ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนวัดต้นไคร้

รหัสโครงการ ศรร.1112-011 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.11 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

"เกษตรชุมชนเพื่ออาหารกลางวันสู่เด็กต้นไคร้แก้มใส"

กระบวนการมีการเสวนาหาแนวทางร่วมระหว่างโรงเรียน ชุมชน ผู้ปกครองปราชญ์ชาวบ้าน เพื่อหาทางออกการทำเกษตรเพื่ออาหารกลางวันเนื่องจากโรงเรียนไม่มีพื้นที่การเกษตรให้นักเรียนได้เรียนรู้ จากเวทีเสวนาได้ข้อตกลงให้นักเรียนได้เรียนรู้ในการปลูกผักในกระถางพื้นที่ว่างเล็กน้อยในโรงเรียนและผักลอยฟ้า และให้ชุมชน ผู้ปกครองปลูกผักส่งอาหารกลางวันในโรงเรียนตามรายการอาหารที่ออกล่วงหน้าเป็นรายเดือนรวมทั้งให้นักเรียนได้เรียนรู้ร่วมกับชุมชน แหล่งอ้างอิงสวนผักในชุมชน ภาพกิจกรรม เอกสารการจัดซื้อผักจากชุมชน การจัดเสวนา

ประสานชุมชนขยายพื้นที่เกษตรเพื่อการเรียนรู้ให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้านในเขตบริการของโรงเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

การสหกรณ์ เถ้าแก่น้อยๆ

กระบวนการบริหารจัดการโดยนักเรียนตั้งแต่การคิดวิเคราะห์การจัดจำหน่ายชนิดของสินค้า การนำเข้าสินค้าจากผลิตผลของโรงเรียนและชุมชน มีการทำบัญชีและปันผลซึ่งมีคณะกรรมการตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่๑ถึงประถมศึกษาปีที่๖ สรุปการทำบัญชีสหกรณ์ ภาพกิจกรรม เอกสารหลักฐาน

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

การบริหารจัดการอาหารกลางวันเชื่อมโยงกับการเกษตร

จัดรายการอาหารด้วยโปรแกรม Thai school lunch โดยออกไว้ล่วงหน้าจากนั้นวางแผนการเกษตรเพื่อตอบสนองรายการอาหารกลางวัน และสามารถเป็นศูนย์ต้นแบบให้กับโรงเรียนอื่่นๆ ได้ศึกษาดูงาน. เข้ารับการอบรมการใช้โปแกรม Thai school lunch เอกสารอ้างอิง บันทึกรายการอาหารเป็นประจำทุกวันและการจัดส่งผลิตผลทางการเกษตรจากชุมชนและผู้ปกครอง

การบริการอาหารเช้าให้กับนักเรียนที่อยู่พื้นที่ห่างไกลไม่ได้กินอาหารเช้า

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

กลุ่มกีฬาพัฒนาสู่แก้มใส

มีการพัฒนาสุขนิสัยการดูแลสุขภาพตนเองด้านการออกกำลังกายโดยใช้ไลน์กลุ่มในการรวมตัวเพื่อออกกำลังกายเช่นเตะบอล เนื่องจากโรงเรียนไม่มีสนามที่กว้างพอมีการนัดกันออกกำลังกายที่โรงเรียนใกล้ๆโดยมีการนัดกันทางไลน์มีองค์ความรู้ใหม่ๆด้านสุขภาพครู นักเรียนในไลน์จะส่งกันทางกลุ่มไลน์

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

ธนาคารขยะ

มีการคัดแยกขยะร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชนและเทศบาลโดยการบริหารจัดการขยะตามหลัก 7R
หลักฐานรูปภาพการจัดการ ะนาคารขยะในโรงเรียน

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

เด็กต้นไคร้รักษ์สุขภาพ

มีการพัฒนาสุขนิสัยการดูแลสุขภาพนักเรียนเป็นประจำ ตรวจสุขอนามัย ด้านความสะอาด ของนักเรียนเช่น ผม ,เล็บ, มือ ,ฟัน,หู ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงนักเรียนทุกๆเดือน ให้การดูแล คัดกรองการเจ็บป่วยและสงต่อ รพ.สต.หลักฐานการบันทึกการตรวจสุขภาพประจำห้องเรียน และบันทึกสุขภาพของห้องอนามัย

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง โภชนาการและธงโภชนาการ เกษตร สอดแทรกทุก 8 กลุ่มสาระทุกชั้นปี

  1. ศึกษาตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
  2. จัดทำแผนการเรียนรู้สอดแทรกในแต่ละกลุ่มสาระ
  3. บันทึกผลหลังสอน

นำแผนการเรียนรู้ด้านอื่นบูรณาการเข้ากลุ่มสาระ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

1.ชุมชน 2. รพ.สต.ช่อแฮ 3.เทศบาลต.ช่อแฮ 4. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแพร่ เขต 1 5. สาธารณสุขจังหวัดแพร่ ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคิดวิเคราะห์ สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมต่างๆจนเกิดผลสำเร็จในแต่ละกิจกรรมที่ส่งผลให้การทำงายนโครงการแก้มใสนักเรียนได้รับบริการและการเรียนรู้ที่ดี

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

ชุมชนในเขตพื้นที่บริการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อจำหน่ายแก่ตลาดดังนั้นภาคีเครือข่ายหลักจึงสามารถนำผักปลอดสารพิษมาจำหน่ายให้แก่โรงเรียนเพื่อเป็นอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนและเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียนอาหารที่ขายในชุมชนและโรงเรียนเป็นอาหาร ขนมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและโภชนาการ

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

กระบวนการบริหารจัดการทำความเข้าใจร่วมกันเกิดความตระหนักเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างบุคลากรในโรงเรียน นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน และให้ความสำคัญภาวะทุพโภชนาการของเด็กนักเรียนซึ่งจะมีผลการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคนวางแผนร่วมกันแบ่งความรับผิดชอบและมีการประเมินผลเป็นระยะ เอกสารหลักฐาน ภาพประกอบการประชุมเสวนาเอกสารสรุปกิจกรรมต่างๆ

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

กระบวนการเรียนรู้มีการอบรมให้ความรู้ สาธิตและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทั้ง ๘ องค์ประกอบ และมีการเรียนรู้จากชุมชนปราชญ์ชาวบ้านในการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองและชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในพื้นที่ให้ความสำคัญและร่วมมือในการจัดทำโครงการต้นแบบเด็กไทยแก้มใสอย่างเต็มศักยภาพต้องแต่กระบวนการคิดวิเคราะห์วางแผนและร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

พื้นที่โรงเรียนไม่สามารถผลิตได้เพียงพอแต่ใช้การเกษตรชุ่มชนเป็นพื้นที่เกษตรในปริมาณที่เพียงพอทุกวันการทำเกษตรลอยฟ้าและเกษตรกระถาง

ภาพประกอบเอกสารการจัดทำเกษตรและซื้ออาหาร

ขยายพื้นที่ไปชุมชนอื่นในเขตรับผิดชอบโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

เนื่องจากไม่มีพื้นที่แต่มีการบริหารจัดการซื้อจากแหล่งผลิตของชุมชน ผู้ปกครองและตลาดในชุมชน

 

สนับสนุนให้ผู้ปกครองชุมชนเลี้ยงไก่ไข่ส่งโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

เลี้ยงปลาดุกและปลาทับทิมในบ่อซีเมนต์ที่มีพื้นที่ว่างเล็กน้อยแต่ไม่เพียงพอกับอาหารกลางวันตลอดปี

ภาพการเลี้ยงปลาดุกและปลาทับทิม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

มีการบริหารจัดการให้ชุมชนปรับอาหารที่ขายหน้าโรงเรียนในตอนเช้าจากขนมจีนซึ่งมีโปรตีนน้อยมากเป็นข้าวกับข้าวทุกวันโดยเปลี่ยนรายการอาหารทุกวัน

ภาพอาหารเช้าที่เด็กกินหน้าโรงเรียน

โรงเรียนจะจัดบริการอาหารเช้าให้กับนักเรียน

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

จัดรายการอาหารตามTSL และมีครูคอยบริการให้นักเรียนได้รับประทานตามที่ให้บริการ มีการให้ความรู้ภาพประกอบที่โรงอาหาร

รายการอาหาร ภาพประกอบ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

จัดรายการอาหารตามTSL และมีครูคอยบริการให้นักเรียนได้รับประทานตามที่ให้บริการ มีการให้ความรู้ภาพประกอบที่โรงอาหาร

รายการอาหาร ภาพประกอบ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ไม่มีนักเรียนมัธยม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

มีการบริหารจัดการโดยให้พันธุ์ผักกับผู้ปกครองชุมชนไปปลูกผักปลอดสารพิษขายกับโครงการอาหารกลางวันและรายได้นำไปหมุนเวียนซื้อเมล็ดพันธุ์ผักปลูกใหม่ตามรายการอาหารที่โรงเรียนวางแผน

ภาพแปลงผักชุมชนเอกสารหลักฐานการจัดซื้อ

ขยายพื้นที่ปลูกผักปลอดสารพิษชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

มีการจัดอาหารตามTSL และจัดซื้อวัตถุดิบตามจำนวนที่กำหนดมีเพียงวิธีการปรุงที่ปรับให้สอดคล้องกับบริบทพื้นที่

รายการอาหาร ภาพประกอบ การจัดซื้อวัตถุดิบ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูงเทอมละ2ครั้งแต่กรณีเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการมีการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทุกเดือนจากนั้นแปรผลวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาแจ้งผู้ปกครองผู้ที่เกี่ยวข้องวางแผนแก้ไขและส่งเสริมภาะวะทุพโภชนาการสรุปและประเมินผล

สรุปผลภาวะโภชนาการภาพประกอบ โครงการรายละเอียดและสรุปผลการดำเนิน

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/1
เตี้ย 3.01 3.01% 4.44 4.44% 3.70 3.70% 2.22 2.22% 11.11 11.11% 5.93 5.93% 6.67 6.67% 5.97 5.97% 6.72 6.72% 7.38 7.38% 7.38 7.38% 5.48 5.48% 5.52 5.52% 5.59 5.59% 6.25 6.25% 6.34 6.34%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 7.52 7.52% 9.63 9.63% 9.63 9.63% 5.19 5.19% 26.67 26.67% 15.56 15.56% 15.56 15.56% 16.42 16.42% 15.67 15.67% 14.09 14.09% 18.12 18.12% 14.38 14.38% 14.48 14.48% 16.78 16.78% 17.36 17.36% 16.20 16.20%
ผอม 12.78 12.78% 14.81 14.81% 14.07 14.07% 14.07 14.07% 9.63 9.63% 4.44 4.44% 3.70 3.70% 5.22 5.22% 1.49 1.49% 6.04 6.04% 5.37 5.37% 4.79 4.79% 9.66 9.66% 4.90 4.90% 4.17 4.17% 4.93 4.93%
ผอม+ค่อนข้างผอม 21.80 21.80% 22.96 22.96% 25.19 25.19% 22.22 22.22% 20.74 20.74% 10.37 10.37% 8.89 8.89% 8.96 8.96% 10.45 10.45% 13.42 13.42% 11.41 11.41% 9.59 9.59% 18.62 18.62% 13.99 13.99% 12.50 12.50% 11.27 11.27%
อ้วน 2.26 2.26% 3.70 3.70% 2.22 2.22% 2.22 2.22% 2.22 2.22% 5.93 5.93% 5.93 5.93% 5.97 5.97% 6.72 6.72% 10.07 10.07% 8.72 8.72% 8.90 8.90% 7.59 7.59% 4.90 4.90% 5.56 5.56% 6.34 6.34%
เริ่มอ้วน+อ้วน 7.52% 7.52% 8.89% 8.89% 8.15% 8.15% 8.15% 8.15% 8.89% 8.89% 15.56% 15.56% 14.07% 14.07% 10.45% 10.45% 13.43% 13.43% 16.11% 16.11% 14.09% 14.09% 14.38% 14.38% 12.41% 12.41% 15.38% 15.38% 14.58% 14.58% 13.38% 13.38%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

มีโครงการแก้ไขปัญหาโดยจัดการด้านอาหารและออกกำลังกายและรว่มมือกับผู้ปกครอง

เอกสารโครงการภาพประกอบสรุปผลการดำเนินงาน

วิเคราะห์ผลการดำเนินงานและข้อจำกัดที่ทำให้การดำเนินงานไม่เป็นไปตามคาดหวัง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

มีโครงการแก้ไขปัญหาโดยจัดการด้านอาหารและการให้อาหารเริมและออกกำลังกายและรว่มมือกับผู้ปกครอง

เอกสารโครงการภาพประกอบสรุปผลการดำเนินงาน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

มีการเยี่ยมบ้านคนละ๒ครั้งและหาแนวทางร่วมกับผู้ปกครองในการแก้ไขปัญหา และมีการจัดทำไลน์กลุ่มเพื่อส่งข่าวสารและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

ภาพกิจกรรมสรุปผลการเยี่ยมบ้าน ไลน์กลุ่ม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ผู้ปกครองร่วมวางแผนและจัดอาหารที่บ้านในการแก้ไขปัญหาตลอดจนการเฝ้าระวังพและส่งเสริมพฤติกรรมบริโภคของนักเรียนที่บ้านและมีการสื่อสารกับครู

ไลน์กลุ่ม บันทึกการเยี่ยมบ้าน สมุดบันทึกที่ผู้ปกครองมีส่วนในการรับทราบและเสนอแนะ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

1.ชุมชน 2. รพ.สต.ช่อแฮ 3.เทศบาลต.ช่อแฮ 4. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแพร่ เขต 1 5. สาธารณสุขจังหวัดแพร่ ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคิดวิเคราะห์ สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมต่างๆจนเกิดผลสำเร็จในแต่ละกิจกรรมที่ส่งผลให้การทำงายนโครงการแก้มใสนักเรียนได้รับบริการและการเรียนรู้ที่ดี

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh