ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านสะเดา

รหัสโครงการ ศรร.1112-024 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.24 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

“การเรียนรู้ระบบเปิด เกิดวิถีพอเพียง”

การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัตินำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาผู้เรียน ให้รู้จักการพึ่งตนเอง มีมีความพอประมาณ มีเหตุมีผล พอมีพอกิน พอมีพอใช้ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง ตลอดจนสามารถใช้ความรู้ความสามารถ ความละเอียดรอบคอบ และคุณธรรมมาประกอบในการวางแผนตัดสินใจในการกระทำสิ่งต่างๆเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข โรงเรียนจึงได้ดำเนินการดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 การจัดกระบวนการเรียนการสอนด้วยนวัตกรรมการสอนแบบเปิด การเรียนรู้ระบบเปิด การเรียนรู้ระบบเปิด หรือวิธีการเรียนรู้แบบเปิด (Open Approach) คือการใช้สถานการณ์ เป็นแนวทางให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ โดยใช้คำถามปลายเปิด กระตุ้นให้ผู้เรียนร่วมด้วยช่วยกันระดมความคิดภายในกลุ่มของตน จนได้แนวคิดต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาตามสถานการณ์ ร่วมกันอย่างมีอิสระ และร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้นำเสนอแนวคิดของกลุ่ม เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการกลุ่ม นำไปสู่การสรุปความรู้ จากการเชื่อมโยงแนวคิดของนักเรียนในที่สุด ซึ่งทักษะกระบวนการที่เกิดขึ้นกับนักเรียนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิธีการแบบเปิด คือทักษะการแก้ไขปัญหา การคิดวิเคราะห์ การมีความคิดสร้างสรรค์การสื่อสารการแสดงออกตลอดจนการนำเสนออย่างมีเหตุมีผล ลำดับขั้นตอนการสอน 4 ขั้นคือ
ขั้นที่ 1 การนำเสนอปัญหาปลายเปิดครูสร้างสถานการณ์ปัญหาปลายเปิดในชั้นเรียน ขั้นที่ 2 นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่านกระบวนการกลุ่ม ขั้นที่ 3 อภิปรายร่วมกันทั้งเรียน ขั้นที่ 4 การสรุปเชื่อมโยงแนวคิดของนักเรียน เพื่อหาข้อสรุปของบทเรียนนั้นๆ โรงเรียนบ้านสะเดาได้ใช้ระบบการเรียนรู้แบบเปิด (Open Approach) ในกิจกรรมการเรียนการสอนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการเรียนรู้ภายในห้องเรียน สู่การปฏิบัตินอกห้องเรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความสนใจได้อย่างลึกซึ้งการเรียนรู้ร่วมกันการเรียนรู้จากธรรมชาติการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง การเรียนรู้คู่คุณธรรม โดยครูคอยให้ความช่วยเหลือสนับสนุนและอำนวยความสะดวกให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถของตนและนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ วิถีพอเพียง เป็นการเน้นการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นที่มีอยู่อย่างประหยัด มีประโยชน์ พึ่งตนเองได้ ขยัน ประหยัดช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ร่วมคิดร่วมทำ ร่วมประสานชุมชนเข้มแข็งเสริมสร้างรักษาสิ่งแวดล้อมให้อุดมสมบูรณ์ พึ่งพาตนเองด้วยการกสิกรรมธรรมชาติไร้สารพิษ ดำเนินชีวิตเรียบง่าย มุ่งพัฒนาคุณธรรม มีจิตสาธารณะ

ขั้นตอนที่ 2 การจัดกิจกรรมฐานการเรียนรู้ - กิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัว - กิจกรรมการเลี้ยงสัตว์น้ำ ปลา กบ - กิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ปีก ไก่ไข่ ไก่พื้นเมืองเป็ดและห่าน - กิจกรรมการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์ - ฯลฯ จัดฐานการเรียนรู้ระบบการผลิตผลผลิตการเกษตรพอเพียงการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์แบบ หมุนเวียน ส่งต่อสหกรณ์ร้านค้าโรงเรียนและสู่โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนต่อไป

การพัฒนาผู้เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนการเรียนรู้ระบบเปิด เกิดวิถีพอเพียง เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการกลุ่มเน้นการลงมือปฏิบัติ นักเรียนครูบุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดกิจกรรม เกิดทักษะการเรียนรู้ มีวินัย ความรับผิดชอบ การทำงานร่วมกันการมีจิตสาธารณะ ซึ่งเป็นทั้งทักษะและคุณลักษณะที่เอื้อต่อคุณภาพการดำเนินชีวิตที่ดีชุมชนองค์กรเข้ามามีส่วนร่วม นำไปสุ่การพัฒนาวิถีชีวิตพอเพียงที่ยั่งยืนสืบต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

สมาชิกของสหกรณ์ สามารถนำผลผลิตที่บ้านนำมาจำหน่ายที่ โรงเรียนได้

  1. สมาชิกนำผลผลิตมาให้เจ้าหน้าที่สหกรณ์ ลบันทึกวานำอะไรมาจำหน่าย
  2. เปิดทำการขายเวลาพักกลางวันโดยเจ้าหน้าที่สหกรณ์
  3. สมาชิกมารับเงินค่าผลผลิต หลังจากเลิกเรียน

จะนำผลผลิตที่ได้จากโรงเรียนและจากี่บ้านของสมาชิกมาทำการแปรรูป เพื่อเป็นการถนอมอาหาร

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

โครงการอาหารกลางวัน

  1. เงินอุดหนุนทั่วไปที่ได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คนละ 20 บาท/ วัน จำนวน 200 วัน โดยให้นักเรียนทุกคนตั้งแต่ชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
  2. นำเงินดอกผลจากกองทุน เช่น เงินทุนหมุนเวียนเพื่ออาหารกลางวัน มาพัฒนาระบบสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียนและจัดซื้อภาชนะเครื่องใช้ต่างๆ ภายในโรงอาหาร เช่น ถาดใส่อาหาร จาน ช้อน

แหล่งอ้างอิง - สรุปโครงการ - ภาพถ่ายกิจกรรม

  • ดำเนินโครงการอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ
  • จัดหาเงินเพื่อฌครงการอาหารกลางวันเพิ่มเติมโดยขอความร่วมมือจาก หน่วยงานภายนอก ผู้ปกครอง ชุมชน เพื่อขอสนับสนุนด้านงบประมาณ
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน
  • โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
  • กิจกรรมบริการสุขภาพอนามัยโรงเรียน
  1. ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เพื่อประเมินการเจริญเติบโตของนักเรียน และแปลผลทุกๆ 6 เดือน
  2. รายงานปัญหาที่พบแก่ผู้บริหารโรงเรียน แจ้งผู้ปกครอง เพื่อหาแนวทางแก้ไข
  3. ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียน สรุปและนำข้อมูลมาประเมินพฤติกรรม
  4. ดำเนินการส่งเสริมการเจริญเติบโตและแก้ไขปัญหาเด็กที่ขาดสารอาหาร หรือเด็กที่อยู่ในภาวะค่อนข้างอ้วนและอ้วน
  5. ดำเนินการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาล 1 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนละ 1 ครั้ง นำผลที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางแก้ไข
  6. ติดตามการดำเนินงาน
  7. รายงานผล

หลักฐานแหล่งอ้างอิง - สรุปโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ - คำสั่งแต่งตั้ง - ภาพถ่ายกิจกรรม - สรุปแบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคของนักเรียน - แบบรายงานการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียน

  • จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ พัฒนาเครื่องมือในการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงให้ทันสมัย เพื่อความแม่นยำในการแปลผล
  • ศึกษาแนวทางในการเฝ้าระวังการเจริญเติบโต ของนักเรียนอย่างละเอียด และจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
  • นำสภาพปัญหาจากการประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารไปทำงานวิจัยเพื่อหาวิธีแก้ไข
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
  • โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
  • โครงการเด็กไทยทำได้ (อาหารปลอดภัย, สุขาน่าใช้, เด็กไทยฟันดี)
  • โครงการบริการสุขภาพอนามัยนักเรียน
  • โครงการอย.น้อย
  • โครงการโรงเรียนปลอดโรค
  • โครงการโรงเรียนปลอดบุหรี่-เหล้า
  • โครงการสอนสุขบัญญัติ โภชนบัญญัติ ธงโภชนาการในชั้นเรียน
  1. จัดทำโครงการเพื่อให้สอดคล้องในการแก้ปัญหาสุขภาพและเพื่อการส่งเสริมสุขภาพให้แก่นักเรียนโดยนำเสนอผู้บริหารและคณะกรรมการ จากนั้นแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ทำงานตามแผนงานร่วมกัน เช่น

- จัดอบรมผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ - จัดกิจกรรมล้างมือ 7 ขั้นตอน - จัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน - จัดกิจกรรมออกกำลังกาย - จัดกิจกรรมให้ความรู้งเสียงตามสาย - จัดกิจกรรมประกวดการวาดภาพ เขียนเรียงความและคำขวัญในวันสุขบัญญัติแห่งชาติ

หลักฐานอ้างอิง - สรุปโครงการ - ภาพถ่ายกิจกรรม - ผลงานนักเรียน - ตรวจสอบสภาพจริง - สอบถามครู/ นักเรียน - เกียรติบัตร/โล่ รางวัล

  • จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง โดยนำสภาพปัญหาที่ได้ ข้อดี ข้อเสีย ที่ได้จากการสรุปแผนงาน โครงการ ไปหาแนวทางแก้ไขร่วมกันระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
  • ของบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชน
  • เผยแพร่ผลงาน จัดนิทรรรศการ
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
  • โครงการปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน
  • โครงการโรงเรียนปลอดโรค
  • โครงการควบคุมโรคไข้เลือดออก
  • โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
  1. จัดทำโครงการปรับปรุงสภาพแวดล้อม
  2. สำรวจสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน อาคารเรียน ห้องน้ำห้องส้วม ห้องพยาบาล น้ำดื่ม-น้ำใช้ในโรงอาหาร การจัดการขยะมูลฝอย การกำจัดน้ำเสีย การควบคุมและกำจัดแมลง และสัตว์นำโรคอื่นๆ เช่ม ยุง แมลงวัน สนุข หนู แมลงสาบ และสำรวจสภาพแวดล้อมโดยรอบโรงเรียนเพื่อความปลอดภัย ในโรงเรียน เช่น เครื่องเล่นในสนามเด็กเล่น สระน้ำ
  3. ดำเนินการ ปรับปรุง แก้ไข ให้ถูกสุขลักษณะ อยู่ในสภาพที่เหมาะสมกับการใช้งาน ให้ความรู้แก่นักเรียนในการดูแลตนเอง เช่น การช่วยเหลือคนตกน้ำ
  4. สรุป รายงานผล

หลักฐาน แหล่งอ้างอิง 1. สรุปโครงการต่างๆ 2. ภาพถ่ายกิจกรรม 3. ตรวจสภาพจริง

  • จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง โดยนำสภาพปัยหาที่พบ ไปวิเคราะห์เนื้อหา แนวทางแก้ไขอย่างมีประสิทธิภาพ
  • ระดมทรัพยากร เพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงแก้ไข ซ่อมแซมอาคารเรียน ห้องน้ำ ห้องส้วม สนามด็กเล่นเพื่อให้ถูกสุขลักษณะ
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน
  • โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
  • กิจกรรมบริการสุขภาพอนามัยนักเรียน
  1. จัดทำโครงการ นำเสนอผู้บริหาร คณะกรรมการแต่งตั้งคณะทำงาน จากนะเนดำเนินงานตามแผนงานที่วางไว้ เช่น

- จัดอบรมผู้นำนักเรียนฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ - ตรวจสุขภาพ นักเรียนตอนเช้าก่อนเข้าห้องเรียน โดยใช้ท่าการตรวจสุขภาพ 10 ท่า - ทดสอบการได้ยิน และทดสอบสายตา/ตาบอดสี - การฉีดวัคซีน เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณะสุข - การชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงภาคเรียนละ 2 ครั้ง - ตรวจสุขภาพช่องปากโดยทันตแพทย์ปีละ 1 ครั้ง พร้อมให้การแก้ไข/รักษา - การให้ยาเม็ดเสริมธาตเหล็ก - การรณรงค์กำจัดเหาในนักเรียนหญิง - การให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ, เสียงตามสาย, ป้ายนิเทศ - จัดให้มีห้องพยาบาลที่ถูกสุขลักษณะ ไว้บริการนักเรียนอย่างเพียงพอ -การให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้นก่อนนำส่งโรงพยาบาล

  • จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง โดยนำสภาพปัยหาที่พบ มาหาแนวทางแก้ไขร่วมกันระหว่างครู ผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่ สาธารณะสุข
  • ระดมทรัพยากรจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เพื่อใช้ในการแก้ปัญหา
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย
  • แผนการสอนบูรณาการ 8 กลุ่มสาระ
  • ชุดเรียนรู้โภชนาการสมวัย เด็กไทยแก้มใส
  1. จัดทำแผนการสอนแบบบูรณาการใน 8 กลุ่มสาระ
  2. จัดทำสื่อ/ เทคโนโลยี ใบงาน ใบความรู้เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรม
  3. จัดกิจกรรมตามแผน โดยเน้นการลงมือปฏิบัติจริง
  4. วัดผลประเมินผล

หลักฐานอ้างอิง - แผนการสอนบูรณาการ - ภาพถ่ายกิจกรรม - ชุดเรียนรู้โภชนาการสมวัย เด็กไทยแก้มใส

  • จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

โรงพยาบาลวังทอง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลหนองพระ ได้เข้ามาให้ความรู้และตรวจสุขภาพให้กับนักเรียนร่วมกับแกนนำนักเรียน และทีมงาน อย.น้อยของโรงเรียน ได้ให้คำแนะนำกับโรงเรียนในเครือข่ายในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนได้พัฒนาสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนให้สะอาด ปลอดภัย สวยงาม จัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและเพียงพอกับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

การเห็นความสำคัญของภาวะโภชนาการ อันจะส่งผลต่อการเรียนรู้ของเด็กๆ การทำงานด้วยความจริงใจและมุ่งมั่นในหน้าที่ที่ได้รับของคณะครู และบุคลากร ภายในโรงเรียนบ้านสะเดา

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

จัดอบรมให้ความรู้ความเข้าใจและประโยชน์ ของโครงการเด็กไทยแก้มใส ให้กับผู้คณะครูและบุคลากรภายในโรงเรียนบ้านสะเดา

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

การที่ผู้ปกครองได้เห็นความรู้กระบวนการทำงานและสุขภาพของบุตรหลาน ที่เปลี่ยนไปในทิศทางที่ดีขึ้นจึงทำให้ผู้ปกครองให้ความสนับสนุน และร่วมมือกับโครงการได้เป็นอย่างดีจึงเกิดกระบวนการการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน เริ่มตั้งแต่การประชุมระดมความคิดเพื่อขับเคลื่อนโครงการเด็กไทยแก้มใส /จัดอบรมเพื่อให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษแก่ผู้ปกครองและชุมชน ,เชิญชวนผู้ปกครอง ชุมชนมาช่วยปรับภูมิทัศน์เพื่อให้เหมาะกับเป็นศูนย์การเรียนรู้ ,เชิญผู้ปกครองและคนในชุมชนมาเป็นวิทยากรเรื่องการปลูกผัก เลี้ยงสัตว์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

จัดให้มีการผลิตทางเกษตร ปลูกพืช ผัก โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนและชุมชน“กิจกรรมเกษตรสิบหมู่อยู่อย่างพอเพียง”โดยมีการจัดทำแผนการผลิตทางการเกษตรที่สอดคล้องกับรายการอาหารกลางวันนักเรียน นำผลผลิตไปประกอบอาหารกลางวันนักเรียนในปริมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของผลผลิต โดยนำผลผลิตขายผ่านสหกรณ์ให้กับกิจกรรมอาหารกลางวัน

แหล่งเรียนรู้ ภายในโรงเรียน และกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในรูปแบบร้านค้าและมีโรงเรียนธนาคารให้ออมทรัพย์ โดยรายได้จากส่วนแบ่งการขายผลิตทางการเกษตรมีครู นักเรียนเป็นสมาชิกสหกรณ์ครบทุกคนมีแกนนำนักเรียนดำเนินการกิจกรรมสหกรณ์และการจัดทำบัญชีการค้าขาย ในทุกกิจกรรม ผ่านการตรวจสอบการดำเนินกิจกรรมสหกรณ์แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน

โรงเรียนจะเพิ่มสัดส่่วน การใช้ผลผลิต ภายในโรงเรียนให้มากขึ้นโดยมีการให้ความรู้แก่นักเรียน ให้เห็นถึงประโยชน์และความสำคัญ ของการเพิ่มผลผลิตภายในโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

จัดให้มีการผลิตปศุสัตว์ ไก่ เป็ด โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนและชุมชน“กิจกรรมเกษตรสิบหมู่อยู่อย่างพอเพียง”โดยมีการจัดทำแผนการผลิตทางการเกษตร/ปศุสัตว์/ประมงที่สอดคล้องกับรายการอาหารกลางวันนักเรียน นำผลผลิตไปประกอบอาหารกลางวันนักเรียนในปริมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 30ของผลผลิต โดยนำผลผลิตขายผ่านสหกรณ์ให้กับกิจกรรมอาหารกลางวัน

  • แหล่งเรียนรู้ ภายในโรงเรียน
  • ภาพถ่ายกิจกรรม
  • บันทึกรายรับรายจ่ายของสหกรณ์ กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในรูปแบบร้านค้าและมีโรงเรียนธนาคารให้ออมทรัพย์ โดยรายได้จากส่วนแบ่งการขายผลิตทางการเกษตรมีครู นักเรียนเป็นสมาชิกสหกรณ์ครบทุกคนมีแกนนำนักเรียนดำเนินการกิจกรรมสหกรณ์และการจัดทำบัญชีการค้าขาย ในทุกกิจกรรม ผ่านการตรวจสอบการดำเนินกิจกรรมสหกรณ์แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน

โรงเรียนจะเพิ่มสัดส่่วน การใช้ผลผลิต ภายในโรงเรียนให้มากขึ้นโดยมีการให้ความรู้แก่นักเรียน ให้เห็นถึงประโยชน์และความสำคัญ ของการเพิ่มผลผลิตภายในโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

จัดให้มีการผลิตปศุสัตว์ ปลาดุก กบ โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนและชุมชน“กิจกรรมเกษตรสิบหมู่อยู่อย่างพอเพียง”โดยมีการจัดทำแผนการผลิตทางการเกษตร/ปศุสัตว์/ประมงที่สอดคล้องกับรายการอาหารกลางวันนักเรียน นำผลผลิตไปประกอบอาหารกลางวันนักเรียนในปริมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 30ของผลผลิต โดยนำผลผลิตขายผ่านสหกรณ์ให้กับกิจกรรมอาหารกลางวัน

  • แหล่งเรียนรู้ ภายในโรงเรียน
  • ภาพถ่ายกิจกรรม
  • บันทึกรายรับรายจ่ายของสหกรณ์ กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในรูปแบบร้านค้าและมีโรงเรียนธนาคารให้ออมทรัพย์ โดยรายได้จากส่วนแบ่งการขายผลิตทางการเกษตรมีครู นักเรียนเป็นสมาชิกสหกรณ์ครบทุกคนมีแกนนำนักเรียนดำเนินการกิจกรรมสหกรณ์และการจัดทำบัญชีการค้าขาย ในทุกกิจกรรม ผ่านการตรวจสอบการดำเนินกิจกรรมสหกรณ์แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน

โรงเรียนจะเพิ่มสัดส่่วน การใช้ผลผลิต ภายในโรงเรียนให้มากขึ้นโดยมีการให้ความรู้แก่นักเรียน ให้เห็นถึงประโยชน์และความสำคัญ ของการเพิ่มผลผลิตภายในโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม
  • ทางโรงเรียนจัดทำเมนูอาหาร โดยใช้โปรแกรม Thai School Launch โดยมีการจัดทำเมนูอาหารหมุนเวียนรายเดือน ส่งผลให้ปริมาณอาหารที่จัดได้สัดส่วน ได้คุณภาพตามมาตรฐานทางโภชนาการ ทางโรงเรียนได้ปลูกพืชผักส่วนหนึ่งมาใช้เองภายในโรงเรียน โดยจะปลูกหมุนเวียนไปตามฤดูกาล ทั้งผักกินใบ ราก ดอก ผล เช่น ผักบุ้ง ผักกาดขาว กวางตุ้ง กะหล่ำปลี คะน้า ถั่วฝักยาวบวบ ฟัก แตงกวา ผักชี กะเพรา โหรพา ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด ใบยอ มะเขือ เป็นต้น

  • ผักผลไม้บางส่วนจะเลือกซื้อจากตลาดเพื่อให้เพียงพอกับความต้องการ

  • ภาพถ่ายกิจกรรม
  • บันทึกรายรับรายจ่ายของสหกรณ์
  • สอบถามจากคณะครู/นักเรียน
  • สมุดออมทรัพย์
  • ทางโรงเรียนจะดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดผลดีต่อนักเรียนจะดำเนินงานโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และควบคู่กับการจัดการอาหารกลางวันนักเรียนตามมาตรฐานโภชนาการ สุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย
  • จัดหางบประมาณเพิ่มเติม โดยจะระดมทรัพยากรจากทางภาครัฐ และเอกชนในการดำเนินงาน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม
  • ทางโรงเรียนจัดทำเมนูอาหาร โดยใช้โปรแกรม Thai School Launch โดยมีการจัดทำเมนูอาหารหมุนเวียนรายเดือน ส่งผลให้ปริมาณอาหารที่จัดได้สัดส่วน ได้คุณภาพตามมาตรฐานทางโภชนาการ ทางโรงเรียนได้ปลูกพืชผักส่วนหนึ่งมาใช้เองภายในโรงเรียน โดยจะปลูกหมุนเวียนไปตามฤดูกาล ทั้งผักกินใบ ราก ดอก ผล เช่น ผักบุ้ง ผักกาดขาว กวางตุ้ง กะหล่ำปลี คะน้า ถั่วฝักยาวบวบ ฟัก แตงกวา ผักชี กะเพรา โหรพา ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด ใบยอ มะเขือ เป็นต้น

  • ผักผลไม้บางส่วนจะเลือกซื้อจากตลาดเพื่อให้เพียงพอกับความต้องการ

  • ภาพถ่ายกิจกรรม
  • บันทึกรายรับรายจ่ายของสหกรณ์
  • สอบถามจากคณะครู/นักเรียน
  • สมุดออมทรัพย์
  • ทางโรงเรียนจะดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดผลดีต่อนักเรียนจะดำเนินงานโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และควบคู่กับการจัดการอาหารกลางวันนักเรียนตามมาตรฐานโภชนาการ สุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย
  • จัดหางบประมาณเพิ่มเติม โดยจะระดมทรัพยากรจากทางภาครัฐ และเอกชนในการดำเนินงาน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน
  • ผักบางส่วนได้มาจากชุมชน โดยผู้ปกครองและนักเรียน โดยนำพืชผักและผลไม้มาขายในสหกรณ์ เช่น ฟักเขียว ฟักทอง ถั่วฝักยาว ฝรั่ง มะม่วง มะละกอสุก กล้วยน้ำว้า มัมเทศ โรงเรียนจะจัดกิจกรรมให้นักเรียนและบุคลากรภายนอกนำผลิตภัณฑ์อาหารที่มีในท้องถื่นมาจำหน่าย ในสหกรณ์โรงเรียนสัปดาห์ละ 1 ครั้ง โดยจัดกิจกรรมทุกวันจันทร์ รายได้ส่วนหนึ่ง เด็กๆ จะนำไปฝากธนาคาร
  • ภาพถ่ายกิจกรรม
  • บันทึกรายรับรายจ่ายของสหกรณ์
  • สอบถามจากคณะครู/นักเรียน
  • สมุดออมทรัพย์
  • ทางโรงเรียนจะดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดผลดีต่อนักเรียนจะดำเนินงานโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และควบคู่กับการจัดการอาหารกลางวันนักเรียนตามมาตรฐานโภชนาการ สุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย
  • จัดหางบประมาณเพิ่มเติม โดยจะระดมทรัพยากรจากทางภาครัฐ และเอกชนในการดำเนินงาน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

โรงเรียนบ้านสะเดา ใช้โปรแกรม tsl ในการจัดการอาหารกลางวันทุกวัน และ มีการหมุนวียนเมนูทำเป็นรายเดือน เพือให้เด็ก ได้รับคุณค่าสารอาหารครบ 5 หมู่

สามารถตรวจสอบ ทางเวบไซดฺ tslและทางโรงเรียนได้จัดทำแฟ้มอาหารกลางวันจากระบบ tsl เป็นรายเดือน

ปรุบปรุง เมนูู ให้มีความสอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตร ปศุสัคว์ ของโรงเรียน ให้มากที่สุด และมีประโยชน์กับนักเรียนสูงสุด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการชั่ง น้ำหนักส่วนสูง ปีการศึกษาละ 4 ครั้งโดยแบ่งเป็นเทอมละ 2 ครั้ง

แฟ้ม ภาวะโภชนาการนักเรียนโรงเรียนบ้านสะเดา

นำข้อมูลที่ได้ นำมาปรับปรุงแก้ไข เพื่อภาวะโภชนาการที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านสะเดา

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/2
เตี้ย 2.84 2.84% 6.53 6.53% 1.51 1.51% 1.52 1.52% 2.53 2.53% 5.45 5.45% 1.98 1.98% 0.98 0.98% 5.37 5.37%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 8.06 8.06% 8.54 8.54% 6.03 6.03% 5.56 5.56% 5.56 5.56% 10.40 10.40% 6.44 6.44% 4.88 4.88% 12.20 12.20%
ผอม 3.79 3.79% 13.57 13.57% 9.05 9.05% 9.09 9.09% 12.63 12.63% 10.89 10.89% 12.94 12.94% 10.29 10.29% 5.37 5.37%
ผอม+ค่อนข้างผอม 9.48 9.48% 28.14 28.14% 22.11 22.11% 24.24 24.24% 23.74 23.74% 21.78 21.78% 25.37 25.37% 21.08 21.08% 16.59 16.59%
อ้วน 0.00 0.00% 3.52 3.52% 3.52 3.52% 3.54 3.54% 4.04 4.04% 5.94 5.94% 6.47 6.47% 6.37 6.37% 7.32 7.32%
เริ่มอ้วน+อ้วน 9.95% 9.95% 9.05% 9.05% 8.04% 8.04% 8.59% 8.59% 8.08% 8.08% 11.88% 11.88% 9.45% 9.45% 10.29% 10.29% 12.68% 12.68%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

-โรงเรียนประเมินภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และสุขภาพด้วยนักเรียน โดยครูประจำชั้นและผู้นำนักเรียนคอยเป็นที่ปรึกษาและแนะนำ
- ออกกำลังกาย เป็นประจำ - โรงเรียนใช้ โปรแกรม tsl เป็นประจำอย่างต่อเนื่อง - ลดปริมาณอาหารให้แก่เด็กทีมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วย แต่ไม่ลดคุณค่าสารอาหารที่ได้รับ -ประเมินภาวะโภชนาการ (ดูความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น)

ข้อมูลการบันทึกจากโปรแกรมมหิดล

จัดทำเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง และมีการประเมินภาวะโภชนาการอย่างเป็นปัจจุบัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

-โรงเรียนประเมินภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และสุขภาพด้วยนักเรียน โดยครูประจำชั้นและผู้นำนักเรียนคอยเป็นที่ปรึกษาและแนะนำ
- ออกกำลังกาย เป็นประจำ - โรงเรียนใช้ โปรแกรม tsl เป็นประจำอย่างต่อเนื่อง - เพิ่มปริมาณอาหารให้แก่เด็กทีมีภาวะค่อนข้างผอมและผอม -ประเมินภาวะโภชนาการ (ดูความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น)

ข้อมูลการบันทึกจากโปรแกรมมหิดล

จัดทำเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง และมีการประเมินภาวะโภชนาการอย่างเป็นปัจจุบัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

-โรงเรียนประเมินภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และสุขภาพด้วยนักเรียน โดยครูประจำชั้นและผู้นำนักเรียนคอยเป็นที่ปรึกษาและแนะนำ
- ออกกำลังกาย เป็นประจำ - โรงเรียนใช้ โปรแกรม tsl เป็นประจำอย่างต่อเนื่อง - เพิ่มปริมาณอาหารให้แก่เด็กทีมีภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย -ประเมินภาวะโภชนาการ (ดูความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น)

ข้อมูลการบันทึกจากโปรแกรมมหิดล

จัดทำเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง และมีการประเมินภาวะโภชนาการอย่างเป็นปัจจุบัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

โรงเรียนมีการคัดกรองนักเรียนอ้วน เตี้ย ผอม และจัดอาหารนมเสริมให้กับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการเป็นรายบุคคล มีการจัดพื้นที่สำหรับจำกัดอาหารบางประเภทสำหรับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการมีการอบรมให้ความรู้ถึงโรคที่จะเกิดขึ้นหากมีการผอม หรือ อ้วนมากเกินไป ส่งเสริม การออกกำลังกายภายในโรงเรียน

บันทึกการตรวจสุขภาพ ภาพกิจกรรม

จัดการให้มีการเข้มงวดมากยิ่งขึ้น เพื่อโภชนาการที่ดีสำหรับนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

จัดประชุมชี้แจงให้ผู้ปกครองรับทราบ กับการไม่ส่งเสริมให้นักเรียนรับประทานอาหารที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายบอกประโยชน์ที่เกิดกับนักเรียน จึงเกิดการขับเคลื่อนร่วมกันระหว่างชุมชน กับโรงเรียน

ภาพกิจกรรม แบบบันทึกการประชุม

มีการร่วมกันแก้ไขอย่างต่อเเนื่อง ระหว่างชุมชน และโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

โรงพยาบาลวังทอง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลหนองพระ ได้เข้ามาให้ความรู้และตรวจสุขภาพให้กับนักเรียนร่วมกับแกนนำนักเรียน และทีมงาน อย.น้อยของโรงเรียน ได้ให้คำแนะนำกับโรงเรียนในเครือข่ายในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh