ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว

รหัสโครงการ ศรร.1112-014 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.14 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

การปลูกข้าวไร่ พันธ์ุข้าวลืมผัว

การปลูกข้าวไร่ใช้เวลาในการปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวประมาณ 3-4 เดือน และไม่ต้องใช้น้ำปริมาณมาก ซึ่งเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ของโรงเรียนและชุมชน

  1. ได้รับการสนับสนุนเมล็ดพันธู์ และวิธีการเพาะปลูกข้าวจากศูนย์วิจัยข้าว จังหวัดแพร่
  2. จัดนักเรียนในการดับชั้นมธัยมศึกษาในการดำเนินงาน จำนวน 40 คน ครูและผู้ดูแลอีก 3 คน
  3. จัดเตรียมสถานที่ในการปลูกข้าว
  4. นักเรียนและครูลงมือปลูกข้าว
  5. นักเรียนผลัดเปลี่ยนกันดูแลข้าวที่ปลูก
  6. นักเรียนและครูลงมือเกี่ยวข้าว และนวดข้าวเอง
  7. แบ่งผลผลิตออกเป็น 3 ส่วนดังนี้

-ส่วนที่ 1 ส่งคืนศูนย์วิจัยข้าว จังหวัดแพร่

-ส่วนที่ 2 เก็บไว้เป็นพันธ์ุ เพือดำเนินงานในปีต่อไป

-ส่วนที่ 3 นำมารัปประทาน

นำเมล็ดพันธ์ที่เก็บไว้แบ่งออกเป็น 2 ส่วน

-ส่วนที่ 1 โรงเรียนดำเนินการปลูก

-ส่วนที่ 2 แจกให้ชาวบ้านที่สนใจนำไปปลูก เมื่อได้ผลผลิตให้นำส่งคืนโรงเรียนในอัตรา 1:2
เพื่อนำมาเป็นอาหารกลางวันนักเรียน และเก็บไว้ดำเนินงานในปีต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

 

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

 

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

 

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

 

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

ทางโรงเรียนได้จัดทำแปลงเกษตรในการปลูกผักหมุนเวียน แต่มีพื้นที่ค่อนข้างจำกัด ทำให้ปลูกได้ในปริมาณที่เพียงพอต่อการทำอาหารกลางวัน จึงได้แจกเมล็ดพันธุ์ผักให้ผู้ปกครองในการนำไปปลูกที่บ้านและนำกลับมาจำหน่ายให้กับทางโรงเรียน แต่ชาวบ้านบางส่วนประสบปัญหาภาวะสภาพภาวะอากาศทำให้ผลผลิตล้มตาย จึงได้ปริมาณผลผลิตเพียงเล็กน้อยที่นำกลับมาจำหน่ายให้กับทางโรงเรียน

  • กิจกรรมปลูกผักหมุนเวียนในโรงเรียน
  • กิจกรรมการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน
  • ติดตามประเมินผลการปลูกผักของชาวบ้านทุกอาทิตย์ เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที
  • แบ่งกลุ่มนักเรียนในการรับผิดชอบแปลงเกษตร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

ทางโรงเรียนมีการเลี้ยงไก่ไข่ และ สุกร โดยทางโครงการเกษตรนำไข่ไก่มาฝากขายให้กับสหกรณ์โรงเรียน และนำมาจำหน่ายทำเป็นอาหารเช้าและอาหารกลางวันให้นักเรียนหากเหลือจากการทำอาหารจะจัดจำหน่ายให้กับชุมชน

ส่วนไก่ที่ไม่มีผลผลิตแล้ว นำเนื้อไก่มาทำเป็นอาหาร

ส่วนสุกร เลี้ยงและจำหน่าย เพื่อนำเงินมาเป็นกองทุนหมุนเวียนในโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

กิจกรรมเลี้ยงปลาและไก่

  • ซื้อไก่ไข่มาทดแทนตัวที่ไม่ออกไข่ โดยใช้เงินที่ได้จากการจำหน่ายไข่ไก่
  • ผลิตอาหารให้สุกรและไก่ที่มีในชุมชน เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซื้ออาหาร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

ในรอบแรกมีการเลี้ยงปลากินพืช โดยได้พันธ์ุปลาจากกรมประมง แต่เจอภาวะนำหลาก ทำให้ปลาสูญหายไปเป็นจำนวน อีกทั้งเป็นปลาที่มีก้างมาก จึงไม่ได้นำมาประกอบอาหารให้นักเรียน ได้ทำการขายให้ชุมชน เพื่อนำเงินมาซื้อปลานิล และปลาดุก

รอบที่สอง ได้ซื้อปลามาเพิ่มลงในสระ แต่ยังไม่สามารถนำมาปรุงอาหารได้ เนื่องจากยังไม่โตเต็มที่

กิจกรรมเลี้ยงปลา

ทางโรงเรียนได้วางแผนโครงการเลี้ยงกบคอนโด และปลาดุกในบ่อซีเมนต์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

ทางโรงเรียนได้รับจัดสรรค่าอาหารจากโครงการ CCF จำนวน คน คนละ 15 บาท

นำผลผลิตจากโครงการเกษตรหมุนเวียนเพื่ออาหารกลางวันมาปรุงอาหาร ทำให้ลดค่าใช้จ่ายในบางส่วน

เอกสารโครงการอาหารเช้า

เพิ่มผลผลิตในโครงการเกษตรหมุนเวียนให้มากขึ้น โดยอาศัยความร่วมมือจากชุมชน เพื่อให้ได้ผลปลอดสาารพิษและมีปริมษณเพียงพอต่อการทำอาหาร

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

ทางโรงเรียนจัดเมนูอาหารกลางวันและอาหารเสริมตามโปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch

ส่วนอาหารเช้า โรงเรียนได้จัดอาหารให้นักเรียน แต่นักเรียนบางส่วนไม่ได้รับบริการเนื่องจากทานมาจากบ้าน ทำให้ควบคุมเรื่องผักและผลไม้ อาจจะไม่ได้ปริมาณที่นักเรียนต้องการในแต่ละวัน

แม่ครัว ตักอาหารตามที่ได้รับการฝึกอบรมจากครูโภชนาการ เพื่อตักให้นักเรียนตามปริมาณความต้องการของนักเรียนแต่ละช่วงวัย

  • โครงการอาหารกลางวันโรงเรียน
  • โปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
  • กิจกรรมอบรมคุณภาพอาหารและสุขลักษณะนิสัยที่ดี
  • ศึกษาดูงานโรงเรียนที่ได้รับคัดเลือกเป็นต้นแบบการจัดเมนูอาหารกลางวันให้นักเรียน
  • ใช้โปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch สำหรับอาหารเช้า
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ทางโรงเรียนจัดเมนูอาหารกลางวันและอาหารเสริมตามโปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch

ส่วนอาหารเช้า โรงเรียนได้จัดอาหารให้นักเรียน แต่นักเรียนบางส่วนไม่ได้รับบริการเนื่องจากทานมาจากบ้าน ทำให้ควบคุมเรื่องผักและผลไม้ อาจจะไม่ได้ปริมาณที่นักเรียนต้องการในแต่ละวัน

แม่ครัว ตักอาหารตามที่ได้รับการฝึกอบรมจากครูโภชนาการ เพื่อตักให้นักเรียนตามปริมาณความต้องการของนักเรียนแต่ละช่วงวัย

  • โครงการอาหารกลางวันโรงเรียน
  • โปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
  • กิจกรรมอบรมคุณภาพอาหารและสุขลักษณะนิสัยที่ดี
  • ศึกษาดูงานโรงเรียนที่ได้รับคัดเลือกเป็นต้นแบบการจัดเมนูอาหารกลางวันให้นักเรียน
  • ใช้โปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch สำหรับอาหารเช้า
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ทางโรงเรียนจัดเมนูอาหารกลางวันและอาหารเสริมตามโปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch

ส่วนอาหารเช้า โรงเรียนได้จัดอาหารให้นักเรียน แต่นักเรียนบางส่วนไม่ได้รับบริการเนื่องจากทานมาจากบ้าน ทำให้ควบคุมเรื่องผักและผลไม้ อาจจะไม่ได้ปริมาณที่นักเรียนต้องการในแต่ละวัน

แม่ครัว ตักอาหารตามที่ได้รับการฝึกอบรมจากครูโภชนาการ เพื่อตักให้นักเรียนตามปริมาณความต้องการของนักเรียนแต่ละช่วงวัย

  • โครงการอาหารกลางวันโรงเรียน
  • โปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
  • กิจกรรมอบรมคุณภาพอาหารและสุขลักษณะนิสัยที่ดี
  • ศึกษาดูงานโรงเรียนที่ได้รับคัดเลือกเป็นต้นแบบการจัดเมนูอาหารกลางวันให้นักเรียน
  • ใช้โปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch สำหรับอาหารเช้า
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ทางโรงเรียนได้แจกเมล็ดพันธุ์แบ่งออกเป็น 2 รอบ โดยได้รับความสนใจและได้รับความร่วมมือในการเข้าร่วมโครงการเป็นอย่างดี แต่ระหว่างการดำเนินงานได้รับผลกระทบจากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่บ่อยครั้ง ทำให้ผลผลิตที่ได้จากชุมชนมีปริมาณไม่เพียงพอตามที่วางแผนไว้

กิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน

  • ติดตามประเมินผลการปลูกผักของชาวบ้านทุกอาทิตย์ เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

ทางโรงเรียนจัดเมนูอาหารกลางวันและอาหารเสริมตามโปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch เป็นรายสัปดาห์

  • โครงการอาหารกลางวันโรงเรียน
  • โปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
  • อยากใช้โปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch สำหรับอาหารเช้า
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

ทางโรงเรียนมีการประเมินภาวะโภชนาการตอนเปิดเทอม และก่อนปิดเทอม อยู่สม่ำเสมอ เพื่อติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนและจะได้ร่วมกันแก้ไข

โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

  • ให้ผู้ปกครองมีส่วนเกี่ยวข้องในการติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนเพิ่มขึ้น
3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/12563 1/12563 1/2
เตี้ย 3.13 3.13% 4.17 4.17% 3.33 3.33% 4.13 4.13% 4.13 4.13% 4.88 4.88% 5.69 5.69% 4.80 4.80% 4.76 4.76% 6.19 6.19% 4.10 4.10% 3.25 3.25% 3.15 3.15% 2.52 2.52% 2.56 2.56% 1.68 1.68% 1.72 1.72% 2.59 2.59%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 5.47 5.47% 9.17 9.17% 10.83 10.83% 9.92 9.92% 4.96 4.96% 9.76 9.76% 8.94 8.94% 6.40 6.40% 8.73 8.73% 8.85 8.85% 7.38 7.38% 6.50 6.50% 6.30 6.30% 5.88 5.88% 5.98 5.98% 6.72 6.72% 6.03 6.03% 6.90 6.90%
ผอม 2.34 2.34% 6.03 6.03% 2.50 2.50% 3.31 3.31% 2.48 2.48% 4.10 4.10% 1.61 1.61% 1.60 1.60% 4.76 4.76% 1.77 1.77% 2.46 2.46% 3.25 3.25% 4.72 4.72% 3.36 3.36% 0.85 0.85% 0.00 0.00% 1.72 1.72% 1.72 1.72%
ผอม+ค่อนข้างผอม 7.03 7.03% 15.52 15.52% 10.00 10.00% 10.74 10.74% 3.31 3.31% 9.84 9.84% 7.26 7.26% 8.80 8.80% 16.67 16.67% 9.73 9.73% 7.38 7.38% 8.13 8.13% 7.87 7.87% 9.24 9.24% 5.98 5.98% 4.24 4.24% 6.90 6.90% 7.76 7.76%
อ้วน 6.25 6.25% 7.76 7.76% 6.67 6.67% 8.26 8.26% 8.26 8.26% 9.84 9.84% 7.26 7.26% 6.40 6.40% 6.35 6.35% 7.08 7.08% 5.74 5.74% 4.88 4.88% 5.51 5.51% 10.08 10.08% 8.55 8.55% 5.93 5.93% 10.34 10.34% 8.62 8.62%
เริ่มอ้วน+อ้วน 10.94% 10.94% 10.34% 10.34% 12.50% 12.50% 10.74% 10.74% 10.74% 10.74% 12.30% 12.30% 13.71% 13.71% 12.80% 12.80% 11.11% 11.11% 12.39% 12.39% 12.30% 12.30% 13.01% 13.01% 11.81% 11.81% 13.45% 13.45% 11.97% 11.97% 12.71% 12.71% 14.66% 14.66% 12.93% 12.93%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

 

 

  • นักเรียนกลุ่มที่มีปัญหาภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนออกกำลังกายและทำกิจกรรมเพิ่มขึ้น
  • ชี้แนะและให้ข้อมูลกับผู้ปกครอง เพื่อให้มีส่วนร่วมในการติดตามและควบคุมเรื่องอาหารและปริมาณที่ทานให้เหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

ทางโรงเรียนจัดเมนูอาหารเช้าให้กับนักเรียน ส่วนเมนูอาหารกลางวันและอาหารเสริมตามโปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School Lunch

  • ข้อมูลโภชนาการโรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
  • กราฟ
  • จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้ออกกำลังกายอย่างน้อยอาทิตย์ละ 3 ครั้ง
  • ชี้แนะและให้ข้อมูลกับผู้ปกครอง เพื่อให้มีส่วนร่วมในการติดตามและควบคุมเรื่องอาหารและปริมาณที่ทานให้เหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

ทางโรงเรียนจัดอาหารเสริมนมและเน้นการออกกำลังกายให้กล้ามเนื้อได้ยืดตัว

  • ข้อมูลโภชนาการโรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
  • กราฟ
  • จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้ออกกำลังกายอย่างน้อยอาทิตย์ละ 3 ครั้ง
  • ชี้แนะและให้ข้อมูลกับผู้ปกครอง เพื่อให้มีส่วนร่วมในการติดตามและควบคุมเรื่องอาหารและปริมาณที่ทานให้เหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

ทางโรงเรียนมีการประเมินภาวะโภชนาการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำข้อมูลส่งคืนครูประจำชั้นเพื่อนำผลแจ้งให้ผู้ปกครองรับทราบ และร่วมหาทางแก้ไขและส่งเสริมนักเรียนร่วมกัน

  • ข้อมูลโภชนาการโรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว

ชี้แนะและให้ข้อมูลกับผู้ปกครอง เพื่อให้มีส่วนร่วมในการติดตามและควบคุมเรื่องอาหารและปริมาณที่ทานให้เหมาะสม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

 

 

ชี้แนะและให้ข้อมูลกับผู้ปกครอง เพื่อให้มีส่วนร่วมในการติดตามและควบคุมเรื่องอาหารและปริมาณที่ทานให้เหมาะสม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เด็กนักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิตสามารถนำไปใช้ได้จริง (2) เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ในการดูแลสุขภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร (3) เพื่อพัฒนาให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน

กิจกรรมหลักคือ (1) โครงการพัฒนาคุณภาพบุคลากร (2) โครงการตลาดนัดชุมชนในโรงเรียน (3) โครงการเกษตรในโรงเรียน (4) โครงการสหกรณ์นักเรียน (5) โครงการส่งเสริมสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ครู แม่ครัว ผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา อบรมเรื่องคุณภาพอาหารและสุขลักษณะนิสัยที่ดี (2) อย.น้อย (3) จัดระบบเฝ้าระวังและติดตามนักเรียน (4) ครู นักเรียน แม่ครัว และคณะกรรมการโครงการ อบรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ (5) เปิดโลกวิชาการ สืบสานพระราชดำริและวิถีชุมชน โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว (6) ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน ครั้งที่ 1 (7) ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน ครั้งที่ 2 (8) จำหน่ายและแลกเปลี่ยนผลผลิตทางเกษตร (9) ครอบครัวสุขภาพดี (10) เพาะเมล็ดทานตะวัน อินทรีย์ ประจำห้องเรียนมัธยมศึกษา (11) ปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์ ครั้งที่ 1 (12) ปลูกกล้วย (13) ปลูกผักหมุนเวียน ครั้งที่ 1 (14) เลี้ยงปลานิล ครั้งที่ 1 (15) ปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์ครั้งที่ 2 (16) เพาะเมล็ดทานตะวัน อินทรีย์ ประจำห้องเรียนประถมศึกษา (17) ปลูกผักหมุนเวียน ครั้งที่ 2 (18) ปลูกข้าวไร่ (19) ปลูกต้นหม่อน (20) เพาะถั่วงอกอินทรีย์ประจำห้อง (21) เพาะเห็ดฟางจากซังข้าวโพด (22) เลี้ยงปลานิล ครั้งที่ 2 (23) ปลูกผักหมุนเวียนครั้งที่ 3 (24) ปุ๋ยหมักอินทรีย์ (25) อบรมและศึกษาดูงานระบบสหกรณ์ให้คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน (26) สุขภาพดี ไม่มีพยาธิ (27) ธนาคารขยะ (28) แอโรบิค เพื่อสุขภาพ (29) วัยใส ยิ้มสวย (30) คุณค่าสารอาหาร (31) ประชุมจัดทำรายงานความก้าวหน้า (32) หัวจ๋า เหา ลาก่อน (33) คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh