แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว

ชุมชน 86 ม.13 ตำบลพงษ์ อำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน

รหัสโครงการ ศรร.1112-014 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.14

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2559 ถึงเดือน กันยายน 2559

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สุขภาพดี ไม่มีพยาธิ

วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. นักเรียนที่มีเหา ได้รับการดูแลและกำจัดเหาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
  2. นักเรียนทุกคน ได้รับการตรวจร่างกาย เช่น ทรงผม เล็บมือ เล็บเท้า และยาเสพติด
  3. นักเรียนทุกคน ได้เต้นแอโรบิคเป็นประจำ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
  4. นักเรียนทุกคน ได้รับความรู้เกี่ยวกับสารอาหารที่รับประทานในแต่ละมื้อ
  5. มีที่จัดเก็บและคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
  6. นักเรียนทุกคน แปรงฟันทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร


ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนมีสุขภาพภายนอกที่สะอาดเรียบร้อย
  2. นักเรียนห่างไกลจากสิ่งเสพติด

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ชี้แจงคณะครูและนักเรียนในโรงเรียน
  2. ครูประจำชั้นและหัวหน้านักเรียนในแต่ละชั้น ตรวจเล็บมือ เล็บเท้า ทรงผมของนักเรียนในชั้นตนเอง
  3. หากผิดระเบียบให้ดำเนินการแก้ไข เช่น การตัดเล็บมือ การตัดผมโดยให้นักเรียนที่ได้รับการฝึกการตัดผมเป็นผู้ดำเนินการ โดยมีครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด
  4. สำหรับนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาจะมีการตรวจหาสารเสพติด โดยมีครูฝ่ายปกครองเป็นผู้ดำเนินการ
  5. หากพบสิ่งผิดปกติให้ดำเนินการแก้ไข
  6. สรุปผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ชี้แจงคณะครูและนักเรียนในโรงเรียน
  2. แจกกรรไกรตัดเล็บประจำห้องเรียนห้องละ 1 อัน
  3. ครูประจำชั้นและหัวหน้านักเรียนในแต่ละชั้น ตรวจเล็บมือ เล็บเท้า ทรงผมของนักเรียนในชั้นตนเอง
  4. หากเล็บมือและเล็บเท้ายาวให้ทำการตัดเล็บมือ ให้เรียบร้อย โดยมีครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด
  5. หากทรงผมผิดระเบียบ จะต้องส่งต่อให้ฝ่ายปกครอง เพื่อให้ตัดทรงผมให้ถูกระเบียบ โดยมีครูฝ่ายปกครองเป็นผู้ดูแล
  6. สำหรับนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาจะมีการตรวจหาสารเสพติด โดยมีครูฝ่ายปกครองเป็นผู้ดำเนินการ
  7. สรุปผลการดำเนินงาน

 

147 137

2. ธนาคารขยะ

วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. นักเรียนที่มีเหา ได้รับการดูแลและกำจัดเหาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
  2. นักเรียนทุกคน ได้รับการตรวจร่างกาย เช่น ทรงผม เล็บมือ เล็บเท้า และยาเสพติด
  3. นักเรียนทุกคน ได้เต้นแอโรบิคเป็นประจำ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
  4. นักเรียนทุกคน ได้รับความรู้เกี่ยวกับสารอาหารที่รับประทานในแต่ละมื้อ
  5. มีที่จัดเก็บและคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
  6. นักเรียนทุกคน แปรงฟันทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร


ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. สภาพแวดล้อมในโรงเรียนสะอาด
  2. นักเรียนรู้จักการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
  2. มอบหมายครูรับผิดชอบเพื่อดำเนินการ
  3. ชี้แจงนักเรียนที่ร่วมกิจกรรม
  4. จัดซื้อถังที่ถูกสุขลักษณะ
  5. นักเรียนแต่ละชั้นเรียนคัดแยกขยะของห้องเรียนตนเองเบื้องต้น
  6. นักเรียนที่เป็นเจ้าหน้าที่ดำเนินการคัดแยกขยะอีกครั้ง
  7. นำขยะไปกำจัดให้ถูกวิธี
  8. สรุปผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
  2. มอบหมายครูรับผิดชอบเพื่อดำเนินการ
  3. ชี้แจงนักเรียนที่ร่วมกิจกรรม
  4. จัดซื้อถังที่ถูกสุขลักษณะ
  5. นักเรียนแต่ละชั้นเรียนคัดแยกขยะของห้องเรียนตนเองเบื้องต้น
  6. นักเรียนที่เป็นเจ้าหน้าที่ดำเนินการคัดแยกขยะอีกครั้ง
  7. นำขยะไปกำจัดให้ถูกวิธี
  8. สรุปผลการดำเนินงาน

 

147 139

3. ครู แม่ครัว ผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา อบรมเรื่องคุณภาพอาหารและสุขลักษณะนิสัยที่ดี

วันที่ 18 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. ครู นักเรียน แม่ครัว และ คณะกรรมการโครงการผ่านการอบรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
  2. ครู นักเรียน แม่ครัว และ คณะกรรมการโครงการผ่านการศึกษาดูงานเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
  3. ครู นักเรียน แม่ครัว และ คณะกรรมการโครงการผ่านการอบรมเรื่องคุณภาพอาหารและสุขลักษณะ นิสัยที่ดี
  4. มีระบบเฝ้าระวังและติดตาม
  5. นักเรียนที่ร่วมกิจกรรมมีทักษะในการคิดวิเคราะห์ ช่างสังเกต และแก้ปัญหา

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะครู ผู้ปกครอง และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับความรู้และทักษะในการดูแลอาหารที่ดีเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกายตามความเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย เพื่อให้ลูกหลานมีพัฒนาการและการเจริญเติบโตอย่างเต็มประสิทธิภาพ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
  2. ทำหนังสือเชิญวิทยากรพร้อมประเด็น
  3. ทำหนังสือเชิญประชุมผู้ปกครองพร้อมประเด็น
  4. จัดทำสื่อ
  5. เตรียมอาหารและอาหารว่าง
  6. ดำเนินการอบรม
  7. สรุปผลการดำเนินงาน 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียนเกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใสปี 2
  2. ทำหนังสือเชิญวิทยากรพร้อมประเด็น
  3. ทำหนังสือเชิญประชุมผู้ปกครองพร้อมประเด็น
  4. จัดทำสื่อประกอบการอบรม
  5. เตรียมอาหารและอาหารว่าง
  6. ดำเนินการอบรม
  7. สรุปผลการดำเนินงาน

 

80 97

4. แอโรบิค เพื่อสุขภาพ

วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. นักเรียนที่มีเหา ได้รับการดูแลและกำจัดเหาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
  2. นักเรียนทุกคน ได้รับการตรวจร่างกาย เช่น ทรงผม เล็บมือ เล็บเท้า และยาเสพติด
  3. นักเรียนทุกคน ได้เต้นแอโรบิคเป็นประจำ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
  4. นักเรียนทุกคน ได้รับความรู้เกี่ยวกับสารอาหารที่รับประทานในแต่ละมื้อ
  5. มีที่จัดเก็บและคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
  6. นักเรียนทุกคน แปรงฟันทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร


ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย
  2. นักเรียนออกกำลังได้ถูกวิธีและเหมาะสมกับช่วงวัยของตนเอง
  3. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการออกกำลังกาย
  2. มีการออกกำลังในตอนเย็นหลังเลิกเรียนตามความสนใจของนักเรียน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ตัวแทนนักเรียนร่วมกันจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์โครงการ และกิจกรรมต่างๆ โโยจะมีการเปลี่ยนข้อมูลให้อยู่เสมอ เดือนละ 1-2 ครั้ง
  2. นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายตามความสนใจของนักเรียน

 

157 129

5. วัยใส ยิ้มสวย

วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. นักเรียนที่มีเหา ได้รับการดูแลและกำจัดเหาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
  2. นักเรียนทุกคน ได้รับการตรวจร่างกาย เช่น ทรงผม เล็บมือ เล็บเท้า และยาเสพติด
  3. นักเรียนทุกคน ได้เต้นแอโรบิคเป็นประจำ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
  4. นักเรียนทุกคน ได้รับความรู้เกี่ยวกับสารอาหารที่รับประทานในแต่ละมื้อ
  5. มีที่จัดเก็บและคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
  6. นักเรียนทุกคน แปรงฟันทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร


ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนมีสุขภาพฟัที่แข็งแรง
  2. ครูและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ชี้แจงคณะครูและนักเรียนในโรงเรียน
  2. ครูประจำชั้นและหัวหน้านักเรียน ตรวจสุขภาพฟันเบื้องต้น
  3. นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารทุกมื้อที่โรงเรียน
  4. ผู้ปกครองคอยดูแลเรื่องการแปรงฟันของนักเรียนที่บ้าน
  5. มีการบันทึกการแปรงฟันของนักเรียนทั้งที่บ้านและที่โรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ
  6. สรุปผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ชี้แจงคณะครูและนักเรียนในโรงเรียน
  2. ครูประจำชั้นและหัวหน้านักเรียน ตรวจสุขภาพฟันเบื้องต้น
  3. นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารทุกมื้อที่โรงเรียน
  4. ผู้ปกครองคอยดูแลเรื่องการแปรงฟันของนักเรียนที่บ้าน
  5. มีการจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการแปรงฟัน

 

277 139

6. คุณค่าสารอาหาร

วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. นักเรียนที่มีเหา ได้รับการดูแลและกำจัดเหาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
  2. นักเรียนทุกคน ได้รับการตรวจร่างกาย เช่น ทรงผม เล็บมือ เล็บเท้า และยาเสพติด
  3. นักเรียนทุกคน ได้เต้นแอโรบิคเป็นประจำ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
  4. นักเรียนทุกคน ได้รับความรู้เกี่ยวกับสารอาหารที่รับประทานในแต่ละมื้อ
  5. มีที่จัดเก็บและคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี
  6. นักเรียนทุกคน แปรงฟันทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร


ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนได้ทักษะการทำงานกลุ่มตามที่ได้รับมอบหมาย
  2. ครูและนักเรียนได้รับความรู้เรื่องโภชนาการอาหารมากขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
  2. รับสมัครตัวแทนนักเรียนในการดำเนินงานกิจกรรม
  3. จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับสารอาหารที่นักเรียนได้รับในแต่ละมื้อ
  4. นักเรียนในโรงเรียนสามารถศึกษาข้อมูลจากบอร์ดประชาสัมพันธ์
  5. สรุปผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
  2. รับสมัครตัวแทนนักเรียนในการดำเนินงานกิจกรรม
  3. จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับสารอาหารที่นักเรียนได้รับในแต่ละมื้อ
  4. นักเรียนในโรงเรียนสามารถศึกษาข้อมูลจากบอร์ดประชาสัมพันธ์
  5. สรุปผลการดำเนินงาน

 

387 139

7. เพาะเมล็ดทานตะวัน อินทรีย์ ประจำห้องเรียนมัธยมศึกษา

วันที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีมะนาวไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  2. มีกล้วยหลายชนิดไว้รับประทานและใช้ประโยชน์
  3. มีปลาไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  4. มีปุ๋ยหมักอินทรีย์ใช้ในการเกษตรในโรงเรียน
  5. มีผักปลอดสารพิษ (ผักอินทรีย์) ที่หลากหลายในการนำมาประกอบอาหารกลางวัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนและครูมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
  2. นักเรียนได้เกิดทักษะในการเรียนรู้การทำงานกลุ่ม และมีความรับผิดชอบในหน้าที่
  3. นักเรียนมีความตื่นตัวในการทำงานร่วมกัน
  4. นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ
  5. นักเรียนบางคนที่ไม่รับประทานผัก หันมารับประทานต้นอ่อนทานตะวัน ร้อยละ 100

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ประชุมคณะครูในโรงเรียน เรื่อง แนวทางในการดำเนินงาน
  2. ครูแต่ละชั้นเรียนชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานให้นักเรียน
  3. ครูและนักเรียนร่วมกันออกแบบวางแผนการทำงาน
  4. ตัวแทนนักเรียนรับอุปกรณ์ในการทำกิจกรรม
  5. นักเรียนร่วมกันเพาะเมล็ดทานตะวันในวันที่ 3 มิถุนายน 2559
  6. แบ่งหน้าที่กันดูแลต้นอ่อนทานตะวัน
  7. เก็บเกี่ยวต้นอ่อนทานตะวันในวันที่ 10 มิถุนายน 2559
  8. นำต้นอ่อนทานตะวันมาปรุงเป็นอาหารรับประทานในชั้นเรียน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ประชุมคณะครูในโรงเรียน เรื่อง แนวทางในการดำเนินงาน
  2. ครูแต่ละชั้นเรียนชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานให้นักเรียน
  3. ครูผู้รับผิดชอบโครงการ แบ่งกลุ่มนักเรียนยุวเกษตร เพื่อจัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ให้แต่ละระดับชั้น
  4. ครูและนักเรียนแต่ละชั้นร่วมกันออกแบบวางแผนการทำงาน
  5. นักเรียนแต่ละชั้นร่วมกันเพาะเมล็ดต้นอ่อนทานตะวัน
  6. แต่ละชั้นแบ่งหน้าที่กันดูแลต้นอ่อนทานตะวัน
  7. เก็บเกี่ยวต้นอ่อนทานตะวัน
  8. นำมาประกอบอาหารตามแต่ละเมนูของนักเรียนแต่ละระดับชั้น

 

40 36

8. ปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์ ครั้งที่ 1

วันที่ 10 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีมะนาวไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  2. มีกล้วยหลายชนิดไว้รับประทานและใช้ประโยชน์
  3. มีปลาไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  4. มีปุ๋ยหมักอินทรีย์ใช้ในการเกษตรในโรงเรียน
  5. มีผักปลอดสารพิษ (ผักอินทรีย์) ที่หลากหลายในการนำมาประกอบอาหารกลางวัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนได้เรียนรู้ทักษะการทำงานร่วมกัน
  2. นักเรียนได้รู้จักวิธีการปลูกและดูแลมะนาวในกระถาง
  3. นักเรียนได้ฝึกความรับผิดชอบ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
  2. ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
  3. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นระดับชั้น เป็น 3 กลุ่ม เพื่อรับผิดชอบมะนาวกลุ่มละ 1 ต้น
  4. เตรียมพื้นที่ในการปลูกมะนาว และเตรียมต้นกล้ามะนาว
  5. ปลูกมะนาว
  6. ดูแล รักษาต้นที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ
  7. เมื่อได้ผลผลิตสามารถนำมาจำหน่ายให้สหกรณ์โรงเรียน
  8. สรุปผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
  2. ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
  3. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นระดับชั้น เป็น 3 กลุ่ม เพื่อรับผิดชอบมะนาวกลุ่มละ 1 ต้น
  4. เตรียมพื้นที่ในการปลูกมะนาว และเตรียมต้นกล้ามะนาว
  5. ปลูกมะนาว 10 ต้น ในวันที่ 10 มิถุนายน 2559
  6. ดูแล รักษาต้นที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ

 

147 23

9. ปลูกกล้วย

วันที่ 13 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีมะนาวไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  2. มีกล้วยหลายชนิดไว้รับประทานและใช้ประโยชน์
  3. มีปลาไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  4. มีปุ๋ยหมักอินทรีย์ใช้ในการเกษตรในโรงเรียน
  5. มีผักปลอดสารพิษ (ผักอินทรีย์) ที่หลากหลายในการนำมาประกอบอาหารกลางวัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

กิจกรรมนี้เกิดผลต่อครู นักเรียน และผู้ปกครอง ดังนี้ 1. ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินการปลูกต้นกล้วย 2. ได้ผลผลิตที่ราคาไม่สูง แต่คุณภาพสูงและนำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย 3. มีความรักและสามัคคีในการทำงาน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
  2. ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
  3. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นระดับชั้น เป็น 5 กลุ่ม เพื่อรับผิดชอบต้นกล้วยกลุ่มละ 1 ต้น
  4. เตรียมพื้นที่ในการปลูกมะนาว และเตรียมหน่อกล้วย
  5. ปลูกกล้วย
  6. ดูแล รักษาต้นที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ
  7. เมื่อได้ผลผลิตสามารถนำมาจำหน่ายให้สหกรณ์โรงเรียน
  8. สรุปผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
  2. ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
  3. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นระดับชั้น เป็น 5 กลุ่ม เพื่อรับผิดชอบต้นกล้วยกลุ่มละ 1 ต้น
  4. เตรียมพื้นที่ในการปลูกกล้วย และเตรียมหน่อกล้วย โดยชาวบ้านในพื้นที่ให้หน่อกล้วยมาปลูกในโรงเรียน
  5. ปลูกกล้วย
  6. ดูแล รักษาต้นที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ

 

277 137

10. ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน ครั้งที่ 1

วันที่ 16 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีผักปลอดสารพิษไว้รับประทานในครัวเรือน
  2. ชุนชนได้นำผลผลิตทางการเกษตรมาจำหน่าย
  3. ประกวดครอบครัวสุขภาพดีแต่ละครอบครัวได้เข้าร่วมกิจกรรมการประกวด

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. ครู นักเรียน และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในกิจกรรมนี้
  2. โครงการอาหารกลางวันได้ผักที่ปลอดสารพิษมาประกอบอาหารให้นักเรียนมากขึ้น
  3. นักเรียนได้เรียนรู้วิธี และลงมือปฎิบัติด้วยตนเอง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ทำหนังสือเชิญผู้ปกครองและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม
  2. จัดทำเอกสารและคู่มือการปลูกผักในครัวเรือน
  3. แจกเมล็ดพันธุ์ผักให้ผู้ปกครอง
  4. ผู้ปกครองนำเมล็ดผักไปปลูกในครัวเรือน
  5. นำผลผลิตมาจำหน่ายให้กับสหกรณ์โรงเรียน
  6. ติดตามผลและสรุปผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ทำหนังสือเชิญผู้ปกครองและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม
  2. จัดทำเอกสารและคู่มือการปลูกผักในครัวเรือน
  3. แจกเมล็ดพันธุ์ผักพร้อมคู่มือให้ผู้ปกครอง โดยวิธีการจับฉลาก ครัวเรือนละ 3 ชนิด
  4. ให้คณะกรรมการนักเรียนติดตามการปลูกผักสวนครัวที่บ้านของนักเรียน

 

174 190

11. ปลูกผักหมุนเวียน ครั้งที่ 1

วันที่ 17 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีมะนาวไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  2. มีกล้วยหลายชนิดไว้รับประทานและใช้ประโยชน์
  3. มีปลาไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  4. มีปุ๋ยหมักอินทรีย์ใช้ในการเกษตรในโรงเรียน
  5. มีผักปลอดสารพิษ (ผักอินทรีย์) ที่หลากหลายในการนำมาประกอบอาหารกลางวัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนได้ทักษะการทำงานกลุ่มตามที่ได้รับมอบหมาย
  2. ครูและนักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ
  3. นักเรียนรับประทานผักมากขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
  2. ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
  3. แบ่งกลุ่มนักเรียนระดับชั้นละ 2 แปลง เพื่อรับผิดชอบแปลงผักของตนเอง
  4. เตรียมแปลงผักและเมล็ดพันธ์ุผัก
  5. ปลูกผัก
  6. ดูแล รักษาผักที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ
  7. เมื่อได้ผลผลิตสามารถนำมาจำหน่ายให้สหกรณ์โรงเรียน
  8. สรุปผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
  2. ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
  3. แบ่งกลุ่มนักเรียนระดับชั้นละ 2 แปลง เพื่อรับผิดชอบแปลงผักของตนเอง
  4. เตรียมแปลงผักและเมล็ดพันธ์ุผัก
  5. ปลูกผัก คะน้า ผักชี
  6. ดูแล รักษาผักที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ
  7. เมื่อได้ผลผลิตสามารถนำมาจำหน่ายให้สหกรณ์โรงเรียน
  8. สรุปผลการดำเนินงาน

 

147 123

12. เลี้ยงปลานิล ครั้งที่ 1

วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีมะนาวไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  2. มีกล้วยหลายชนิดไว้รับประทานและใช้ประโยชน์
  3. มีปลาไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  4. มีปุ๋ยหมักอินทรีย์ใช้ในการเกษตรในโรงเรียน
  5. มีผักปลอดสารพิษ (ผักอินทรีย์) ที่หลากหลายในการนำมาประกอบอาหารกลางวัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนได้เรียนรู้ืักษะการทำงานร่วมกัน
  2. นักเรียนได้รู้จักวิธีการดูแลปลา
  3. นักเรียนได้ฝึกความรับผิดชอบ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
  2. ชี้แจงนักเรียนระดับชั้น ป.3-ป.6
  3. แบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อรับผิดชอบในการดูแลและให้อาหารปลานิล
  4. ดูแลปลานิลในสระ
  5. นำผลผลิตมาทำเป็้นอาหารกลางวันและจำหน่าย
  6. รายงานผลดำเนินงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
  2. ชี้แจงนักเรียนระดับชั้น ป.3-ป.6
  3. ได้รับพันธ์ุปลาจากกรมประมงจังหวัด
  4. แบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อรับผิดชอบในการดูแลและให้อาหารปลา
  5. ดูแลปลานิลในสระ

 

65 52

13. ปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์ครั้งที่ 2

วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีมะนาวไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  2. มีกล้วยหลายชนิดไว้รับประทานและใช้ประโยชน์
  3. มีปลาไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  4. มีปุ๋ยหมักอินทรีย์ใช้ในการเกษตรในโรงเรียน
  5. มีผักปลอดสารพิษ (ผักอินทรีย์) ที่หลากหลายในการนำมาประกอบอาหารกลางวัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนได้เรียนรู้ทักษะการทำงานร่วมกัน
  2. นักเรียนได้รู้จักวิธีการปลูกและดูแลมะนาวในกระถาง
  3. นักเรียนได้ฝึกความรับผิดชอบ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
  2. ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
  3. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นระดับชั้น เป็น 3 กลุ่ม เพื่อรับผิดชอบมะนาวกลุ่มละ 1 ต้น
  4. เตรียมพื้นที่ในการปลูกมะนาว และเตรียมต้นกล้ามะนาว
  5. ปลูกมะนาว 10 ต้น ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2559
  6. ดูแล รักษาต้นที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
  2. ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
  3. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นระดับชั้น ป.5  เป็น 3 กลุ่ม เพื่อรับผิดชอบมะนาวกลุ่มละ 2 ต้น
  4. เตรียมพื้นที่ในการปลูกมะนาว และเตรียมต้นกล้ามะนาว
  5. ปลูกมะนาว 10 ต้น ในวันที่ 1 กรกฏาคม 2559
  6. ดูแล รักษาต้นที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ

 

147 17

14. เพาะเมล็ดทานตะวัน อินทรีย์ ประจำห้องเรียนประถมศึกษา

วันที่ 7 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีมะนาวไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  2. มีกล้วยหลายชนิดไว้รับประทานและใช้ประโยชน์
  3. มีปลาไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  4. มีปุ๋ยหมักอินทรีย์ใช้ในการเกษตรในโรงเรียน
  5. มีผักปลอดสารพิษ (ผักอินทรีย์) ที่หลากหลายในการนำมาประกอบอาหารกลางวัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนและครูมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
  2. นักเรียนได้เกิดทักษะในการเรียนรู้การทำงานกลุ่ม และมีความรับผิดชอบในหน้าที่
  3. นักเรียนมีความตื่นตัวในการทำงานร่วมกัน
  4. นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ
  5. นักเรียนบางคนที่ไม่รับประทานผัก หันมารับประทานต้นอ่อนทานตะวัน ร้อยละ 100

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ประชุมคณะครูในโรงเรียน เรื่อง แนวทางในการดำเนินงาน
  2. ครูแต่ละชั้นเรียนชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานให้นักเรียน
  3. ครูและนักเรียนร่วมกันออกแบบวางแผนการทำงาน
  4. ตัวแทนนักเรียนรับอุปกรณ์ในการทำกิจกรรม
  5. นักเรียนร่วมกันเพาะเมล็ดทานตะวันในวันที่ 7 กรกฎาคม 2559
  6. แบ่งหน้าที่กันดูแลต้นอ่อนทานตะวัน
  7. เก็บเกี่ยวต้นอ่อนทานตะวันในวันที่ 15 กรกฎาคม 2559
  8. นำต้นอ่อนทานตะวันมาปรุงเป็นอาหารรับประทานในชั้นเรียน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ประชุมคณะครูในโรงเรียน เรื่อง แนวทางในการดำเนินงาน
  2. ครูแต่ละชั้นเรียนชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานให้นักเรียน
  3. ครูผู้รับผิดชอบโครงการ แบ่งกลุ่มนักเรียนยุวเกษตร เพื่อจัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ให้แต่ละระดับชั้น
  4. ครูและนักเรียนแต่ละชั้นร่วมกันออกแบบวางแผนการทำงาน
  5. นักเรียนแต่ละชั้นร่วมกันเพาะเมล็ดต้นอ่อนทานตะวัน
  6. แต่ละชั้นแบ่งหน้าที่กันดูแลต้นอ่อนทานตะวัน
  7. เก็บเกี่ยวต้นอ่อนทานตะวัน
  8. นำมาประกอบอาหารตามแต่ละเมนูของนักเรียนแต่ละระดับชั้น

 

100 139

15. ปลูกผักหมุนเวียน ครั้งที่ 2

วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีมะนาวไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  2. มีกล้วยหลายชนิดไว้รับประทานและใช้ประโยชน์
  3. มีปลาไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  4. มีปุ๋ยหมักอินทรีย์ใช้ในการเกษตรในโรงเรียน
  5. มีผักปลอดสารพิษ (ผักอินทรีย์) ที่หลากหลายในการนำมาประกอบอาหารกลางวัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนได้ทักษะการทำงานกลุ่มตามที่ได้รับมอบหมาย
  2. ครูและนักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ
  3. นักเรียนรับประทานผักมากขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
  2. ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
  3. แบ่งกลุ่มนักเรียนระดับชั้นละ 2 แปลง เพื่อรับผิดชอบแปลงผักของตนเอง
  4. เตรียมแปลงผักและเมล็ดพันธ์ุผัก
  5. ปลูกผัก
  6. ดูแล รักษาผักที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ
  7. เมื่อได้ผลผลิตสามารถนำมาจำหน่ายให้สหกรณ์โรงเรียน
  8. สรุปผลการดำเนินงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
  2. ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
  3. แบ่งกลุ่มนักเรียนระดับชั้นละ 2 แปลง เพื่อรับผิดชอบแปลงผักของตนเอง
  4. เตรียมแปลงผักและเมล็ดพันธ์ุผัก
  5. ปลูกผัก
  6. ดูแล รักษาผักที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ
  7. เมื่อได้ผลผลิตสามารถนำมาจำหน่ายให้สหกรณ์โรงเรียน
  8. สรุปผลการดำเนินงาน

 

147 123

16. ปลูกข้าวไร่

วันที่ 21 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีมะนาวไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  2. มีกล้วยหลายชนิดไว้รับประทานและใช้ประโยชน์
  3. มีปลาไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  4. มีปุ๋ยหมักอินทรีย์ใช้ในการเกษตรในโรงเรียน
  5. มีผักปลอดสารพิษ (ผักอินทรีย์) ที่หลากหลายในการนำมาประกอบอาหารกลางวัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินการปลูกต้นข้าว
  2. ได้ผลผลิตที่ราคาไม่สูง แต่คุณภาพสูงและนำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย
  3. มีความรักและสามัคคีในการทำงาน
  4. นักเรียนได้รับความรู้ในการปลูกข้าวไร่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. เกษตรอำเภอให้ความรู้เรื่องการปลูกข้าวไร่ให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
  2. นำเมล็ดพันธ์ข้าวมาให้ทางโรงเรียน
  3. เตรียมแปลงสำหรับปลูกข้าว
  4. นักเรียนและครูร่วมกันปลูกข้าวไร่
  5. ดูแลต้นข้าว
  6. เก็บเกี่ยวผลผลิต

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. เกษตรอำเภอให้ความรู้เรื่องการปลูกข้าวไร่ให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
  2. นำเมล็ดพันธ์ข้าวมาให้ทางโรงเรียน
  3. เตรียมแปลงสำหรับปลูกข้าว
  4. นักเรียนและครูร่วมกันปลูกข้าวไร่
  5. ดูแลต้นข้าว

 

35 38

17. ปลูกต้นหม่อน

วันที่ 6 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีมะนาวไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  2. มีกล้วยหลายชนิดไว้รับประทานและใช้ประโยชน์
  3. มีปลาไว้ประกอบอาหารและจำหน่าย
  4. มีปุ๋ยหมักอินทรีย์ใช้ในการเกษตรในโรงเรียน
  5. มีผักปลอดสารพิษ (ผักอินทรีย์) ที่หลากหลายในการนำมาประกอบอาหารกลางวัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินการปลูกต้นหม่อน
  2. ได้ผลผลิตที่ราคาไม่สูง แต่คุณภาพสูงและนำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย
  3. มีความรักและสามัคคีในการทำงาน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. โครงการหม่อนไหมจังหวัดน่านนำต้นหม่อนมาให้กับทางโรงเรียน
  2. เตรียมพื้นที่สำหรับปลูกต้นหม่อน
  3. ปลูกต้นหม่อน
  4. ดูแลต้นหม่อน
  5. เก็บเกี่ยวผลผลิต

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. โครงการหม่อนไหมจังหวัดน่านนำต้นหม่อนมาให้กับทางโรงเรียน
  2. เตรียมพื้นที่สำหรับปลูกต้นหม่อน
  3. ปลูกต้นหม่อน
  4. ดูแลต้นหม่อน

 

0 17

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 33 17                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 100,000.00 29,015.00                  
คุณภาพกิจกรรม 68 43                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. ประชุมจัดทำรายงานความก้าวหน้า ( 18 ต.ค. 2559 )
  2. เปิดโลกวิชาการ สืบสานพระราชดำริและวิถีชุมชน โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว ( 8 พ.ย. 2559 )
  3. หัวจ๋า เหา ลาก่อน ( 11 พ.ย. 2559 )
  4. ปลูกผักหมุนเวียนครั้งที่ 3 ( 11 พ.ย. 2559 )
  5. เพาะถั่วงอกอินทรีย์ประจำห้อง ( 15 พ.ย. 2559 )
  6. ปุ๋ยหมักอินทรีย์ ( 18 พ.ย. 2559 )
  7. ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน ครั้งที่ 2 ( 21 พ.ย. 2559 )
  8. เพาะเห็ดฟางจากซังข้าวโพด ( 25 พ.ย. 2559 )
  9. เลี้ยงปลานิล ครั้งที่ 2 ( 1 ธ.ค. 2559 )
  10. ครู นักเรียน แม่ครัว และคณะกรรมการโครงการ อบรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ ( 2 ธ.ค. 2559 )
  11. อย.น้อย ( 6 ธ.ค. 2559 - 31 มี.ค. 2560 )
  12. จัดระบบเฝ้าระวังและติดตามนักเรียน ( 9 ธ.ค. 2559 - 31 มี.ค. 2560 )
  13. จำหน่ายและแลกเปลี่ยนผลผลิตทางเกษตร ( 9 ธ.ค. 2559 - 3 มี.ค. 2560 )
  14. อบรมและศึกษาดูงานระบบสหกรณ์ให้คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน ( 13 ธ.ค. 2559 )
  15. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ ( 20 มี.ค. 2560 )
  16. ครอบครัวสุขภาพดี ( 24 มี.ค. 2560 )

(................................)
นายสวาท ทองบ้านทุ่ม
ผู้รับผิดชอบโครงการ