ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล)

รหัสโครงการ ศรร.1111-018 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.18 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน
  • ผักกางมุ้ง
  • การนำอาหารกลางวันที่เหลือมาเลี้ยงปลาดุก
  • ประชุมครูนักเรียน เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพและภาคีเครือข่าย -จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการปลูกผักเลี้ยงปลาเพาะเห็ดปลูกผัก เลี้ยงปลาและเพาะเห็ด-บันทึกการเจริญเติบโต
  • เลี้ยงปลาดุกและปลูกผักปลอดสารพิษ เพาะเห็ดนางฟ้าในปีการศึกษาต่อไป
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

-

มีการสมัครสมาชิก-อบรมให้ความรู้-ดำเนินงานตามแผน

รับสมัครสมาชิกใหม่ในปีการศึกษาต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

-มีการจัดทำเมนูอาหารประจำวันตามเมนูThai school lunch -ป้ายอาหารและสารอาหารเพื่อสุขภาพ -การบริโภคผักปลอดสารพิษ -อาหารกลางวันนักเรียนลดหวานมันเค็ม - การประยุกต์อาหารพื้นบ้านกับเมนู Thai School Lunch

มีการอบรมแม่ครัวครูและนักเรียนแกนนำ-จัดทำเมนูอาหารสุขภาพ-จัดทำป้ายอาหารสุขภาพ-ประเมินภาวะโภชนาการนักเรียน

พัฒนารายการอาหารและประกอบอาหารที่มีคุณภาพตามเมนูThai school lunchและตามเกณฑ์ของสำนักงานสร้างเสริมสุขภาพในปีการศึกษาต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน
  • การบูรณาการกิจกรรม BBL กับการออกกำลังกาย
  • แผนการตรวจสุขภาพและระยะเวลาการตรวจสุขภาพและการให้การฉีดวัคซีน
  • มีการบันทึกการตรวจสุขภาพและสมรรถภาพนักเรียน

วางแผนการตรวจสุขภาพประจำปีและการฉีดวัคซีนกับเจ้าหน้าที่ก่อนเปิดภาคเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

การอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนำ

อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนำอบรมแม่ครัวด้านโภชนาการ

วางแผนดำเนินการต่อในปีการศึกษาและดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

-การปรับภูมิทัศน์ในโรงเรียน

ประชุมวางแผนเพื่อเตรียมงบประมาณวัสดุอุปกรณ์ระยะเวลาในการทำงานการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม

วางแผนดำเนินการพัฒนาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะในปีการศึกษาต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

การพัฒนาศักยภาพครู แม่ครัว นักเรียนให้มีความรู้และทักษะในการจัดการอาหารและโภชนาการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพอาหารปลอดภันในโรงเรียน

อบรมเพื่อพัฒนาครูแม่ครัวและนักเรียนด้านโภชนาการ

วางแผนดำเนินการพัฒนาด้านการจัดบริการสุขภาพนักเรียนในปีการศึกษาต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

การอบรมนักเรียน และพัฒนาด้านการจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพ

การเดินรณรงค์การจัดการแปลงผักเพื่อการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ในแต่ละระดับชั้น

ต่อยอดการดำเนินกิจกรรมในปีการศึกษาต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  1. โรงพยาบาลงาว
    -เป็นที่ปรึกษา/พี่เลี้ยง -ร่วมนิเทศ ติดตาม และประเมินผล -สนับสนุนทรัพยากรตามความเหมาะสม
  2. เทศบาลตำบลหลวงเหนือ -ร่วมเป็นคณะกรรมการการดำเนินงาน -ร่วมนิเทศ ติดตาม และประเมินผล -สนับสนุนทรัพยากรตามความเหมาะสม
  3. อ.ส.ม.ประจำตำบล
    -สนับสนุนการเฝ้าระวัง/ส่งเสริม ป้องกันโรคติดต่อ -ร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินผลการด าเนินการ
  4. ชุมชน/ผู้ปกครอง
    -ร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินผลดำเนินการ ทางโรงเรียนมีการสร้างภาคีเครือข่ายต่อภาครัฐหรือเอกชนที่มีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงานของโรงเรียน ตระหนักถึงความสำคัญของการจัดการศึกษา โดยเน้นการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับต่างๆ ตามแนวคิดพื้นฐานการพัฒนาแบบเครือข่ายมีส่วนร่วม มีเป้าหมายร่วมกันชัดเจน มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันมีนวัตกรรมที่เกิดจากการทำงานเครือข่าย มีการการประสานงาน การจัดระเบียบวิธีการทำงาน เพื่อให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างๆ ร่วมมือปฏิบัติงานเป็น น้ำหนึ่งใจเดียวกัน เพื่อให้งานหรือกิจกรรมดำเนินไปอย่างราบรื่นสอดคล้องกับวัตถุประสงค์

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล) มีห้องเรียน ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ห้องธุรการ ห้องสมุด ห้องดนตรี ห้องห้องน้ำ ห้องประชุม โรงอาหาร สะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามมีความมั่นคงแข็งแรง และปลอดภัย มีสิ่งอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้พอเพียงกับจำนวนผู้เรียนและอยู่ในสภาพใช้การได้ดีมีสภาพแวดล้อมสวยงามร่มรื่น และมีแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาที่เอื้อต่อการเรียนรู้ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และมีการจัดการแหล่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประสานสัมพันธ์กับชุมชนให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อการเป็นอยู่อย่างพอเพียง มีการพัฒนา ปรับปรุง ดูแล รักษา อาคารสถานที่และจัดการสภาพแวดล้อมสำหรับการเรียนรู้อย่างเหมาะสมมีแผนงาน/โครงการ งบประมาณผู้รับผิดชอบในการใช้อาคารสถานที่มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ครู นักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่ ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ และชุมชนหน่วยงานอื่นได้ใช้ประโยชน์ และมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนการดูแลรักษา และพัฒนาอาคารสถานที่ สภาพแวดล้อมของสถานศึกษาอย่างสม่ำเสมอ โรงเรียนมีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้มีสื่อประกอบการเรียนรู้ ที่สามารถสื่อความหมายได้ถูกต้อง มีแผนการจัดการเรียนรู้มีกิจกรรมการเกษตรในโรงเรียน ได้แก่การเลี้ยงปลาการทำปุ๋ยหมัก-ปุ๋ยชีวภาพการเพาะเห็ดนางฟ้าการทำน้ำหมักชีวภาพ การปลูกผักสวนครัวอย่างหลากหลาย โรงเรียนมีการเชิญวิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชน มาให้ความรู้และจัดสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการริเริ่มในการเรียนรู้และสำรวจสิ่งต่างๆ ด้วยความสะดวกและเหมาะสม ส่งเสริมการเรียนรู้ในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างต่อเนื่อง

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล) เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 94 คน ส่วนใหญ่เป็นนักเรียนยากจน ฐานะทางบ้านไม่ค่อยดี เด็กนักเรียนส่วนใหญ่จะปัญหาครอบครัว เช่นครอบครัวหย่าร้าง พ่อแม่ไม่ได้อยู่ด้วย พ่อ แม่เสีย ต้องอาศัยอยู่กับปู่ ย่า ตา ยาย และนักเรียนบางคนอยู่พื้นที่ห่างไกลจากโรงเรียนและมีหลากหลายชนเผ่า และหลากหลายพื้นที่อยู่รวมกัน การดูแลในทุกๆเรื่องจึงเป็นความรับผิดชอบโดยตรงของคณะครูและ ผู้บริหารที่ต้องมีความรู้ความสามารถในการดูแลเด็กนักนักเรียนดังกล่าวให้มีสุขภาพกายและใจให้สมบูรณ์ อาหารก็เป็นส่วนสำคัญในการเป็นต้นทุนเพื่อให้เกิดการพัฒนาทั้งทางร่างกายให้มีความอุดมสมบูรณ์ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและจิตใจที่เข้มแข็งและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้ กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนที่สำคัญ คือ คณะครู เนื่องจากคณะครูส่วนใหญ่มีประสบการณ์การสอนหลายปี ซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนการทำงานทำให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอยู่ในระดับดี

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

  1. ครู
    • เรียนรู้เรื่องการทำผักกางมุ้ง
    • เรียนรู้เรื่องการทำโปรแกรม Thai School Lunch
  2. แม่ครัว
    • เรียนรู้เรื่องการดัดแปลงเมูนูท้องถิ่นกับเมนู Thai School Lunch
  3. นักเรียน
    • เรียนรู้เรื่องการทำเกษตรทฤษฎีใหม่
    • เรียนรู้เรื่องการเลี้ยงสัตว์
    • เรียนรู้เรื่องการทำปุ๋ยหมักและปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้เรียนหลากหลายด้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

โรงเรียนมีการปลูกผัก หลายชนิด เช่น ผักกาด ผักบุ้ง ผักชี บล็อคเคอรี่ถั่วงอกคะน้า มะเขือ บวบ พริก ถั่วลันเตา เป็นต้น ซึ่งส่งต่อเข้าสู่โครงการอาหารกลางวันและจำหน่ายด้วย และมีปริมาณที่เพียงพอ

ผลผลิตทางการเกษตรทีส่งให้แก่แม่ครัวให้กับ บัญชี รายรับ รายจ่าย ภาพรวมของการทำแปลงเกษตรในโรงเรียน

โรงเรียนจะปลูกผักหลากหลายชนิดเพื่อให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้ด้านการเกษตรมากขึ้น และ เพาะเห็ดนางฟ้าต่อเนื่อง เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้สู่การปฎิบัติจริง มีทักษะชีวิตและสามารถนำความรู้ไปใช้ในอนาคตได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

มีการเลี้ยงปลาดุก ในบ่อเลี้ยงปลา

ภาพประกอบการทำกิจกรรม โครงการเลี้ยงปลาดุก
ส่งต่อโครงการอาหารกลางวัน

โรงเรียนจะเลี้ยงปลาดุกเพื่อเป็นอาหารโปรตีน ในอนาคตจะเลี้ยงปลาในจำนวนที่มากขึ้น เพื่อจะได้มีจำนวนเพียงพอและจำหน่ายให้กับชุมชนเป็นรายได้อีกส่วนหนึ่งต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

มีอาหารเช้า อาหารว่างสำหรับเด็กนักเรียนบางคน

บันทึกการรรับประทานอาหาร(อาหารว่าง)

ปัจจุบันโรงเรียนมีงบประมาณด้านอาหารเช้าไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียนในอนาคตทางโรงเรียนจะจัดหาทุนเพื่อจัดซื้อ จัดหาให้เพียงพอต่อจำนวนเด็ก

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

เด็กนักเรียนอนุบาลได้รับประทานผักและผลไม้ในปริมาณที่เพียงพอในแต่ละวัน

เมนูอาหารจากโปรแกรม Thai School Louch

อยากให้นักเรียนอนุบาลได้รับประทานผักมากขึ้น เพราะมีบางคนจะเลือกรับประทานผักบางชนิด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

เด็กนักเรียนประถมได้รับประทานผักและผลไม้ในปริมาณที่เพียงพอในแต่ละวัน

เมนูอาหารจากโปรแกรม Thai School Louch

อยากให้นักเรียนประถมได้รับประทานผักมากขึ้น เพราะมีบางคนจะเลือกรับประทานผักบางชนิด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายที่เชื่อมโยงกับแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

กิจกรรมต่างๆที่ทำร่วมกับชุมชน เช่น โครงการอบรมส่งเสริมสุขภาพ การศึกษาแหล่งเรียนรู้ชุมชนนอกสถานศึกษา

ในอนาคตโรงเรียนจะจัดให้มีตลาดนัดชุมชนร่วมกับโรงเรียนในการขายผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษและมีราคาถูก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

โรงเรียนมีการจัดเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch

มีป้ายการจัดเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทุกเดือนโดยระบุสารอาหารในแต่ละเมนูที่ชัดเจน

อยากให้โปรแกรม Thai School Lunch มีเมนูอาหารที่หลากหลายมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

โรงเรียนมีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง คือ ต้นเทอมกับปลายเทอม เพื่อนำข้อมูลมาเปรียบเทียบกัน

ข้อมูลออนไลน์ที่กรอกในระบบ

จัดให้ความรู้นักเรียนในการดูแลสุขภาพที่ลดภาวะเสียงในด้านต่าง ๆ ด้านภาวะโภชนาการ

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/1
เตี้ย 9.33 9.33% 4.44 4.44% 7.69 7.69% 5.49 5.49% 7.69 7.69% 9.38 9.38% 8.33 8.33% 8.42 8.42% 9.47 9.47% 3.49 3.49% 2.33 2.33% 2.33 2.33%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 17.33 17.33% 7.78 7.78% 10.99 10.99% 14.29 14.29% 13.19 13.19% 11.46 11.46% 11.46 11.46% 10.53 10.53% 12.63 12.63% 9.30 9.30% 5.81 5.81% 4.65 4.65%
ผอม 5.33 5.33% 5.56 5.56% 10.99 10.99% 2.20 2.20% 2.20 2.20% 8.33 8.33% 7.29 7.29% 2.08 2.08% 1.05 1.05% 3.49 3.49% 1.16 1.16% 1.16 1.16%
ผอม+ค่อนข้างผอม 12.00 12.00% 15.56 15.56% 17.58 17.58% 9.89 9.89% 6.59 6.59% 13.54 13.54% 10.42 10.42% 7.29 7.29% 2.11 2.11% 10.47 10.47% 10.47 10.47% 9.30 9.30%
อ้วน 4.00 4.00% 4.44 4.44% 5.49 5.49% 3.30 3.30% 3.30 3.30% 5.21 5.21% 6.25 6.25% 5.21 5.21% 7.37 7.37% 5.81 5.81% 3.49 3.49% 5.81 5.81%
เริ่มอ้วน+อ้วน 5.33% 5.33% 7.78% 7.78% 7.69% 7.69% 6.59% 6.59% 6.59% 6.59% 8.33% 8.33% 10.42% 10.42% 9.38% 9.38% 12.63% 12.63% 10.47% 10.47% 9.30% 9.30% 9.30% 9.30%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง
  • ปี 2558 มีภาวะเริ่มอ้วนเพิ่มขึ้นเนื่องจากยังหาแนวทางที่ใช้ในกลุ่มเด็กอ้วนไม่ได้
  • ปี 2559 มีภาวะเริ่มอ้วนลดลง เนื่องจากได้หานวัตกรรมใหม่ ๆ ให้กับกลุ่มเด็กอ้วน
  • กราฟข้อมูลภาวะโภชนาการ
  • หาวิธีการแก้ไขปัญหาร่วมกับภาคีเครือข่าย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

โรงเรียนมีการเฝ้าระวัง และมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการเป็นรายบุคคล

แบบบันทึก ภาพถ่ายกิจกรรม บันทึการประเมินด้านสุขภาพ

มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็กเป็นรายบุคคลอย่างต่อเนื่องต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ผู้ปกครองให้ความสำคัญกับเรื่องสุขภาพของนักเรียนเป็นอย่างมาก ได้แก่ ควบคุมเรื่องอาหารและการออกกำลังกาย

  • แบบติดตามภาวะโภชานาการของผู้ปกครอง
  • รูปภาพประกอบ

ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ปกครองและนักเรียนร่วมกันแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  1. โรงพยาบาลงาว
    -เป็นที่ปรึกษา/พี่เลี้ยง -ร่วมนิเทศ ติดตาม และประเมินผล -สนับสนุนทรัพยากรตามความเหมาะสม
  2. เทศบาลตำบลหลวงเหนือ -ร่วมเป็นคณะกรรมการการดำเนินงาน -ร่วมนิเทศ ติดตาม และประเมินผล -สนับสนุนทรัพยากรตามความเหมาะสม
  3. อ.ส.ม.ประจำตำบล
    -สนับสนุนการเฝ้าระวัง/ส่งเสริม ป้องกันโรคติดต่อ -ร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินผลการด าเนินการ
  4. ชุมชน/ผู้ปกครอง
    -ร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินผลดำเนินการ ทางโรงเรียนมีการสร้างภาคีเครือข่ายต่อภาครัฐหรือเอกชนที่มีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงานของโรงเรียน ตระหนักถึงความสำคัญของการจัดการศึกษา โดยเน้นการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับต่างๆ ตามแนวคิดพื้นฐานการพัฒนาแบบเครือข่ายมีส่วนร่วม มีเป้าหมายร่วมกันชัดเจน มีระบบบริหารจัดการที่ดี มีกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันมีนวัตกรรมที่เกิดจากการทำงานเครือข่าย มีการการประสานงาน การจัดระเบียบวิธีการทำงาน เพื่อให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างๆ ร่วมมือปฏิบัติงานเป็น น้ำหนึ่งใจเดียวกัน เพื่อให้งานหรือกิจกรรมดำเนินไปอย่างราบรื่นสอดคล้องกับวัตถุประสงค์

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh