โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว

เพาะเมล็ดทานตะวัน อินทรีย์ ประจำห้องเรียนมัธยมศึกษา3 มิถุนายน 2559
3
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย PENNAPA TEEKA-ARYU
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ประชุมคณะครูในโรงเรียน เรื่อง แนวทางในการดำเนินงาน
  2. ครูแต่ละชั้นเรียนชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานให้นักเรียน
  3. ครูผู้รับผิดชอบโครงการ แบ่งกลุ่มนักเรียนยุวเกษตร เพื่อจัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ให้แต่ละระดับชั้น
  4. ครูและนักเรียนแต่ละชั้นร่วมกันออกแบบวางแผนการทำงาน
  5. นักเรียนแต่ละชั้นร่วมกันเพาะเมล็ดต้นอ่อนทานตะวัน
  6. แต่ละชั้นแบ่งหน้าที่กันดูแลต้นอ่อนทานตะวัน
  7. เก็บเกี่ยวต้นอ่อนทานตะวัน
  8. นำมาประกอบอาหารตามแต่ละเมนูของนักเรียนแต่ละระดับชั้น
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. นักเรียนและครูมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
  2. นักเรียนได้เกิดทักษะในการเรียนรู้การทำงานกลุ่ม และมีความรับผิดชอบในหน้าที่
  3. นักเรียนมีความตื่นตัวในการทำงานร่วมกัน
  4. นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ
  5. นักเรียนบางคนที่ไม่รับประทานผัก หันมารับประทานต้นอ่อนทานตะวัน ร้อยละ 100
circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 36 คน จากที่ตั้งไว้ 40 คน
ประกอบด้วย