ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนสันโป่งวิทยา


“ โรงเรียนสันโป่งวิทยา ”

144 หมู่ 3 ตำบลเสริมกลาง อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง

หัวหน้าโครงการ
นายดล ก้อนแหวน

ชื่อโครงการ โรงเรียนสันโป่งวิทยา

ที่อยู่ 144 หมู่ 3 ตำบลเสริมกลาง อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง จังหวัด ลำปาง

รหัสโครงการ ศรร.1111-015 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.15

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนสันโป่งวิทยา จังหวัดลำปาง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 144 หมู่ 3 ตำบลเสริมกลาง อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนสันโป่งวิทยา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนสันโป่งวิทยา



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนสันโป่งวิทยา " ดำเนินการในพื้นที่ 144 หมู่ 3 ตำบลเสริมกลาง อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง รหัสโครงการ ศรร.1111-015 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนสันโป่งวิทยา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 156 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน สันโป่งวิทยา จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมการสร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการในโรงเรียน
  2. 2. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมในการบริโภคอาหารปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการของนักเรียน
  3. 3.เพื่อสร้างแกนนำนักเรียน และส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
  4. 4.เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน ผู้ปกครอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง
    2. โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
    3. พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนานักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยเสริมสร้างความอบอุ่นและความแข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
    4. ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ตลาดนัดเกษตรร่วมกับชุมชน

    วันที่ 17 พฤษภาคม 2016 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1  จัดทำรายการอาหารหมุนเวียนโดยใช้โปรแกรม Thai school lunch โดยเพิ่มผลไม้และอาหารว่าง
    2  กิจกรรมตลาดนัดทางการเกษตรร่วมกับชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1  นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย ใช้ผลผลิตที่ปลูกขึ้นเอง ปรุงสุกใหม่ๆและอาหารถูกหลักโภชนาการ 2  นักเรียนได้รับประทานอาหารครบ 5หมู่

     

    137 157

    2. จัดอบรมให้ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นร่วมกันสร้างแหล่งเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน

    วันที่ 30 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เชิญปราชญ์ชาวบ้านภูมิปัญญาท้องถิ่นร่วมกันสร้างแหล่งเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1  นักเรียนมีความรู้และทักษะในการเกษตร สามารถนำไปประกอบอาชีพได้ 2  นำไปขายให้สหกรณ์ และสหกรณ์ขายต่อให้โครงการอาหารกลางวัน เกิดรายได้แก่นักเรียน

     

    137 40

    3. สร้างกลยุทธ์ปลูกจิตสำนึกในการออม และศึกษาดูงานสหกรณ์นักเรียน

    วันที่ 7 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ศึกษาดูงานสหกรณ์นักเรียนที่มหาวิทยาลัยโยนก อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง  เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับกิจกรรมสหกรณ์ เป็นการสร้างกลยุทธิ์ปลูกจิตสำนึกในการออมด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1  นักเรียนมีความรู้และทักษะเกี่ยวกับสหกรณ์ 2  สร้างนิสัยในการออมให้นักเรียน

     

    157 157

    4. เบิกถอนบัญชี ศรร.เด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 24 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอนเงินในบัญชี คืนเงินโรงเรียน จำนวนเงิน 500 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนเงินทดลองจ่าย

     

    3 3

    5. จัดอบรมการพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียนโดยแกนนำนักเรียน

    วันที่ 14 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1  เชิญวิทยากรที่มีความรู้ด้านอนามัยและด้านโภชนาการ  2  จัดอบรมการพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียนโดยแกนนำนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความรู้ด้านอนามัยและด้านโภชนาการ  และมีสุขนิสัยและสุขอนามัยที่ดี

     

    137 139

    6. จัดทำรายการอาหารหมุนเวียนโดยใช้โปรแกรม Thai school lunch โดยเพิ่มผลไม้และอาหารว่าง

    วันที่ 8 พฤศจิกายน 2016 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      จัดทำรายการอาหารหมุนเวียนโดยใช้โปรแกรม Thai school lunch โดยเพิ่มผลไม้และอาหารว่าง 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      จัดทำรายการอาหารหมุนเวียนโดยใช้โปรแกรม Thai school lunch โดยเพิ่มผลไม้และอาหารว่าง 

     

    137 137

    7. ให้ความรู้เสียงตามสาย และตอบคำถามโดยนักเรียนแกนนำป้องกันโรคเอดส์ ยาเสพติด และส่งเสริมสุขภาพจิต และ แกนนำนักเรียน อ.ย. น้อย เกี่ยวกับการจัดบริการสุขภาพในโรงเรียน

    วันที่ 14 พฤศจิกายน 2016 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ความรู้เสียงตามสาย และตอบคำถามโดยนักเรียนแกนนำป้องกันโรคเอดส์ ยาเสพติด และส่งเสริมสุขภาพจิต และ แกนนำนักเรียน อ.ย. น้อย เกี่ยวกับการจัดบริการสุขภาพในโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ให้ความรู้เสียงตามสาย และตอบคำถามโดยนักเรียนแกนนำป้องกันโรคเอดส์ ยาเสพติด และส่งเสริมสุขภาพจิต และ แกนนำนักเรียน อ.ย. น้อย เกี่ยวกับการจัดบริการสุขภาพในโรงเรียน

     

    137 137

    8. จัดกิจกรรมปลูกต้นไม้ ถวายเป็นพระราชกุศล” พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ทรงเสด็จสวรรคต โดยร่วมกับชุมชนผู้ปกครอง ในวันที่ 2 ธันวาคม 2559

    วันที่ 2 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมปลูกต้นไม้ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ทรงเสด็จสวรรคต โดยร่วมกับชุมชนผู้ปกครอง ในวันที่ 2 ธันวาคม 2559

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดกิจกรรมปลูกต้นไม้ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ทรงเสด็จสวรรคต โดยร่วมกับชุมชนผู้ปกครอง ในวันที่ 2 ธันวาคม 2559

     

    215 189

    9. สรุปการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เพื่อใช้ในการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของนักเรียน และแจกแผ่นพับใบความรู้เรื่องโภชนาการแก่ผู้ปกครอง

    วันที่ 15 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เพื่อใช้ในการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของนักเรียน และแจกแผ่นพับใบความรู้เรื่องโภชนาการแก่ผู้ปกครอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เพื่อใช้ในการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของนักเรียน และแจกแผ่นพับใบความรู้เรื่องโภชนาการแก่ผู้ปกครอง

     

    179 0

    10. จัดทำสื่อและนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย 2 กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ ประกวดวาดภาพอาหาร ธงโภชนาการ และอาหารตามโซนสี

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 จัดทำสื่อและนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย 2 กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ ประกวดวาดภาพอาหาร ธงโภชนาการ และอาหารตามโซนสี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1 จัดทำสื่อและนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย 2 กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ ประกวดวาดภาพอาหาร ธงโภชนาการ และอาหารตามโซนสี

     

    137 137

    11. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 30 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการจำนวน 56.07 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนเงินเพื่อปิดโครงการให้ สสส. จำนวน 56.07 บาท

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมการสร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 100 ได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการในโรงเรียน

    กิจกรรมทุกกิจกรรม 8 กิจกรรม

    2 2. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมในการบริโภคอาหารปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการของนักเรียน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 95 มีพฤติกรรมในการบริโภคอาหารปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการของนักเรียน

    กิจกรรมทุกกิจกรรม 8 กิจกรรม

    3 3.เพื่อสร้างแกนนำนักเรียน และส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
    ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 100 มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ

    กิจกรรมทุกกิจกรรม 8 กิจกรรม

    4 4.เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน ผู้ปกครอง
    ตัวชี้วัด : โรงเรียน ชุมชน และผู้ปกครองร้อยละ 100 มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกัน เช่น กิจกรรมวันแม่กิจกรรมวันพ่อกิจกรรมวันเด็ก การเดินรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกการท้องไม่พร้อมในวัยเรียนการป้องกันโรคเอดส์ และกิจกรรมต่างๆในโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

    กิจกรรมทุกกิจกรรม 8 กิจกรรม

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมการสร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการในโรงเรียน (2) 2. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมในการบริโภคอาหารปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการของนักเรียน (3) 3.เพื่อสร้างแกนนำนักเรียน และส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ (4) 4.เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน ผู้ปกครอง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนสันโป่งวิทยา

    รหัสโครงการ ศรร.1111-015 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.15 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    นำไข่ไก่มาแปรรูปอาหาร รวมถึงมะกรูดมาทำเป็นน้ำยาล้างจาน ล้างห้องน้ำ และดอกอันชัญมาทำเป็นเครื่องดื่ม

    นำผลผลิตทางเกษตรของโรงเรียนมาทำ

    คิดหาวิธีการแปรรูปอาหารให้หลากหลาย

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

    1 นักเรียนมีบัญชีออมทรัพย์ 2 นักเรียนเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน 3 นักเรียนนำผลผลิตทางการเกษตรไปขายในตลาดนัดการเกษตรโรงเรียน

    มีสหกรณ์นักเรียน มีสมาชิก สมาชิกมีหุ้น และดำเนินการโดยนักเรียนแกนนำ

    ขายอาหาร ผลไม้ ที่หลากหลายโดยมาจากผลผลิตทางเกษตรในโรงเรียนให้มากขึ้น

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

    1มีการจัดรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามโปรแกรม school lunch ที่ได้มาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน 2มีการปรุงประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย 3มีการจัดผลไม้ อาหารว่างให้นักเรียนสัปดาห์ละ 2 ครั้ง 5 นักเรียนแกนนำ อ.ย. น้อย มีการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจยาเป็นประจำ

    มีเมนูอาหารหมุนเวียนเดือนละ 1 ครั้ง โดยใช้โปรแกรม Thai school lunch

    นำผลผลิตทางเกษตรของโรงเรียนมาใช้เพิ่มชึ้น

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    มีนักเรียนแกนนำทั้ง อ.ย.น้อย และ แกนนำนักเรียนโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

    มีคำสั่งแต่งตั้งนักเรียนแกนนำทั้ง อ.ย.น้อย และ แกนนำนักเรียนโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ และมีแผนงานการปฏิบัติที่ชัดเจน

    ให้นักเรียนมีส่วนร่วมการทำกิจกรรมต่างๆเพิ่มมากขึ้น

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    1มีฐานข้อมูลน้ำหนักส่วนสูง สมรรถภาพทางกาย และภาวะสุขภาพของนักเรียนทุกคน 2 มีการแปลผลภาวะโภชนาการสมรรถภาพทางกาย และภาวะสุขภาพที่ถูกต้องตามเกณฑ์ 3 จัดกิจกรรมสำหรับนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

    • โรงเรียนสามารถติดตามและแก้ไขนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการได้ทันกาล
    • โรงเรียนเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างต่อเนื่อง

    -

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

    1จัดแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มเวรสีออกเป็น 4 สี และมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบในการทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน อาคารเรียน ห้องน้ำ โรงอาหารในช่วงเช้าก่อนเคารพธงชาติ 2นักเรียนแกนนำ อ.ย. น้อยมีการสำรวจลูกน้ำยุงลายเดือนละ 1 ครั้ง 3เดินรณรงค์ให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออก , การต่อต้านยาเสพติด , โรคเอดส์ ในวันสำคัญต่างๆ 4นักเรียนให้ความรู้แก่ชุมชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก แจกแผ่นพับ และทรายอะเบทให้แก่ชุมชน

    • นักเรียนได้พัฒนาทักษะในการจัดการดูแลสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ
    • นักเรียนได้พัฒนาลักษณะนิสัยของนักเรียนในการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและยั่งยืน

    ให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมมากขึ้น

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

    1จัดห้องพยาบาล 2มีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและมีการส่งต่อรพ.สต.ใกล้โรงเรียน

    • นักเรียนได้รับการช่วยเหลือแก้ไขการเจ็บป่วยในเบื้องต้นอย่างเหมาะสม อันเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายร้ายแรงจนถึงเสียชีวิตได้

    ให้นักเรียนแกนนำมีหน้าที่ช่วยครูอนามัยมากขึ้น

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

    1จัดกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ ประกวดวาดภาพอาหารธงโภชนาการ และ อาหารตามโซนสี 2จัดป้ายนิเทศให้ความรู้เรื่อง โภชนาการ และสุขภาพอนามัยตามที่ต่างๆในโรงเรียน เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียน 3มีการบูรณาการกับทุกสาระวิชาในเรื่องเกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย 4มีการประเมินความรู้และทักษะนักเรียนด้านเกษตร โภชนาการ และสุขภาพ 5ทำน้ำยาล้างห้องน้ำ ล้างจานสมุนไพรจากมะกรูดที่ปลูกเองในโรงเรียน

    • นักเรียนมีความรู้ ทักษะ ทัศนคติ และลักษณะนิสัยที่ดีในเรื่องของเกษตรยั่งยืน โภชนาการ และสุขภาพอนามัย

    พัฒนานวัตกรรมเพิ่มให้มากขึ้น

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    • การตรวจสุขภาพ การรักษาพยาบาล การติดตามเยี่ยมบ้าน ในรายที่มีปัญหา การส่งเสริมโภชนาการ การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค การแนะนำเกี่ยวกับสุขาภิบาลในโรงเรียน การอบรมเจ้าหน้าที่อนามัยโรงเรียนเพื่อให้การทำงานมี ประสิทธิภาพ
    • แหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียนเกี่ยวกับการทำขนม อาหารการ จักสานดนตรีพื้นเมืองการปลูกผัก และการทอผ้ากะเหรี่ยง

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะโรงเรียนสันโป่งมีกิจกรรมคือจัดแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มเวรสีออกเป็น 4 สี และมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบในการทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน อาคารเรียน ห้องน้ำ โรงอาหารในช่วงเช้าก่อนเคารพธงชาติ, นักเรียนแกนนำ อ.ย. น้อยมีการสำรวจลูกน้ำยุงลายเดือนละ 1 ครั้ง, เดินรณรงค์ให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออก , การต่อต้านยาเสพติด , โรคเอดส์ ในวันสำคัญต่างๆ และนักเรียนให้ความรู้แก่ชุมชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก แจกแผ่นพับ และทรายอะเบทให้แก่ชุมชน

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    1. เด็กเป็นผู้ลงมือทำเอง
    2. สถานศึกษาเป็นฐานของการพัฒนา
    3. การมีส่วนร่วมของชุมชน
    4. ความร่วมมือของหน่วยงานในการถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีให้โรงเรียน

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    • แหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียนเกี่ยวกับการทำขนม อาหารการ จักสานดนตรีพื้นเมืองการปลูกผัก และการทอผ้ากะเหรี่ยง

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    • แหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียนเกี่ยวกับการทำขนม อาหารการ จักสานดนตรีพื้นเมืองการปลูกผัก และการทอผ้ากะเหรี่ยง
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

    1ปลูกผักสวนครัว 2เพาะเห็ด 2 เลี้ยวหมู 3 เลี้ยงไก่ 4 เลี้ยงปลาดุก

    • นักเรียนมีความรู้และทักษะในการเกษตรสามารถนำไปประกอบอาชีพได้
    • นำไปขายให้กับโครงการอาหารกลางวัน และเกิดรายได้แก่นักเรียน

    คิดหาวิธีการแปรรูปอาหารให้หลากหลาย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

    1ปลูกผักสวนครัว 2เพาะเห็ด 2 เลี้ยวหมู 3 เลี้ยงไก่ 4 เลี้ยงปลาดุก

    • นักเรียนมีความรู้และทักษะในการเกษตรสามารถนำไปประกอบอาชีพได้
    • นำไปขายให้กับโครงการอาหารกลางวัน และเกิดรายได้แก่นักเรียน

    คิดหาวิธีการแปรรูปอาหารให้หลากหลาย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    1ปลูกผักสวนครัว 2เพาะเห็ด 2 เลี้ยวหมู 3 เลี้ยงไก่ 4 เลี้ยงปลาดุก

    • นักเรียนมีความรู้และทักษะในการเกษตรสามารถนำไปประกอบอาชีพได้
    • นำไปขายให้กับโครงการอาหารกลางวัน และเกิดรายได้แก่นักเรียน

    คิดหาวิธีการแปรรูปอาหารให้หลากหลาย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

     

     

     

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

    1มีการจัดรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามโปรแกรม school lunch ที่ได้มาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน 2มีการปรุงประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย 3มีการจัดผลไม้ อาหารว่างให้นักเรียนสัปดาห์ละ 2 ครั้ง 5 นักเรียนแกนนำ อ.ย. น้อย มีการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจยาเป็นประจำ

    • นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย ใช้ผลผลิตที่ปลูกขึ้นเอง ปรุงสุกใหม่ๆและอาหารถูกหลักโภชนาการ
    • นักเรียนได้รับประทานอาหารครบ 5 หมู่

    นำผลผลิตทางเกษตรของโรงเรียนมาใช้เพิ่มชึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    1มีการจัดรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามโปรแกรม school lunch ที่ได้มาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน 2มีการปรุงประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย 3มีการจัดผลไม้ อาหารว่างให้นักเรียนสัปดาห์ละ 2 ครั้ง 5 นักเรียนแกนนำ อ.ย. น้อย มีการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจยาเป็นประจำ

    • นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย ใช้ผลผลิตที่ปลูกขึ้นเอง ปรุงสุกใหม่ๆและอาหารถูกหลักโภชนาการ
    • นักเรียนได้รับประทานอาหารครบ 5 หมู่

    นำผลผลิตทางเกษตรของโรงเรียนมาใช้เพิ่มชึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    1มีการจัดรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามโปรแกรม school lunch ที่ได้มาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน 2มีการปรุงประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย 3มีการจัดผลไม้ อาหารว่างให้นักเรียนสัปดาห์ละ 2 ครั้ง 5 นักเรียนแกนนำ อ.ย. น้อย มีการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจยาเป็นประจำ

    • นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย ใช้ผลผลิตที่ปลูกขึ้นเอง ปรุงสุกใหม่ๆและอาหารถูกหลักโภชนาการ
    • นักเรียนได้รับประทานอาหารครบ 5 หมู่

    นำผลผลิตทางเกษตรของโรงเรียนมาใช้เพิ่มชึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

    1มีการจัดรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามโปรแกรม school lunch ที่ได้มาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน 2มีการปรุงประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย 3มีการจัดผลไม้ อาหารว่างให้นักเรียนสัปดาห์ละ 2 ครั้ง 5 นักเรียนแกนนำ อ.ย. น้อย มีการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจยาเป็นประจำ

    • นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย ใช้ผลผลิตที่ปลูกขึ้นเอง ปรุงสุกใหม่ๆและอาหารถูกหลักโภชนาการ
    • นักเรียนได้รับประทานอาหารครบ 5 หมู่

    นำผลผลิตทางเกษตรของโรงเรียนมาใช้เพิ่มชึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

     

    • นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย ใช้ผลผลิตที่ปลูกขึ้นเอง ปรุงสุกใหม่ๆและอาหารถูกหลักโภชนาการ
    • นักเรียนได้รับประทานอาหารครบ 5 หมู่

    นำผลผลิตทางเกษตรของโรงเรียนมาใช้เพิ่มชึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

    1มีฐานข้อมูลน้ำหนักส่วนสูง สมรรถภาพทางกาย และภาวะสุขภาพของนักเรียนทุกคน 2 มีการแปลผลภาวะโภชนาการสมรรถภาพทางกาย และภาวะสุขภาพที่ถูกต้องตามเกณฑ์ 3 จัดกิจกรรมสำหรับนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

    • โรงเรียนสามารถติดตามและแก้ไขนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการได้ทันกาล
    • โรงเรียนเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างต่อเนื่อง

    ให้นักเรียนแกนนำมีส่วนร่วมมากขึ้น

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 2/12562 2/2
    เตี้ย 1.75 1.75% 1.75 1.75% 1.74 1.74% 1.74 1.74% 3.33 3.33% 3.33 3.33% 2.44 2.44% 0.83 0.83% 1.54 1.54% 0.76 0.76% 0.77 0.77% 0.77 0.77% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 6.14 6.14% 3.51 3.51% 3.48 3.48% 6.96 6.96% 7.50 7.50% 7.50 7.50% 5.69 5.69% 4.17 4.17% 6.15 6.15% 6.11 6.11% 4.62 4.62% 4.62 4.62% 3.85 3.85% 5.38 5.38% 3.85 3.85% 3.85 3.85% 4.17 4.17% 6.03 6.03% 4.31 4.31%
    ผอม 4.39 4.39% 0.88 0.88% 1.74 1.74% 0.87 0.87% 1.67 1.67% 1.67 1.67% 1.67 1.67% 0.83 0.83% 6.84 6.84% 3.82 3.82% 2.31 2.31% 1.72 1.72% 5.22 5.22% 3.85 3.85% 7.14 7.14% 5.38 5.38% 8.33 8.33% 5.17 5.17% 2.61 2.61%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 8.77 8.77% 4.39 4.39% 2.61 2.61% 6.09 6.09% 5.00 5.00% 5.00 5.00% 5.00 5.00% 7.50 7.50% 10.26 10.26% 10.69 10.69% 7.69 7.69% 6.90 6.90% 8.70 8.70% 12.31 12.31% 15.31 15.31% 9.23 9.23% 11.67 11.67% 13.79 13.79% 9.57 9.57%
    อ้วน 2.63 2.63% 1.75 1.75% 2.61 2.61% 2.61 2.61% 4.17 4.17% 4.17 4.17% 4.17 4.17% 2.50 2.50% 5.13 5.13% 3.82 3.82% 4.62 4.62% 2.59 2.59% 4.35 4.35% 0.77 0.77% 3.06 3.06% 3.08 3.08% 3.33 3.33% 2.59 2.59% 3.48 3.48%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 7.89% 7.89% 5.26% 5.26% 6.09% 6.09% 6.09% 6.09% 5.83% 5.83% 5.83% 5.83% 5.83% 5.83% 6.67% 6.67% 9.40% 9.40% 6.11% 6.11% 6.15% 6.15% 8.62% 8.62% 6.09% 6.09% 4.62% 4.62% 8.16% 8.16% 6.92% 6.92% 9.17% 9.17% 8.62% 8.62% 7.83% 7.83%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

    1มีโครงการกีฬา 2มีการใช้โปรแกรมThai school lunch 3มีโครงการสำหรับนักเรียนทุพโภชนาการ

    1มีโครงการกีฬา 2มีการใช้โปรแกรมThai school lunch 3มีโครงการสำหรับนักเรียนทุพโภชนาการ

    ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

    1มีโครงการกีฬา 2มีการใช้โปรแกรมThai school lunch 3มีโครงการสำหรับนักเรียนทุพโภชนาการ

    1มีโครงการกีฬา 2มีการใช้โปรแกรมThai school lunch 3มีโครงการสำหรับนักเรียนทุพโภชนาการ

    ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

    1มีโครงการกีฬา 2มีการใช้โปรแกรมThai school lunch 3มีโครงการสำหรับนักเรียนทุพโภชนาการ

    1มีโครงการกีฬา 2มีการใช้โปรแกรมThai school lunch 3มีโครงการสำหรับนักเรียนทุพโภชนาการ

    ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

    1มีโครงการกีฬา 2มีการใช้โปรแกรมThai school lunch 3มีโครงการสำหรับนักเรียนทุพโภชนาการ

    1มีโครงการกีฬา 2มีการใช้โปรแกรมThai school lunch 3มีโครงการสำหรับนักเรียนทุพโภชนาการ

    เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการลดน้อยลง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

    1แจ้งให้ผู้ปกครองทราบถึงภาวะโภชนาการของนักเรียน 2แจกคู่มือโภชนาการให้ผู้ปกครอง

    คู่มือโภชนาการ และ รายงานภาวะโภชนาการของนักเรียน

    ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมเพิ่มมากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    • การตรวจสุขภาพ การรักษาพยาบาล การติดตามเยี่ยมบ้าน ในรายที่มีปัญหา การส่งเสริมโภชนาการ การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค การแนะนำเกี่ยวกับสุขาภิบาลในโรงเรียน การอบรมเจ้าหน้าที่อนามัยโรงเรียนเพื่อให้การทำงานมี ประสิทธิภาพ
    • แหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียนเกี่ยวกับการทำขนม อาหารการ จักสานดนตรีพื้นเมืองการปลูกผัก และการทอผ้ากะเหรี่ยง

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนสันโป่งวิทยา จังหวัด ลำปาง

    รหัสโครงการ ศรร.1111-015

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายดล ก้อนแหวน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด