ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนวัดนากลาง

รหัสโครงการ ศรร.1112-029 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.29 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

การเลี้ยงกบโดยใช้อาหารสวรรค์

1.โดยปกติแล้วจะให้อาหารเม็ดกบวันละ 2 มื้อ คือเช้าและเย็น 2.ทางโรงเรียนได้ปรับเปลี่ยนการให้อาหารจากอาหารเม็ด 2 มื้อเหลือเพียง 1 มื้อ ส่วนมือเย็นจะให้เป็นอาหารบด 3.อาหารบดนำมาจากอาหารที่เหลือของนักเรียนในแต่ละวันนำมาตากแห้ง 2-3 แดด 4.นำอาหารจากที่ตากไว้แล้วนำมาบดหรือตำพอแหลกแล้วนำไปให้อาหารกบแทนอาหารเม็ด 5.ปริมาณอาหารที่บดเท่ากับอาหารเม็ดที่ให้ในแต่ละมื้อ 6.ผลปรากฏว่า กบมีการเจริญเติบโตได้ดีเทียบเท่ากับการให้อาหารเม็ด ส่งผลให้ลดต้นทุนในการซื้ออาหารเม็ดได้มาก

1.จัดประชุมวางแผน 2.ขอคำแนะนำจากเกษตรอำเภอ 3.ลงมือปฏิบัตินักเรียนในเครือข่าย 4.นำปัญหาที่พบมาหาแนวทางในการแก้ไขโดยหาความรู่้พิ่มเติมหรือถามจากผู้รู้

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

เกษตรอำเภอ อบต.นากลาง ชุมชนผู้ปกครอง เห็นความสำคัญการเรียนรู้โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลดต้นทุนการผลิตซึ่งจะส่งผลให้การนำไปประกอบอาชีพภายภาคหน้าได้

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

  1. พื้นที่บริเวณโรงเรียน(บ่อเลี้ยง)
  2. เศษอาหารที่มีเหลือในทุกๆวันได้ถูกจัดการอย่างมีคุณภาพ
  3. กระตุ้นให้นักเรียนนำของเหลือใช้มาสร้างคุณค่า

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

  1. การเห็นความสำคัญของผู้นำในระดับต่าง
  2. ผู้รับผิดชอบได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ทั้งผลดีและผลเสียที่เกิดจากการปฏิบัติ

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

  1. จัดอบรมให้ความรู้ความเข้าใจให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
  2. ลงมือปฏิบัติจริง
  3. นำปัญหาที่เกิดขึ้นมาหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

1.จัดอบรมให้ความรู้ความเข้าใจให้กับผู้ปกครอง 2.ผู้ปกครองนำความรู้ที่ได้จากการอบรมและความรู้เดิมนำมาประยุกต์เข้าด้วยกัน 3.นำปัญหาที่เกิดขึ้นมาหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

นำผลผลิตที่ได้จากการปลูกในแปลงเกษตรมาจัดทำอาหารกลางวันได้สำหรับบางวัน

แปลงเกษตรโรงเรียน

สร้างเครือข่ายผู้ปกครองในการรับซื้อผักเพื่อให้เพียงพอในการทำอาหารกลางวัน และขยายแปลงเกษตรของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

โรงเรียนจัดกิจกรรมการเลี้ยงไก่ไข่เพื่อนำไข่ไก่มาประกอบอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน

โรงเลี้ยงไก่

ต่อขยายโรงเลี้ยงไก่และซื้อไก่มาเพิ่มจำนวน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

โรงเรียนจัดกิจกรรมการเลี้ยงปลาและกบเพื่อปลาและกบมาประกอบอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน

บ่อเลี้ยงปลา และกะชังเลี้ยงกบ

ต่อขยายกะชังเลี้ยงกบมาเพิ่มจำนวน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

ได้รับผลไม้ 3 ครั้งต่อสัปดาห์และผักรับประทานทุกวัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ได้รับผลไม้ 3 ครั้งต่อสัปดาห์และผักรับประทานทุกวัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ได้รับผลไม้ 3 ครั้งต่อสัปดาห์และผักรับประทานทุกวัน

 

ของบสนับสนุนสำหรับนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

รับซื้อผักและผลไม้ปลอดสารพิษจากชุมชนผู้ปกครองแกนนำโดยสร้างขอตกลงผักและผลไม้ปลอดสารเคมีทุกชนิด

 

สร้างเครือข่ายผู้ปกครองเพิ่มพร้อมทั้งให้ความรู้เรื่องผลกระทบต่อสารเคมีที่มีอยู่ในผักผลไม้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

จัดทำเมนูอาหารสำหรับเด็กทุกสัปดาห์โดยร่วมมือกับเจ้าหน้าที่อาหารกลางวันและคนจัดซื้อ

 

ขยายผลในการใช้โปรแกรมให้กับครูในทุกระดับชั้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการชั่งนำ้หนักส่วนสูงของเด็กในแต่ละชั้นโดยมีครูประจำชั้นเป็นผู้รับผิดชอบ

 

ประสานกับเจ้าหน้าที่อนามัยหรือ สอบต.เพื่อแก้ปัญหาเด็กอ้วนโดยมีการลงทะเบียนติดตามผล

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/2
เตี้ย 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 2.20 2.20% 2.20 2.20% 2.20 2.20% 2.20 2.20% 1.81 1.81% 3.60 3.60% 3.15 3.15% 2.25 2.25%
ผอม 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 1.80 1.80% 0.45 0.45% 0.00 0.00% 0.00 0.00%
ผอม+ค่อนข้างผอม 3.08 3.08% 3.08 3.08% 3.08 3.08% 2.20 2.20% 3.60 3.60% 3.15 3.15% 2.70 2.70% 2.70 2.70%
อ้วน 2.64 2.64% 2.64 2.64% 2.64 2.64% 2.64 2.64% 2.25 2.25% 1.80 1.80% 2.25 2.25% 2.25 2.25%
เริ่มอ้วน+อ้วน 5.29% 5.29% 5.29% 5.29% 5.29% 5.29% 5.29% 5.29% 4.50% 4.50% 4.50% 4.50% 4.50% 4.50% 4.50% 4.50%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

1.จัดอาหารที่มีคุณค่าทางสารอาหารครบถ้วนให้กับเด็กนักเรียนทุกคน 2.ประสานงานกับผู้ปกครองของนักเรียนในการรับประทานอาหารเมื่ออยู่ที่บ้าน 3.ให้ความรู้เรื่องอาหารยอดฮิตแต่ให้โทษกับร่างกายเช่นน้ำอัดลมและขนมก็อปแก็ป 4.จัดกิจกรรมหน้าเสาธงในการบริหารกายยามเช้าทุกวันรวมทั้งส่งเสริมการเล่นกีฬาตามศักยภาพของนักเรียน

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ความรู้กับนักเรียนและมีการจัดตั้งชุมนุน อย. น้อย

1.ให้ความรู้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับโทษของอาหาร 2.เพิ่มความเข้มแข็งของ อย.น้อยโดยจัดการอบรมและให้ความสำคัญในการทำหน้าที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

1.จัดอาหารที่มีคุณค่าทางสารอาหารครบถ้วนให้กับเด็กนักเรียนทุกคน 2.ประสานงานกับผู้ปกครองของนักเรียนในการรับประทานอาหารเมื่ออยู่ที่บ้าน 3.ให้ความรู้เรื่องอาหารยอดฮิตแต่ให้โทษกับร่างกายเช่นน้ำอัดลมและขนมก็อปแก็ป 4.จัดกิจกรรมหน้าเสาธงในการบริหารกายยามเช้าทุกวันรวมทั้งส่งเสริมการเล่นกีฬาตามศักยภาพของนักเรียน

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ความรู้กับนักเรียนและมีการจัดตั้งชุมนุน อย. น้อย

1.ให้ความรู้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับโทษของอาหาร 2.เพิ่มความเข้มแข็งของ อย.น้อยโดยจัดการอบรมและให้ความสำคัญในการทำหน้าที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

1.จัดอาหารที่มีคุณค่าทางสารอาหารครบถ้วนให้กับเด็กนักเรียนทุกคน 2.ประสานงานกับผู้ปกครองของนักเรียนในการรับประทานอาหารเมื่ออยู่ที่บ้าน 3.ให้ความรู้เรื่องอาหารยอดฮิตแต่ให้โทษกับร่างกายเช่นน้ำอัดลมและขนมก็อปแก็ป 4.จัดกิจกรรมหน้าเสาธงในการบริหารกายยามเช้าทุกวันรวมทั้งส่งเสริมการเล่นกีฬาตามศักยภาพของนักเรียน

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ความรู้กับนักเรียนและมีการจัดตั้งชุมนุน อย. น้อย

1.ให้ความรู้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับโทษของอาหาร 2.เพิ่มความเข้มแข็งของ อย.น้อยโดยจัดการอบรมและให้ความสำคัญในการทำหน้าที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

จัดกิจกรรมร่วมกับ สอบต. ในการดูแลเด็กอ้วนเป็นพิเศษโดยมีการให้ความรู้กับผู้ปกครองในการควบคุมอาหารให้กับนักเรียนกลุ่มนี้เป็นพิเศษ

 

1.ให้ความรู้กับผู้ปกครองในการดูแลการรับประทานอาหารให้กับนักเรียนในเวลาที่นักเรียนอยู่ที่บ้าน 2.ให้ความสำคัญกับการออกกำลังกายทุกรูปแบบ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ผู้ปกครองของเด็กอ้วนจะได้เข้ารับการอบรมจาก สอบต.พร้อมกับนักเรียน

 

กระตุ้นให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัญในการดูแลนักเรียนเรื่องการรับประทานอาหารเมื่ออยู่ที่บ้านโดยหลีกเลี่ยงจากอาหารขยะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

เกษตรอำเภอ อบต.นากลาง ชุมชนผู้ปกครอง เห็นความสำคัญการเรียนรู้โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลดต้นทุนการผลิตซึ่งจะส่งผลให้การนำไปประกอบอาชีพภายภาคหน้าได้

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh