แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย ”
279 ถนนรามคำแหง ตำบลหัวเดียด อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก
หัวหน้าโครงการ
ดร.สุพจนีย พัดจาด
ได้รับการสนับสนุนโดย โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย
ที่อยู่ 279 ถนนรามคำแหง ตำบลหัวเดียด อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก จังหวัด ตาก
รหัสโครงการ ศรร.1122-021 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.021
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย จังหวัดตาก" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 279 ถนนรามคำแหง ตำบลหัวเดียด อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย " ดำเนินการในพื้นที่ 279 ถนนรามคำแหง ตำบลหัวเดียด อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก รหัสโครงการ ศรร.1122-021 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 213 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่าเด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวัน
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อจัดอาหารกลางวันตามมาตรฐานโภชนาการ (TSL) ให้นักเรียนได้รับประทาน มีสุขภาพดีเติบโตสมวัย
- เพื่อให้ ครูและ นักเรียน มีความรู้เรื่องกิจกรรมการเกษตรที่ดีในโรงเรียน และกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน นำไปสู่การปฏิบัติได้
- โรงเรียนมีรูปแบบการแก้ปัญหาทุพโภชนาการ
- เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและนักเรียนกลุ่มเสี่ยง เรื่องการจัดการด้านอาหาร นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคเพื่อสุขภาพ
- เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างชุมชนและผู้ปกครองกับโรงเรียน ในการนำผลผลิตเกษตรปลอดภัยสู่อาหารกลางวันของโรงเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีโภชนาการสมวัย ได้รับประทานอาหารกลางวันตามมาตรฐานโภชนาการ (TSL) และ มีสุขภาพดีเติบโตสมส่วน
- ครู นักเรียน มีความรู้เรื่องกิจกรรมการเกษตรที่ดีในโรงเรียน และกิจกรรมสหกรณ์ นำไปสู่การปฏิบัติได้ และมีความซื่อสัตย์ สุจริตต่อหน้าที่ ทำให้โรงเรียนสามารถพึ่งพาตนเองได้ จากการหมุนเวียนทุนโดยการขับเคลื่อนของสหกรณ์เพื่อการเกษตร
- โรงเรียนมีรูปแบบการแก้ปัญหาทุพโภชนาการ
- นักเรียน ผู้ปกครอง เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการด้านอาหาร จากสิ่งแวดล้อมที่สร้างขึ้น
- ชุมชนและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการสร้างผลผลิตเกษตรปลอดภัยสู่โรงเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ปลูกวันแม่เกี่ยววันพ่อ
วันที่ 11 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๒ วัดดอนมูลชัย ได้เพาะกล้่่าเตรียมปลูกนาในโครงการเกษตรผสมผสาน ตามแนวเกษตรอินทรีย์ของโรงเรียน ทั้งนี้เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ได้รับความรู้ สามารถนำไปต่อยอดการประกอบอาชีพ และส่งเสริมให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของเกษตรกรรมอันเป็นอาชีพพื้นฐานของประเทศไทย และเพื่อนำต้นกล้าไปปลูกในวันกิจกรรมปลูกวันแม่เกี่ยววันพ่อ ตามโครงการเกษตรกรรมผสมผสาน ตามแนวเกษตรอินทรีย์ ร่วมกับองค์การบริหารส่วนจังหวัดตาก ทำนา 1 ไร่ ได้เงิน 100,000 90 แปลง 90 พรรษา เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาส ที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา 90 พรรษา 5 ธันวาคม 2560 ภายในงานมีการให้ความรู้เกี่ยวกับการทำนา มอบทุนการศึกษา จำนวน 63 ทุน และ
ทั้งนี้ทางโรงเรียนได้รับการอนุเคราะห์จาก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1. นักเรียน ผู้ที่สนใจได้เรียนรู้กระบวนการทางการเกษตรตามแบบเศรษฐกิจพอเพียง
2. นักเรียน ครู ผู้ที่สนใจ ได้ทำกิจกรรมการทำนา การปลูกพืช เพาะพันธุ์ต้นไม้ ในสถานศึกษา
และแหล่งเรียนรู้ชุมชน
3. มีแหล่งเรียนรู้เรื่องเกษตรเศรษฐกิจ และเกษตรผสมผสานทฤษฎีใหม่ ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
4. มีแหล่งเรียนรู้เรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา
5. เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ได้ทำกิจกรรมด้านการเกษตรร่วมกัน
นักเรียน ท้องถิ่น ชุมชน ได้ตระหนัก เห็นความสำคัญเรื่องการใช้ชีวิตแบบพอเพียง
223
223
2. ประชุมตรวจโครงการฯและทำรายงานการเงิน รายงานกิจกรรม งวดที่ 1
วันที่ 10 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
4
4
3. ปลูกผักบุ้งและผักกวางตุ้ง
วันที่ 21 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.เตรียมดินใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ยกแปลงขนาด 1 x 10 ตรม. จำนวน 10 แปลง ใช้เวลารวม 7 วัน
2.ครูและนักเรียนชุมนุมโครงการเกษตรตามรอยพ่อโรงเรียนพอเพียง(ปลูกผักสวนครัว) รวม 10 คน ทำการปลูก
4.ดูแลรักษาแปลงโดยการให้น้ำวันละ 2 ครั้ง เช้า เย็น และใส่ปุ๋ยอินทรีย์เมื่อลำต้นสูงครึ่งฟุต ตามแปลงที่รับผิดชอบ
5.เก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่อครบประมาณ 21 วัน(ผักบุ้ง) และ 30วัน (ผักกวางตุ้ง)
6.นักเรียนในชุมนุมฯนำผลผลิตที่ปลูกได้ขายให้กับสหกรณ์นักเรียน ในราคาต่ำกว่าท้องตลาด
- ผักบุ้ง กก.ละ 20 บาท (ราคาตลาด 25-30 บาท)
- ผักกวางตุ้ง กก.ละ 22 บาท (ราคาตลาด 25-30 บาท)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต(Output)
๑. นักเรียนในโรงเรียนเทศบาล ๒ วัดดอนมูลชัยได้เรียนรู้เรื่องหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง (การปลูกพืชผักสวนครัว) ร้อยเปอร์เซ็นต์
๒. มีแหล่งเรียนรู้ ในโรงเรียน คือ แปลงปลูกพืชผักสวนครัว ขนาด ๑.๒ ไร่
ผลลัพธ์(Outcome)
๑. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้กระบวนการปลูกพืชผักสวนครัวแนวเกษตรอินทรีย์ทำให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง
ได้ปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน อีกทั้งยังนำผลผลิตที่ได้มาประกอบเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน ทำให้
นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัยปราศจากสารเคมี
13
193
4. ปรับปรุงดินในแปลงเกษตร
วันที่ 7 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จ้างเหมาบริการถมดินดำพร้อมลงปุ๋ยอินทรีย์ในแปลงเกษตรโรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แปลงเกษตรมีดินที่มีคุณภาพเหมาะแก่การปลูกพืชผักสวนครัว
0
0
5. ปรับปรุงระบบน้ำในแปลงเกษตร
วันที่ 7 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จ้างเหมาบริการวางระบบน้ำโดยรอบบริดวณแปลงเกษตร
2.จ้างเหมาบริการปรับปรุงแท้งค์น้ำเก่าพร้อมติดตั้งปั๊มน้ำอัตโนมัติ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.แปลงเกษตรมีระบบน้ำที่ดี สะดวกต่อการใช้ดูแลพืชผักสวนครัว
0
0
6. ปลูกวันแม่เกี่ยววันพ่อ
วันที่ 2 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
โรงเรียนร่วมกับผู้ปกครองและองค์กรภาคีเครือข่ายเกี่ยวข้าวในนาข้าวของโรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลลิต
๑. นักเรียนในโรงเรียนเทศบาล ๒ วัดดอนมูลชัยได้ปฏิบัติกิจกรรมทุกคน
๒. มีแหล่งเรียนรู้ ในโรงเรียน คือ พื้นที่ในการทำนาและเกษตรผสมผสานแนวเกษตรอินทรีย์
จำนวน ๔ แปลง ในพื้นที่ ๑.๕ ไร่
๓. ผู้ปกครองประชาชนที่สนใจได้ร่วมกิจกรรม
ผลลัพธ์
๑. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้กระบวนการทำนาและเกษตรผสมผสานแนวเกษตรอินทรีย์ทำให้นักเรียน ครู
ผู้ปกครอง ได้ปฏิบัติกิจกรรมการทำนาและเกษตรผสมผสานแนวเกษตรอินทรีย์ร่วมกัน อีกทั้งยังนำ
ผลผลิตที่ได้มาประกอบเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน ทำให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่
ปลอดภัยปราศจากสารเคมี
193
225
7. แก้มใสทำได้จริง
วันที่ 23 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.คัดเลือกนักเรียนที่มีภาวะเสี่ยง มาดูแลเป็นพิเศษ
2.ให้รางวัลกับนักเรียนที่สามารถทำให้น้ำหนังของตัวเองสมวัยที่สุด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1.คัดกรองนักเรียนที่มีภาวะเสี่ยง
ผลลัพธ์
1.นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย
100
28
8. เด็กไทยแก้มใส สายใยครอบครัว
วันที่ 23 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชาสัมพันธ์ให้นักเรียน ครู ได้รับทราบรายละเอียดกิจกรรม
2.เชิญผู้ปกครองมาประชุมรับฟังหลักการและรายละเอียดกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1.จัดประชุมให้ความรู้กับนักเรียน ครู ผู้ปกครอง
ผลลัพธ์
1.ครู ผู้ปกครอง และนักเรียน เกิดองค์ความรู้ในเรื่องหลักการโภชนาการสมวัย
100
349
9. ท้องอิ่ม สมองใส
วันที่ 23 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.โรงเรียนจัดเมนูอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
ครบถ้วน จากรูปแบบการจัดการด้านอาหาร Thai
school. lunch program
2.ให้ความรู้กับผู้ปกครองและนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1.โรงเรียนมีเมนูอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีความพร้อมในการเรียน เนื่องจากได้รับอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วน มีพัฒนาการที่สมวัย
183
183
10. สหกรณ์เพื่อการเกษตร
วันที่ 24 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.สร้างสหกรณ์เพื่อการเกษตรขึ้นในโรงเรียนเพื่อรับซื้อผลผลิตทางการเกษตรจากโครงการต่างๆของโรงเรียน
2.สหกรณ์ส่งผลผลิตทางการเกษตรต่อให้กับโรงอาหารเพื่อจัดทำโครงการอาหารกลางวันให้กับนักเรียน ตามรูปแบบ
การจัดการด้านอาหาร Thai school. Lunch program
3.แบ่งผลกำไรตามหุ้น เมื่อสิ้นปีการศึกษา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
213
0
11. หนูน้อยนักสหกรณ์
วันที่ 31 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.อบรมนักเรียนที่มีหน้าที่รับผิดชอบสหกรณ์เพื่อการเกษตรของโรงเรียนให้มีความรู้เรื่องสหกรณ์เพื่อการเกษตร นำไปสู่การปฏิบัติได้ และมีความ
ซื่อสัตย์สุจริตต่อหน้าที่
2.นำนักเรียนศึกษาดูงานโรงเรียนบ้านวังประจบ ที่ได้จัดทำระบบสหกรณ์นักเรียน แล้วประสบความสำเร็จ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลลิต
1.นักเรียนได้รับการอบรม
2.นักเรียนได้ศึกษาดูงาน
ผลลัพธ์
1.นักเรียนมีความรู้ และสามารถนำมาปรับใช้ที่โรงเรียนได้
7
10
12. พัฒนาครู สู่ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส
วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.อบรมคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา เรื่อง หลักการโครงการศูนย์การเรียนรู้โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสเพื่อให้ทราบถึงหลักการ และรูปแบบที่ถูกต้อง
2.นำครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนศึกษาดูงานโรงเรียนบ้านวังประจบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1.ครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในชุมนุนที่รับผิดชอบในกิจกรรมเด็กไทยแก้มใสได้ศึกษาดูงาน
ผลลัพธ์
1.ครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในชุมนุนที่รับผิดชอบในกิจกรรมเด็กไทยแก้มใส ได้ความรู้และแนวทางปฏิบัติมาปรับใช้ดำเนินงานกิจกรรมแก้มใสในโรงเรียน
17
0
13. แม่ครัวหัวใจ นักโภชนา
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดอบรมแม่ครัวให้รู้หลักโภชนาการที่ถูกต้องตามรูปแบบการจัดการอาหาร(TSL)
2.นำแม่ครัวศึกษาดูงานโรงเรียนบ้านวังประจบที่ได้จัดทำโครงการเด็กไทยแก้มใส แล้วประสบความสำเร็จ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1.อบรมแม่ครัวทั้ง 2 คน ให้รู้หลักโภชนาการที่ถูกต้อง
2.นำแม่ครัวและครูโภชนาการศึกษาดูงาน
ผลลัพธ์
1.แม่ครัวและครูโภชนาการได้รับความรู้ หลักโภชนาการที่ถูกต้องและสามารถนำมาปรับใช้ได้กับที่โรงเรียน
4
4
14. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ
วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ถอนเงินคืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ จำนวน 137.06 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ยอดเงินในบัญชีเป็น 0 บาท
0
3
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อจัดอาหารกลางวันตามมาตรฐานโภชนาการ (TSL) ให้นักเรียนได้รับประทาน มีสุขภาพดีเติบโตสมวัย
ตัวชี้วัด : 1.มีเมนูอาหารกลางวันตามมาตรฐานโภชนาการ (TSL)หมุ่นเวียนรายเดือนที่นำไปให้แม่ครัวจัดทำอาหารกลางวัน
2.นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันครบถ้วนตามหลักโภชนาการ
3.นักเรียนมีร่างกายเติบโตสมวัย
2
เพื่อให้ ครูและ นักเรียน มีความรู้เรื่องกิจกรรมการเกษตรที่ดีในโรงเรียน และกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน นำไปสู่การปฏิบัติได้
ตัวชี้วัด : 1.มีผักสวนครัวและผลไม้อย่างน้อย....ชนิด(ได้แก่)เป็นอาหารให้นักเรียน
2.นักเรียนสามารถจัดทำสหกรณ์นักเรียนได้ตามขั้นตอนที่ถูกต้อง
3.โรงเรียนมีสื่อ ที่โรงเรียนผลิตขึ้นใช้สอนนักเรียนและใช้เป็นแบบในการถ่ายทอดความรู้ให้กับ 3 โรงเรียนเครือข่ายและ 4 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองตาก
3
โรงเรียนมีรูปแบบการแก้ปัญหาทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีโภชนาการสมวัย โดย
1. มีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน 10 %
2. มีภาวะค่อนข้างผอม และผอม ไม่เกิน 10 %
3. มีภาวะค่อนข้างเตี้ย และเตี้ยไม่เกิน 10 %
4
เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและนักเรียนกลุ่มเสี่ยง เรื่องการจัดการด้านอาหาร นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคเพื่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเสี่ยงจัดอาหารที่บ้านให้นักเรียนถูกต้องตามหลักโภชนาการ
2.นักเรียนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมการบริโภคและภาวะโภชนาการที่ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเปรียบเทียบระหว่างภาคการศึกษาที่1/2559 ต้นเทอม กับ ภาคการศึกษาที่ 2 ปี 2559 ปลายเทอม
5
เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างชุมชนและผู้ปกครองกับโรงเรียน ในการนำผลผลิตเกษตรปลอดภัยสู่อาหารกลางวันของโรงเรียน
ตัวชี้วัด : 1.มีข้อตกลงความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชนในการวางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับเมนูอาหารกลางวันรายเดือน
2.มีผลผลิตเกษตรปลอดภัยที่ผู้ปกครองจำหน่ายให้แก่โรงเรียนเพื่อนำไปจัดทำอาหารกลางวันไม่น้อยกว่าร้อยล่ะ 50 ของความต้องการ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดอาหารกลางวันตามมาตรฐานโภชนาการ (TSL) ให้นักเรียนได้รับประทาน มีสุขภาพดีเติบโตสมวัย (2) เพื่อให้ ครูและ นักเรียน มีความรู้เรื่องกิจกรรมการเกษตรที่ดีในโรงเรียน และกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน นำไปสู่การปฏิบัติได้ (3) โรงเรียนมีรูปแบบการแก้ปัญหาทุพโภชนาการ (4) เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและนักเรียนกลุ่มเสี่ยง เรื่องการจัดการด้านอาหาร นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคเพื่อสุขภาพ (5) เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างชุมชนและผู้ปกครองกับโรงเรียน ในการนำผลผลิตเกษตรปลอดภัยสู่อาหารกลางวันของโรงเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย
รหัสโครงการ ศรร.1122-021 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.021 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
การเกษตรผสมผสานแนวอินทรีย์
ทำการเกษตรแนวอินทรีย์ เพื่อผลิตวัตถุดิบเข้าสู่โครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน ได้แก่ การทำนา การปลูกผัก การเลี้ยงไก่ไข่ การเพาะเห็ดนางฟ้า การปลูกสมุนไพร และการเลี้ยงปลา
1) ขยายผลการปฏิบัติสู่โรงเรียนเครือข่าย
2) แหล่งงบประมาณที่สนับสนุนการพัฒนาต่อเนื่อง
2.1 งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากการสมัครเข้าร่วมโครงการการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น (School Based Management for Local Development : SBMLD) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย สูงสุดจำนวน 1,000,000 บาทต่อปี (ปีงบประมาณ พ.ศ.2558 ได้รับจัดสรร 155,000 บาท,ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ได้รับจัดสรร 345,000 บาท)
2.2 งบประมาณสนับสนุนจากอำเภอเมืองตาก ซึ่งโรงเรียนได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ตามแนวพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ จำนวน 50,000 บาทต่อปี
2.3 งบประมาณที่โรงเรียนได้รับจากการคัดเลือกสถานศึกษาในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ดำเนินการด้านการป้องกันเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดดีเด่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย จำนวน 100,000 บาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
สหกรณ์ออมบุญ
เป็นสหกรณ์ที่ไม่ได้ลงหุ้นเป็นจำนวนเงิน แต่จะเป็นการนำเวลาในการทำงานจิตสาธารณะในกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนมาลงหุ้น เรียกว่า หุ้นแรง โดย 1 ชั่วโมง เท่ากับ 1 แรง และ 1 แรง เท่ากับ 1 หุ้น นักเรียนจะได้รับสติ๊กเกอร์ใบโพธิ์ติดที่สมุดออมบุญ เพื่อเก็บไว้ปันผลเป็นเงินตอนสิ้นปี หรือ เลือกใช้เป็น passport หรือ โควต้าในการพิจารณาขอรับทุนการศึกษาหรือเข้าศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษา
ขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
1.กินทุกอย่างที่ปลูก ปลูกทุกอย่างที่กิน
2.อาสาสมัครแม่บ้านโรงเรียน (อ.ส.ม.โรงเรียน)
วัตถุดิบที่เข้าสู่โรงอาหารจะเป็นวัตถุดิบที่โรงเรียนผลิตเอง ทั้งผัก ไข่ ปลา เห็ด
1) ขยายผลสู่ชุมชนและโรงเรียนเครือข่าย โดยทำบันทึกความเข้าใจ (MOU) เพื่อร่วมกันผลิจและจัดหาวัตถุดิบที่มีคุณภาพที่โรงเรียนยังไม่สามารถผลิตได้เพียงพอเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน
2) ช่วยเหลือชุมชนสร้างคู่ค้ากับโรงเรียนเครือข่าย เมื่อโรงเรีนยมีวัตถุดิบที่มีคุณภาพ สะอาด ปลอดภัย เข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน 100%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
โครงการแก้มใสทำได้จริง
คัดเลือกนักเรียนที่มีภาวะเสี่ยง (อ้วน/ผอม เกินเกณฑ์) มาอบรมให้ความรู้พร้อมผู้ปกครอง แล้วจัดการแข่งขัน นักเรียนที่สามารถพัฒนาตนเองให้มีร้อยละของพัฒนาการสมวัยที่สูงขึ้น โรงเรียนจะมอบเกียรติบัตรให้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง
1) ติดตามและเฝ้าระวังนักเรียนเป็นรายบุคคลอย่างใกล้ชิด ต่อเนื่อง สม่ำเสมอ ทั้งที่โรงเรียนและการเยี่ยมบ้าน
2) จัดทำสมุดบันทึกสุขภาพ บันทึกโภชนาการของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
พี่น้องพ้องใจ
รุ่นพี่ทำตัวอย่างที่ดีให้รุ่นน้องปฏิบัติตาม เช่น การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร การต่อแถวรับอาหารและกดน้ำ การล้างแก้วน้ำ การแปรงฟันหลังรับประทานอาหาร
ขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
โรงอาหาร 5 ดาว
ปรับปรุงโรงอาหารให้ถูกสุขลักษณะในระดับสูงสุด อาทิ การใช้อ่างล้างวัตถุดิบ,โต๊ะประกอบอาหารที่ทำจากสแตนเลส
ขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย จังหวัด ตาก
รหัสโครงการ ศรร.1122-021
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ดร.สุพจนีย พัดจาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย ”
279 ถนนรามคำแหง ตำบลหัวเดียด อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก
หัวหน้าโครงการ
ดร.สุพจนีย พัดจาด
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ที่อยู่ 279 ถนนรามคำแหง ตำบลหัวเดียด อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก จังหวัด ตาก
รหัสโครงการ ศรร.1122-021 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.021
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย จังหวัดตาก" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 279 ถนนรามคำแหง ตำบลหัวเดียด อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย " ดำเนินการในพื้นที่ 279 ถนนรามคำแหง ตำบลหัวเดียด อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก รหัสโครงการ ศรร.1122-021 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 213 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่าเด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวัน จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อจัดอาหารกลางวันตามมาตรฐานโภชนาการ (TSL) ให้นักเรียนได้รับประทาน มีสุขภาพดีเติบโตสมวัย
- เพื่อให้ ครูและ นักเรียน มีความรู้เรื่องกิจกรรมการเกษตรที่ดีในโรงเรียน และกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน นำไปสู่การปฏิบัติได้
- โรงเรียนมีรูปแบบการแก้ปัญหาทุพโภชนาการ
- เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและนักเรียนกลุ่มเสี่ยง เรื่องการจัดการด้านอาหาร นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคเพื่อสุขภาพ
- เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างชุมชนและผู้ปกครองกับโรงเรียน ในการนำผลผลิตเกษตรปลอดภัยสู่อาหารกลางวันของโรงเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีโภชนาการสมวัย ได้รับประทานอาหารกลางวันตามมาตรฐานโภชนาการ (TSL) และ มีสุขภาพดีเติบโตสมส่วน
- ครู นักเรียน มีความรู้เรื่องกิจกรรมการเกษตรที่ดีในโรงเรียน และกิจกรรมสหกรณ์ นำไปสู่การปฏิบัติได้ และมีความซื่อสัตย์ สุจริตต่อหน้าที่ ทำให้โรงเรียนสามารถพึ่งพาตนเองได้ จากการหมุนเวียนทุนโดยการขับเคลื่อนของสหกรณ์เพื่อการเกษตร
- โรงเรียนมีรูปแบบการแก้ปัญหาทุพโภชนาการ
- นักเรียน ผู้ปกครอง เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการด้านอาหาร จากสิ่งแวดล้อมที่สร้างขึ้น
- ชุมชนและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการสร้างผลผลิตเกษตรปลอดภัยสู่โรงเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ปลูกวันแม่เกี่ยววันพ่อ |
||
วันที่ 11 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๒ วัดดอนมูลชัย ได้เพาะกล้่่าเตรียมปลูกนาในโครงการเกษตรผสมผสาน ตามแนวเกษตรอินทรีย์ของโรงเรียน ทั้งนี้เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ได้รับความรู้ สามารถนำไปต่อยอดการประกอบอาชีพ และส่งเสริมให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของเกษตรกรรมอันเป็นอาชีพพื้นฐานของประเทศไทย และเพื่อนำต้นกล้าไปปลูกในวันกิจกรรมปลูกวันแม่เกี่ยววันพ่อ ตามโครงการเกษตรกรรมผสมผสาน ตามแนวเกษตรอินทรีย์ ร่วมกับองค์การบริหารส่วนจังหวัดตาก ทำนา 1 ไร่ ได้เงิน 100,000 90 แปลง 90 พรรษา เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาส ที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา 90 พรรษา 5 ธันวาคม 2560 ภายในงานมีการให้ความรู้เกี่ยวกับการทำนา มอบทุนการศึกษา จำนวน 63 ทุน และ ทั้งนี้ทางโรงเรียนได้รับการอนุเคราะห์จาก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1. นักเรียน ผู้ที่สนใจได้เรียนรู้กระบวนการทางการเกษตรตามแบบเศรษฐกิจพอเพียง
|
223 | 223 |
2. ประชุมตรวจโครงการฯและทำรายงานการเงิน รายงานกิจกรรม งวดที่ 1 |
||
วันที่ 10 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
4 | 4 |
3. ปลูกผักบุ้งและผักกวางตุ้ง |
||
วันที่ 21 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.เตรียมดินใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ยกแปลงขนาด 1 x 10 ตรม. จำนวน 10 แปลง ใช้เวลารวม 7 วัน 2.ครูและนักเรียนชุมนุมโครงการเกษตรตามรอยพ่อโรงเรียนพอเพียง(ปลูกผักสวนครัว) รวม 10 คน ทำการปลูก 4.ดูแลรักษาแปลงโดยการให้น้ำวันละ 2 ครั้ง เช้า เย็น และใส่ปุ๋ยอินทรีย์เมื่อลำต้นสูงครึ่งฟุต ตามแปลงที่รับผิดชอบ 5.เก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่อครบประมาณ 21 วัน(ผักบุ้ง) และ 30วัน (ผักกวางตุ้ง) 6.นักเรียนในชุมนุมฯนำผลผลิตที่ปลูกได้ขายให้กับสหกรณ์นักเรียน ในราคาต่ำกว่าท้องตลาด - ผักบุ้ง กก.ละ 20 บาท (ราคาตลาด 25-30 บาท) - ผักกวางตุ้ง กก.ละ 22 บาท (ราคาตลาด 25-30 บาท) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต(Output) ๑. นักเรียนในโรงเรียนเทศบาล ๒ วัดดอนมูลชัยได้เรียนรู้เรื่องหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง (การปลูกพืชผักสวนครัว) ร้อยเปอร์เซ็นต์ ๒. มีแหล่งเรียนรู้ ในโรงเรียน คือ แปลงปลูกพืชผักสวนครัว ขนาด ๑.๒ ไร่ ผลลัพธ์(Outcome)
๑. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้กระบวนการปลูกพืชผักสวนครัวแนวเกษตรอินทรีย์ทำให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง
|
13 | 193 |
4. ปรับปรุงดินในแปลงเกษตร |
||
วันที่ 7 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ1.จ้างเหมาบริการถมดินดำพร้อมลงปุ๋ยอินทรีย์ในแปลงเกษตรโรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแปลงเกษตรมีดินที่มีคุณภาพเหมาะแก่การปลูกพืชผักสวนครัว
|
0 | 0 |
5. ปรับปรุงระบบน้ำในแปลงเกษตร |
||
วันที่ 7 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ1.จ้างเหมาบริการวางระบบน้ำโดยรอบบริดวณแปลงเกษตร 2.จ้างเหมาบริการปรับปรุงแท้งค์น้ำเก่าพร้อมติดตั้งปั๊มน้ำอัตโนมัติ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.แปลงเกษตรมีระบบน้ำที่ดี สะดวกต่อการใช้ดูแลพืชผักสวนครัว
|
0 | 0 |
6. ปลูกวันแม่เกี่ยววันพ่อ |
||
วันที่ 2 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำโรงเรียนร่วมกับผู้ปกครองและองค์กรภาคีเครือข่ายเกี่ยวข้าวในนาข้าวของโรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลลิต
๑. นักเรียนในโรงเรียนเทศบาล ๒ วัดดอนมูลชัยได้ปฏิบัติกิจกรรมทุกคน
๒. มีแหล่งเรียนรู้ ในโรงเรียน คือ พื้นที่ในการทำนาและเกษตรผสมผสานแนวเกษตรอินทรีย์
|
193 | 225 |
7. แก้มใสทำได้จริง |
||
วันที่ 23 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.คัดเลือกนักเรียนที่มีภาวะเสี่ยง มาดูแลเป็นพิเศษ 2.ให้รางวัลกับนักเรียนที่สามารถทำให้น้ำหนังของตัวเองสมวัยที่สุด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
1.คัดกรองนักเรียนที่มีภาวะเสี่ยง
|
100 | 28 |
8. เด็กไทยแก้มใส สายใยครอบครัว |
||
วันที่ 23 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชาสัมพันธ์ให้นักเรียน ครู ได้รับทราบรายละเอียดกิจกรรม 2.เชิญผู้ปกครองมาประชุมรับฟังหลักการและรายละเอียดกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1.จัดประชุมให้ความรู้กับนักเรียน ครู ผู้ปกครอง ผลลัพธ์ 1.ครู ผู้ปกครอง และนักเรียน เกิดองค์ความรู้ในเรื่องหลักการโภชนาการสมวัย
|
100 | 349 |
9. ท้องอิ่ม สมองใส |
||
วันที่ 23 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.โรงเรียนจัดเมนูอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
ครบถ้วน จากรูปแบบการจัดการด้านอาหาร Thai ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1.โรงเรียนมีเมนูอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีความพร้อมในการเรียน เนื่องจากได้รับอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วน มีพัฒนาการที่สมวัย
|
183 | 183 |
10. สหกรณ์เพื่อการเกษตร |
||
วันที่ 24 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.สร้างสหกรณ์เพื่อการเกษตรขึ้นในโรงเรียนเพื่อรับซื้อผลผลิตทางการเกษตรจากโครงการต่างๆของโรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
213 | 0 |
11. หนูน้อยนักสหกรณ์ |
||
วันที่ 31 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.อบรมนักเรียนที่มีหน้าที่รับผิดชอบสหกรณ์เพื่อการเกษตรของโรงเรียนให้มีความรู้เรื่องสหกรณ์เพื่อการเกษตร นำไปสู่การปฏิบัติได้ และมีความ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลลิต 1.นักเรียนได้รับการอบรม 2.นักเรียนได้ศึกษาดูงาน ผลลัพธ์ 1.นักเรียนมีความรู้ และสามารถนำมาปรับใช้ที่โรงเรียนได้
|
7 | 10 |
12. พัฒนาครู สู่ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.อบรมคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา เรื่อง หลักการโครงการศูนย์การเรียนรู้โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสเพื่อให้ทราบถึงหลักการ และรูปแบบที่ถูกต้อง 2.นำครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนศึกษาดูงานโรงเรียนบ้านวังประจบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1.ครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในชุมนุนที่รับผิดชอบในกิจกรรมเด็กไทยแก้มใสได้ศึกษาดูงาน ผลลัพธ์ 1.ครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในชุมนุนที่รับผิดชอบในกิจกรรมเด็กไทยแก้มใส ได้ความรู้และแนวทางปฏิบัติมาปรับใช้ดำเนินงานกิจกรรมแก้มใสในโรงเรียน
|
17 | 0 |
13. แม่ครัวหัวใจ นักโภชนา |
||
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดอบรมแม่ครัวให้รู้หลักโภชนาการที่ถูกต้องตามรูปแบบการจัดการอาหาร(TSL) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1.อบรมแม่ครัวทั้ง 2 คน ให้รู้หลักโภชนาการที่ถูกต้อง 2.นำแม่ครัวและครูโภชนาการศึกษาดูงาน ผลลัพธ์ 1.แม่ครัวและครูโภชนาการได้รับความรู้ หลักโภชนาการที่ถูกต้องและสามารถนำมาปรับใช้ได้กับที่โรงเรียน
|
4 | 4 |
14. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ |
||
วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำถอนเงินคืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ จำนวน 137.06 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นยอดเงินในบัญชีเป็น 0 บาท
|
0 | 3 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อจัดอาหารกลางวันตามมาตรฐานโภชนาการ (TSL) ให้นักเรียนได้รับประทาน มีสุขภาพดีเติบโตสมวัย ตัวชี้วัด : 1.มีเมนูอาหารกลางวันตามมาตรฐานโภชนาการ (TSL)หมุ่นเวียนรายเดือนที่นำไปให้แม่ครัวจัดทำอาหารกลางวัน 2.นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันครบถ้วนตามหลักโภชนาการ 3.นักเรียนมีร่างกายเติบโตสมวัย |
|
|||
2 | เพื่อให้ ครูและ นักเรียน มีความรู้เรื่องกิจกรรมการเกษตรที่ดีในโรงเรียน และกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน นำไปสู่การปฏิบัติได้ ตัวชี้วัด : 1.มีผักสวนครัวและผลไม้อย่างน้อย....ชนิด(ได้แก่)เป็นอาหารให้นักเรียน 2.นักเรียนสามารถจัดทำสหกรณ์นักเรียนได้ตามขั้นตอนที่ถูกต้อง 3.โรงเรียนมีสื่อ ที่โรงเรียนผลิตขึ้นใช้สอนนักเรียนและใช้เป็นแบบในการถ่ายทอดความรู้ให้กับ 3 โรงเรียนเครือข่ายและ 4 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองตาก |
|
|||
3 | โรงเรียนมีรูปแบบการแก้ปัญหาทุพโภชนาการ ตัวชี้วัด : นักเรียนมีโภชนาการสมวัย โดย 1. มีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน 10 % 2. มีภาวะค่อนข้างผอม และผอม ไม่เกิน 10 % 3. มีภาวะค่อนข้างเตี้ย และเตี้ยไม่เกิน 10 % |
|
|||
4 | เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและนักเรียนกลุ่มเสี่ยง เรื่องการจัดการด้านอาหาร นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคเพื่อสุขภาพ ตัวชี้วัด : 1.ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเสี่ยงจัดอาหารที่บ้านให้นักเรียนถูกต้องตามหลักโภชนาการ 2.นักเรียนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมการบริโภคและภาวะโภชนาการที่ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเปรียบเทียบระหว่างภาคการศึกษาที่1/2559 ต้นเทอม กับ ภาคการศึกษาที่ 2 ปี 2559 ปลายเทอม |
|
|||
5 | เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างชุมชนและผู้ปกครองกับโรงเรียน ในการนำผลผลิตเกษตรปลอดภัยสู่อาหารกลางวันของโรงเรียน ตัวชี้วัด : 1.มีข้อตกลงความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชนในการวางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับเมนูอาหารกลางวันรายเดือน 2.มีผลผลิตเกษตรปลอดภัยที่ผู้ปกครองจำหน่ายให้แก่โรงเรียนเพื่อนำไปจัดทำอาหารกลางวันไม่น้อยกว่าร้อยล่ะ 50 ของความต้องการ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดอาหารกลางวันตามมาตรฐานโภชนาการ (TSL) ให้นักเรียนได้รับประทาน มีสุขภาพดีเติบโตสมวัย (2) เพื่อให้ ครูและ นักเรียน มีความรู้เรื่องกิจกรรมการเกษตรที่ดีในโรงเรียน และกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน นำไปสู่การปฏิบัติได้ (3) โรงเรียนมีรูปแบบการแก้ปัญหาทุพโภชนาการ (4) เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและนักเรียนกลุ่มเสี่ยง เรื่องการจัดการด้านอาหาร นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคเพื่อสุขภาพ (5) เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างชุมชนและผู้ปกครองกับโรงเรียน ในการนำผลผลิตเกษตรปลอดภัยสู่อาหารกลางวันของโรงเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย
รหัสโครงการ ศรร.1122-021 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.021 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
การเกษตรผสมผสานแนวอินทรีย์
ทำการเกษตรแนวอินทรีย์ เพื่อผลิตวัตถุดิบเข้าสู่โครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน ได้แก่ การทำนา การปลูกผัก การเลี้ยงไก่ไข่ การเพาะเห็ดนางฟ้า การปลูกสมุนไพร และการเลี้ยงปลา
1) ขยายผลการปฏิบัติสู่โรงเรียนเครือข่าย
2) แหล่งงบประมาณที่สนับสนุนการพัฒนาต่อเนื่อง
2.1 งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากการสมัครเข้าร่วมโครงการการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น (School Based Management for Local Development : SBMLD) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย สูงสุดจำนวน 1,000,000 บาทต่อปี (ปีงบประมาณ พ.ศ.2558 ได้รับจัดสรร 155,000 บาท,ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ได้รับจัดสรร 345,000 บาท)
2.2 งบประมาณสนับสนุนจากอำเภอเมืองตาก ซึ่งโรงเรียนได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ตามแนวพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ จำนวน 50,000 บาทต่อปี
2.3 งบประมาณที่โรงเรียนได้รับจากการคัดเลือกสถานศึกษาในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ดำเนินการด้านการป้องกันเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดดีเด่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย จำนวน 100,000 บาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
สหกรณ์ออมบุญ
เป็นสหกรณ์ที่ไม่ได้ลงหุ้นเป็นจำนวนเงิน แต่จะเป็นการนำเวลาในการทำงานจิตสาธารณะในกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนมาลงหุ้น เรียกว่า หุ้นแรง โดย 1 ชั่วโมง เท่ากับ 1 แรง และ 1 แรง เท่ากับ 1 หุ้น นักเรียนจะได้รับสติ๊กเกอร์ใบโพธิ์ติดที่สมุดออมบุญ เพื่อเก็บไว้ปันผลเป็นเงินตอนสิ้นปี หรือ เลือกใช้เป็น passport หรือ โควต้าในการพิจารณาขอรับทุนการศึกษาหรือเข้าศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษา
ขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
1.กินทุกอย่างที่ปลูก ปลูกทุกอย่างที่กิน
2.อาสาสมัครแม่บ้านโรงเรียน (อ.ส.ม.โรงเรียน)
วัตถุดิบที่เข้าสู่โรงอาหารจะเป็นวัตถุดิบที่โรงเรียนผลิตเอง ทั้งผัก ไข่ ปลา เห็ด
1) ขยายผลสู่ชุมชนและโรงเรียนเครือข่าย โดยทำบันทึกความเข้าใจ (MOU) เพื่อร่วมกันผลิจและจัดหาวัตถุดิบที่มีคุณภาพที่โรงเรียนยังไม่สามารถผลิตได้เพียงพอเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน
2) ช่วยเหลือชุมชนสร้างคู่ค้ากับโรงเรียนเครือข่าย เมื่อโรงเรีนยมีวัตถุดิบที่มีคุณภาพ สะอาด ปลอดภัย เข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน 100%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
โครงการแก้มใสทำได้จริง
คัดเลือกนักเรียนที่มีภาวะเสี่ยง (อ้วน/ผอม เกินเกณฑ์) มาอบรมให้ความรู้พร้อมผู้ปกครอง แล้วจัดการแข่งขัน นักเรียนที่สามารถพัฒนาตนเองให้มีร้อยละของพัฒนาการสมวัยที่สูงขึ้น โรงเรียนจะมอบเกียรติบัตรให้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง
1) ติดตามและเฝ้าระวังนักเรียนเป็นรายบุคคลอย่างใกล้ชิด ต่อเนื่อง สม่ำเสมอ ทั้งที่โรงเรียนและการเยี่ยมบ้าน
2) จัดทำสมุดบันทึกสุขภาพ บันทึกโภชนาการของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
พี่น้องพ้องใจ
รุ่นพี่ทำตัวอย่างที่ดีให้รุ่นน้องปฏิบัติตาม เช่น การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร การต่อแถวรับอาหารและกดน้ำ การล้างแก้วน้ำ การแปรงฟันหลังรับประทานอาหาร
ขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
โรงอาหาร 5 ดาว
ปรับปรุงโรงอาหารให้ถูกสุขลักษณะในระดับสูงสุด อาทิ การใช้อ่างล้างวัตถุดิบ,โต๊ะประกอบอาหารที่ทำจากสแตนเลส
ขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย
รหัสโครงการ ศรร.1122-021 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.021 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | การเกษตรผสมผสานแนวอินทรีย์ |
ทำการเกษตรแนวอินทรีย์ เพื่อผลิตวัตถุดิบเข้าสู่โครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน ได้แก่ การทำนา การปลูกผัก การเลี้ยงไก่ไข่ การเพาะเห็ดนางฟ้า การปลูกสมุนไพร และการเลี้ยงปลา |
1) ขยายผลการปฏิบัติสู่โรงเรียนเครือข่าย 2) แหล่งงบประมาณที่สนับสนุนการพัฒนาต่อเนื่อง 2.1 งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากการสมัครเข้าร่วมโครงการการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น (School Based Management for Local Development : SBMLD) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย สูงสุดจำนวน 1,000,000 บาทต่อปี (ปีงบประมาณ พ.ศ.2558 ได้รับจัดสรร 155,000 บาท,ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ได้รับจัดสรร 345,000 บาท) 2.2 งบประมาณสนับสนุนจากอำเภอเมืองตาก ซึ่งโรงเรียนได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ตามแนวพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ จำนวน 50,000 บาทต่อปี 2.3 งบประมาณที่โรงเรียนได้รับจากการคัดเลือกสถานศึกษาในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ดำเนินการด้านการป้องกันเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดดีเด่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย จำนวน 100,000 บาท |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ | สหกรณ์ออมบุญ |
เป็นสหกรณ์ที่ไม่ได้ลงหุ้นเป็นจำนวนเงิน แต่จะเป็นการนำเวลาในการทำงานจิตสาธารณะในกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนมาลงหุ้น เรียกว่า หุ้นแรง โดย 1 ชั่วโมง เท่ากับ 1 แรง และ 1 แรง เท่ากับ 1 หุ้น นักเรียนจะได้รับสติ๊กเกอร์ใบโพธิ์ติดที่สมุดออมบุญ เพื่อเก็บไว้ปันผลเป็นเงินตอนสิ้นปี หรือ เลือกใช้เป็น passport หรือ โควต้าในการพิจารณาขอรับทุนการศึกษาหรือเข้าศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษา |
ขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ | 1.กินทุกอย่างที่ปลูก ปลูกทุกอย่างที่กิน 2.อาสาสมัครแม่บ้านโรงเรียน (อ.ส.ม.โรงเรียน) |
วัตถุดิบที่เข้าสู่โรงอาหารจะเป็นวัตถุดิบที่โรงเรียนผลิตเอง ทั้งผัก ไข่ ปลา เห็ด |
1) ขยายผลสู่ชุมชนและโรงเรียนเครือข่าย โดยทำบันทึกความเข้าใจ (MOU) เพื่อร่วมกันผลิจและจัดหาวัตถุดิบที่มีคุณภาพที่โรงเรียนยังไม่สามารถผลิตได้เพียงพอเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ | โครงการแก้มใสทำได้จริง |
คัดเลือกนักเรียนที่มีภาวะเสี่ยง (อ้วน/ผอม เกินเกณฑ์) มาอบรมให้ความรู้พร้อมผู้ปกครอง แล้วจัดการแข่งขัน นักเรียนที่สามารถพัฒนาตนเองให้มีร้อยละของพัฒนาการสมวัยที่สูงขึ้น โรงเรียนจะมอบเกียรติบัตรให้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง |
1) ติดตามและเฝ้าระวังนักเรียนเป็นรายบุคคลอย่างใกล้ชิด ต่อเนื่อง สม่ำเสมอ ทั้งที่โรงเรียนและการเยี่ยมบ้าน 2) จัดทำสมุดบันทึกสุขภาพ บันทึกโภชนาการของผู้เรียนเป็นรายบุคคล |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | พี่น้องพ้องใจ |
รุ่นพี่ทำตัวอย่างที่ดีให้รุ่นน้องปฏิบัติตาม เช่น การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร การต่อแถวรับอาหารและกดน้ำ การล้างแก้วน้ำ การแปรงฟันหลังรับประทานอาหาร |
ขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ | โรงอาหาร 5 ดาว |
ปรับปรุงโรงอาหารให้ถูกสุขลักษณะในระดับสูงสุด อาทิ การใช้อ่างล้างวัตถุดิบ,โต๊ะประกอบอาหารที่ทำจากสแตนเลส |
ขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โรงเรียนเทศบาล 2 วัดดอนมูลชัย จังหวัด ตาก
รหัสโครงการ ศรร.1122-021
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ดร.สุพจนีย พัดจาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......