกษาที่ผ่านมาได้มีหุ้นรวม 30000 บาท ผลกำไรจากการขายเฉลี่ยต่อเดือน เดือนละ 2500 บาท

    ระดมทรัพยากร การรวมหุ้น และเปิดรับซื้อผลผลิตจากชุมชน ผ่าน เครือข่ายผู้ปกครองเด็กไทยแก้มใส

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    กิจกรรม การประกอบอาหารที่ถูกสุขลักษณะ

    โรงเรียนได้ใช้โปรแกรม Thai School Lunch. โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียน โดยมีครูที่รับผิดชอบอาหารกลางวันเป็นผู้ควบคุม คุณภาพของอาหาร

    เน้นที่ผู้ประกอบอาหารให้ใช้โปรแกรมการจัดการอาหารให้มีคุณภาพ สะอาด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    กิจกรรม สรา้งเครือข่ายผู้ปกครอง

    1. สร้างเครือข่ายผู้ปกครองให้ร่วมผลิต วัตถุดิบทางการเกษตรในท้องถิ่น เช่น ผักท้องถิ่นผลไม้ท้องถิ่น อาหารท้องถิ่น ขายผ่านระบบสหกรณ์นักเรียน
    1. สร้างเครือข่ายผู้ปกครองให้เข้มแข็ง โดยสร้างประธาน กรรมการ เลขา พร้อมมีการประชุม ภาคเรียนละ 1 ครั้ง
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    กิจกรรมอย.น้อยใส่ใจสุขภาพ

    1. นักเรียนแกนนำที่เป็นสมาชิก อย.น้อย นำเสนอกิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพ หน้าเสาธงมุกวันศุกร์ โดยออกมานำเสนอความรู้เรื่องอาหารอารมณ์อากาศ
    2. ตรวจสอบคุณภาพอาหารกลางวันว่า อาหารมีคุณภาพ สารอาหารครบ 5 หมู่ รสชาติเป็นไงบ้าง
    3. ควบคุมการขายขนมในโรงเรียน

    ขยายแกนนำ โดยแบ่งเป็นอย.น้อย ในช่วงชั้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    กิจกรรม ธนาคารขยะ

    เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติโดยการลดขยะในโรงเรียน มีวิธีการคือแยกขยะที่สามารถนำไปขายได้ แล้วนำเงินมาพัฒนาระบบสภานักเรียนของโรงเรียน

    1.จัดหาถังขยะที่ สามารถแยกขยะได้ให้เพียงพอต่อความต้องการในแต่ละพื้นที่ 2.จัดสร้างธนาคารขยะโดยมีการรับขยะจากชั้นเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนบ้านม่วงชุม จังหวัด เชียงใหม่

    รหัสโครงการ ศรร.1113-003

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสิทธิพร นันตาวงค์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด